SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
บทความทางการศึกษา เพื่อการเผยแผภายในสถานศึกษา
เรื่อง : สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย เปนอยางไร?
โดย
พระมหาณรงค พรอมบัวปา
ครู / เลขานุการเจาคณะอําเภอสุวรรณภูมิ
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ( อังกฤษ )
นธ.เอก, ปธ.3 , พธบ. ภาษาอังกฤษ เกียรตินิยมอันดับ 1
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา
………………………………
โรงเรียนการกุศลวัดบานยางเครือ เลขที่ 109 หมู 2 บานยางเครือ
ตําบลเมืองทุง อําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด
สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา รอยเอ็ด เขต 2
สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย โดย พระมหาณรงค พรอมบัวปา รร.การกุศลวัดบานยางเครือ จ. รอยเอ็ด 2
คํานํา
จาก “ สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย ” ในปจจุบัน หวังวาบุคลากรทางการศึกษาที่
ไดอาน คงทําใหเกิดแรงบันดาลใจ ตระหนักในภาระหนาที่ของความเปนครู เพิ่มขึ้นเหมือนดังอาตมภาพ
ขออนุโมทนาขอบคุณ พระคุณของบิดา มารดา ครู อุปชฌาย บูรพาจารย ทุกทาน ที่ไดขัด
เกลา เพาะบมอุปนิสัย พรอมทั้งไดปลูกฝงตอกย้ํา ในภาระหนาที่ของความเปนครู ไดอยางเกิดสํานึกแกอาตม
ภาพไดดีเปนอยางยิ่ง
พระมหาณรงค พรอมบัวปา
กันยายน 2554
สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย โดย พระมหาณรงค พรอมบัวปา รร.การกุศลวัดบานยางเครือ จ. รอยเอ็ด 3
สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย เปนอยางไร ?
วิกฤตการศึกษาไทยที่ตองเรงแก คือหนึ่ง การจัดการศึกษา 15 ป ฟรีจริงหรือไม สอง คุณภาพ
การศึกษาไทยตกต่ํา สาม ขาดแคลนครูทั้งดานคุณภาพและปริมาณ
จากวิกฤตดังกลาวสงผลตอสังคมไทย โดยอาจจะกลาวไดวา
1. สังคมไทยไมเปนสังคมแหงการเรียนรู ขาดการใฝรูและความสามารถในการเรียนรูดวยตนเอง
2. สังคมไทยขาดศักยภาพทางการศึกษา ประชาชนยังมีโอกาสในการศึกษาไมเทาเทียมกัน ทําให
ดอยความเจริญทางดานเทคโนโลยีความคิดสรางสรรคและการประดิษฐคิดคน ตาง ๆ
3. สังคมไทยมีคุณธรรมและจริยธรรมเสื่อมลง เพราะไมมีการสอนใหรูจักประเมินคุณคาและ
ประยุกตวัฒนธรรมหรือคานิยมมา ใชใหเหมาะสม สังคมจึงมีลักษณะของวัตถุนิยม วัดคุณคาคนจากชื่อเสียง
ทรัพยสิน และอํานาจ
4. สังคมไทยไมเปนสังคมแหงการเรียนรู ขาดการใฝรูและความสามารถในการเรียนรูดวยตนเอง
5. สังคมไทยขาดศักยภาพทางการศึกษา ประชาชนยังมีโอกาสในการศึกษาไมเทาเทียมกัน ทําให
ดอยความเจริญทางดานเทคโนโลยีความคิดสรางสรรคและการประดิษฐคิดคน ตาง ๆ
6. สังคมไทยมีคุณธรรมและจริยธรรมเสื่อมลง เพราะไมมีการสอนใหรูจักประเมินคุณคาและ
ประยุกตวัฒนธรรมหรือคานิยมมา ใชใหเหมาะสม สังคมจึงมีลักษณะของวัตถุนิยม วัดคุณคาคนจากชื่อเสียง
ทรัพยสิน และอํานาจ
ซึ่งระบบการศึกษาไทยในปจจุบันสิ่งพบเห็นวนเวียนอยูในโรงเรียนตางๆ คือ
สภาพปญหา : การสอนเนนที่การสอนหนังสือมากกวาสอนคนกระบวนการเรียนการสอน
: ยึดวิชาเปนตัวตั้งมากกวายึดผูเรียนเปนตัวตั้ง
: ปอนขอมูลใหทองจํา พฤติกรรมการสอนจําเจ และเปนพฤติกรรมถายทอดเปน
สวนใหญ
: การฝกปฏิบัติ ฝกคิด การอบรมบมนิสัยดานคุณธรรมจริยธรรมมีนอยกวาการ
ทองบนเนื้อหา
ครู : มักเปนผูมีอํานาจในชั้นเรียน มุงสอนแตเนื้อหาวิชา สถานศึกษาจึง
กลายเปน “โรงสอน”มากกวา“โรงเรียน” ผูเรียน: ขาดคุณลักษณะชางสงสัย ใฝรู ขาดความคิดสรางสรรค
ใชชีวิตอารมณตามความรูสึกชอบละเมิดกฎระเบียบ ขาดความซื่อสัตยในการเรียนการทํางาน ไมเห็น
ความสําคัญของการเรียนรูตลอดชีวิต
จากสภาพปญหาดังกลาวทําให
มองเห็นถึง ระบบการศึกษาไทยขาดการปลูกฝง
ในแทบจะทุกๆ ดาน ในขณะเดียวกันครูผูสอน
บางทานกับมีคานิยมในการปลูกฝงกันและกัน
เกี่ยวกับ การมุงทําผลงานทางวิชาการทั้งๆ ที่
ผลงานทางวิชาการนั้น เมื่อนํามาใชในเชิงปฏิบัติ
สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย โดย พระมหาณรงค พรอมบัวปา รร.การกุศลวัดบานยางเครือ จ. รอยเอ็ด 4
ก็รูทั้งรูวาไมสามารถนํามาใชไดอยางตอเนื่อง
ยั่งยืน แตก็สละเวลาอันมีคาตอนักเรียนมาเพื่อ
มุงหวัง รายรับ ( Income) อันเปนผลตอบแทน
อยางเต็มเม็ดเต็มหนวยมากกวา พรอมทั้งหัวโขน
ที่สวมกันอยูในปจจุบัน เพื่อที่จะเชิดหนาชูคอ อยู
ในสังคมเปนความสงางามอันจอมปลอม โดย
ปลอยภาระนักเรียน ใหกันและกัน แลวก็มาโทษ
ที่ระบบการศึกษาวา ไมดีอยางนั้น อยางนี้ ทั้งๆ ที่
ตัวครูเปนผูผลิต และดูแลผลผลิตของตน
โดยประเทศที่พัฒนาแลว และ
ประเทศที่เศรษฐกิจกําลังขยายตัวชี้วา ศักยภาพ
และคุณภาพของคนอันเปนผลมาจากระบบ
การศึกษาที่มีประสิทธิภาพเปน ปจจัยที่สําคัญ
ที่สุด ที่ทําใหประเทศเหลานั้นประสบความสําเร็จ
มากกวาประเทศอื่นๆ ที่ผาน มาประเทศไทยก็
ลงทุนในเรื่องการศึกษาไปไมนอย แตเปนการ
ลงทุนเชิงปริมาณ สั่งการ และเหมาโหล มากกวา
คํานึงถึงรายละเอียด การมีสวนรวม ตลอดจน
บริบทและคุณภาพที่เปนเปาหมายสําคัญ ถือเปน
การจัดการศึกษาอยางคับแคบ คือ แบบแพคัดออก
ที่นาหนักใจกวานั้นคือ เด็กที่ไมเกง ไมรูจะเรียน
อะไร สวนใหญมักจะมาเลือกเรียนครู ทําให
เสนทางของคนเรียนครูในปจจุบันนี้ คือเสนทาง
ของคนที่ไมมีทางไปในเรื่องการศึกษา สงผลไป
ยังอนาคตวาเราใหคนแบบนี้ ซึ่งนอกจากไมเกง
แลว ยังสิ้นหวังและขาดจินตนาการมาสอนเด็ก
นักเรียน เด็กรุนตอไปจะมีคุณภาพไดอยางไร
เพราะคุณภาพการเรียนรูของเด็กจะไมมีวันสูงเกิน
กวาคุณภาพของครู
การ ปฏิรูปการศึกษาที่ผานมา จึง
เปนเพียงการเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงาน แต
ไมไดทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการเรียนการ
สอนใหดีขึ้นและแตกตางจากเดิม ปญหาของการ
ปฏิรูปการศึกษารอบแรกคือ เนนที่การ
เปลี่ยนแปลงโครงสรางของกระทรวงศึกษาธิการ
(ศธ.) และทบวงมหาวิทยาลัย และหากจะมีการ
ปฏิรูปรอบสองที่เนนการปฏิรูปโอกาสและ
คุณภาพการศึกษา คุณธรรม จริยธรรมของ
นักเรียนแลว แตการปฏิรูปที่ขาดการปรับ
กระบวนทัศนใหม อาจไมสัมฤทธิผลเหมือนที่
วางเปาหมายเอาไว โดยเฉพาะเรื่องคุณธรรม
จริยธรรม ซึ่งไมใชเรื่องงายเลย เพราะเราไม
สามารถสรางคุณธรรม จริยธรรมจากการทองจํา
วิชาศีลธรรมได
นอกจากนี้ สังคมไทยยังเปนสังคมที่ให
ความสําคัญกับวัฒนธรรมอํานาจ ซึ่งจะเปน
อุปสรรคตอการปฏิรูปการศึกษาอยางยิ่ง เพราะแต
ละฝายมุงสนใจวาปฏิรูปการศึกษาแลวจะทําให
ใครมีอํานาจ ใครเสียอํานาจ แทนที่จะคํานึงถึง
เปาหมายที่แทจริง ซึ่งก็คือคุณภาพของการศึกษา
ไทย
ขอมูลการศึกษาของ PISA
(Program for International Students Assessment)
พบวาเด็กไทย 74 เปอรเซ็นตอานภาษาไทยไมรู
เรื่อง วิเคราะหความหมายไมถูก และใชภาษาให
เปนประโยชนในการเรียนวิชาอื่นๆ ไมได
ในขณะที่ขอเรียกรองเรื่องการปฏิรูปการศึกษา
แบบสั่งการเชิงนโยบายใหครู พยายามสอนให
นักเรียนใฝรูใฝเรียน รักการอาน คิดวิเคราะหได
จึงเปนเพียงภาพในอุดมคติเทานั้น เพราะไม
คํานึงถึงขอเท็จจริงที่วาในสภาพที่ครูอาจารย
จํานวนมากไมไดใฝรู ไมรักการอาน คิดวิเคราะห
สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย โดย พระมหาณรงค พรอมบัวปา รร.การกุศลวัดบานยางเครือ จ. รอยเอ็ด 5
สังเคราะหไมเปนแลว ครูอาจารยเหลานั้นจะสอน
ใหเด็กใฝรู มีนิสัยรักการอานไดอยางไร เพราะ
ความจริงแลวเด็กมักจะเปนอยางที่ครูเปน
มากกวาจะเปนอยางที่ครูสอน ดังนั้นครูอาจารยจึง
ถือเปนปจจัยที่สําคัญที่ สุดของการจัดการศึกษา
ใหมีคุณภาพ โดยเฉพาะสําหรับประเทศไทย ซึ่ง
วัฒนธรรมการเรียนรูเนนการฟงบรรยายจาก
อาจารยเปนหลัก มากกวาจะอานศึกษาคนควาดวย
ตนเอง หรือเรียนรูจากแหลงเรียนรูใกลตัวเพื่อการ
เรียนรูที่มีความหมายและสราง แรงบันดาลใจ ทํา
ใหคุณภาพการสอนของครูอาจารยสงผลตอ
คุณภาพการเรียนรูของนักเรียน นักศึกษาเปนอยาง
มาก
การขยายตัวเชิงปริมาณของ
การศึกษาไทยใน รอบทศวรรษที่ผานมา
กอใหเกิดการจางครูอาจารยเปนจํานวนมากโดย
ละเลยและขาดการเอาจริงเอาจังใน กระบวนการ
คัดเลือกอยางเปนระบบและรอบคอบ ที่แยกวา
นั้นคือ ในบางครั้งแมแตการรับครูอาจารยก็ยังมี
การวิ่งเตนเลนพรรคเลนพวก ปญหานี้ไมเพียง
สะทอนวา ผูที่เขามาเปนครูอาจารยจํานวนไม
นอยที่ยังไมมีคุณภาพและจริยธรรมเทา นั้น แตยัง
สะทอนใหเห็นวา การคัดเลือกคนเขาสูระบบ
การศึกษาเพื่อทําหนาที่สําคัญที่สุดคือเปนครู
อาจารยของประเทศเรานั้นลมเหลวอยางสิ้นเชิง
นอกจากนี้ เราอาจตองเผชิญ
กับปญหาการขาดแคลน "ครูของครู" ซึ่งทาง
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ระบุวาในป 2554
คณาจารยในคณะครุศาสตรและศึกษาศาสตรจะ
เกษียณอายุราชการ 2,263 คน ในจํานวนผู
เกษียณอายุพบวาอาจารยที่มีผลงานวิชาการระดับ
ศาสตราจารย ซึ่งทั้งประเทศมีจํานวน 15 คน จะ
เกษียณอายุทั้งหมด สวนระดับรองศาสตราจารย
จะเกษียณประมาณ 80 เปอรเซ็นต เพราะฉะนั้น
รัฐบาลนาจะมุงเนนพัฒนาและยกระดับสถาบัน
ผลิตครูใหเขมขนกวานี้ เหมือนกับที่ทุม
งบประมาณใหมหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ เพราะ
เรื่องดังกลาวนี้ก็สําคัญไมแพกัน
ดวยเหตุดังกลาว ปญหาครูไม
มีคุณภาพ ไมไดเกิดจากระบบไมดีเพียงสวนเดียว
หากสวนใหญเกิดจากระบบการพัฒนาครูที่ทําให
ครูขาดแรงจูงใจในการสอน ขาดแรงบันดาลใจใน
การพัฒนาตนเอง รวมถึงขาดการจัดการความรูที่
ดี เพราะไมมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรูและ
แบงปนความรูระหวางกัน ความ เปนจริงอยาง
หนึ่ง ซึ่งสะทอนจากครูในโรงเรียนคือ ทุกเรื่องใน
โรงเรียนสําคัญหมดไมนอยไปกวาเรื่องการเรียน
การสอน แปลวาทุกกิจกรรมเรงดวนและสามารถ
สอดแทรกแทนการสอนหนังสือไดเสมอ โดย
เฉพาะงานธุรการตางๆ ที่ครูมักจะถูกเรียกไปทํา
หรือกระทั่งประชุมตางๆ ที่ทําใหการสอนตองงด
ไวกอน การพิจารณาความดีความชอบก็มักจะ
พิจารณาจากงานสอนเปนลําดับทายๆ ครูที่สอน
เกง ตั้งใจสอน มักจะไมไดรับการสงเสริม
เทาที่ควร เพราะเมื่อครูเนนเรื่องสอน งานอื่นๆ ก็
จะดอยลง เมื่อเปนอยางนี้บอยเขาครูที่อยาก
กาวหนาจึงเนนทํางานอยางอื่นมากกวา งานสอน
โดยเฉพาะการทําผลงานที่ทําใหครูกาวหนา แต
คุณภาพของเด็กกลับถอยหลัง
ที่วิกฤตที่สุดคือ สภาพเหลานี้
ไดกลายมาเปนความเคยชินและชีวิตประจําวัน
ของคนในระบบการศึกษา ไทย ซึ่งหากไมมีการ
สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย โดย พระมหาณรงค พรอมบัวปา รร.การกุศลวัดบานยางเครือ จ. รอยเอ็ด 6
ปฏิรูปและแสวงหาแนวทางใหมอยางจริงจัง เรา
คงไมสามารถแกปญหานี้ได
แนวทางแกไขที่งายที่สุดคือ
ตองใหครูสอนนักเรียนอยางเต็มเวลาเต็ม
หลักสูตร เต็มความสามารถตามความถนัดและ
ศักยภาพของผูเรียน ตองคืนครูใหนักเรียน ใคร
สอนดี ตั้งใจสอน สอนแลวเด็กมีคุณภาพ ตอง
พิจารณาความดีความชอบใหกอน หรือมีแนวทาง
หนุนเสริมและใหการยอมรับ ถามีความสม่ําเสมอ
ตอเนื่องก็นําไปสูการผูกโยงกับการเลื่อน
วิทยฐานะ เพราะความกาวหนาของครูควรผูกอยู
กับการเรียนรูของเด็กนักเรียน การ ปฏิรูปครู
อาจารยควรเพิ่มแรงจูงใจใหครูดี ครูเกง อยูตอ
และทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น พัฒนา
ครูที่มีแววและครูรุนใหมอยางเอาจริงเอาจัง ที่
สําคัญตองกลาผาตัดการคัดครูที่มีคุณภาพต่ําที่
ฝกอบรมใหมไดยากออกจาก ระบบ โดยยายไป
ทํางานสนับสนุนแทน หรือใหเกษียณกอน
กําหนดก็ได แตตรงกันขามกับในปจจุบันที่ครูดี
ครูเกงมักขอเกษียณกอนกําหนด เพราะหมดหวัง
กับระบบการศึกษาไทย
เราตองยอมรับความจริง
อยางหนึ่งวา ประเทศไทยมีระบบโครงสราง
เงินเดือนครูที่โบราณ ไมเหมาะสมกับสถานการณ
ในปจจุบัน ดูไดจากความแตกตางระหวาง
เงินเดือนแรกเขาทํางานกับเงินเดือนที่พึงไดรับ
สูงสุดในชีวิตการทํางานที่แตกตางกันถึง 10 เทา
ในขณะที่ประเทศตางๆ ที่พัฒนาแลวจะพบความ
แตกตางในเรื่องนี้เพียง 3-4 เทา ดังนั้น แนว
ทางแกไขที่ดีคือ ควรปรับโครงสรางเงินเดือนเสีย
ใหม โดยเพิ่มเงินเดือนเมื่อแรกเขาใหสูงขึ้น เพื่อ
ชวยลดความกดดันในการดํารงชีพของครู และจูง
ใจใหคนเกง คนดี อยากเขามาเปนครูมากขึ้น
รวมถึงทําหนาที่ครูไดอยางสมศักดิ์ศรี โดยไมตอง
กังวลเรื่องคาครองชีพภายใตระบบเศรษฐกิจที่ผัน
ผวนมากนัก
ปญหา การศึกษาในวันนี้
เปนเรื่องที่ทุกภาคสวนในสังคมตองชวยกันแกไข
มากกวาจะปลอยใหใครคนใดคนหนึ่งเปนคน
แบกรับ เราตองคิดเรื่องการศึกษาในวงที่กวางกวา
ที่เคยทําและเคยเปนอยู คือตองคิดรวมถึงการ
พัฒนาเครือขายพอแม ผูปกครอง ชุมชน
สถาบันการศึกษา ประชาชนในทุกภาคสวน
องคกรปกครองทองถิ่น และภาคธุรกิจที่สนใจ
เรื่องการศึกษา ใหเขามามีสวนรวมในการเปน
เครือขายสนับสนุนการจัดการศึกษามากขึ้น
หัวใจของคุณภาพการศึกษา
อยูที่โรงเรียน การปฏิรูปการศึกษาจะไมเกิดผล
อะไรเลย ถาไมสามารถเปลี่ยนแปลงใหโรงเรียน
สรางการเรียนรูที่มีคุณภาพได เพราะเมื่อโรงเรียน
และครูไมมีคุณภาพ เราจะคาดหวังใหนักเรียนมี
คุณภาพไดอยางไร และถาคุณภาพการศึกษา เปน
หัวใจสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่
2 แลว คําถามคือ เราจะเริ่มตนแกไขคุณภาพ
การศึกษากันที่ตรงไหน และอยางไร?

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนPhakawat Owat
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551Panlop
 
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์Pattie Pattie
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailxwarx
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กKittisak Amthow
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยAon Wallapa
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมายprsaowalak
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55Decode Ac
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55Decode Ac
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้คน ขี้เล่า
 
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559KruKaiNui
 

Mais procurados (20)

สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีน
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
 
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
Rub 1
Rub 1Rub 1
Rub 1
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
 
Rub 2
Rub 2Rub 2
Rub 2
 
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559
 
Sar5 255
Sar5 255Sar5 255
Sar5 255
 

Semelhante a บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย

3กิติกรรมประกาศ
3กิติกรรมประกาศ3กิติกรรมประกาศ
3กิติกรรมประกาศkrupornpana55
 
ผลงานนักเรียน 4
ผลงานนักเรียน 4ผลงานนักเรียน 4
ผลงานนักเรียน 4thkitiya
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้lalidawan
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพkoyrattanasri
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยssusere8181b
 
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมkrupornpana55
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยppisoot07
 
3 obec awords ระดับชาติ
3 obec awords ระดับชาติ3 obec awords ระดับชาติ
3 obec awords ระดับชาติSuparux Boonyaun
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc KruPor Sirirat Namthai
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 

Semelhante a บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย (20)

3กิติกรรมประกาศ
3กิติกรรมประกาศ3กิติกรรมประกาศ
3กิติกรรมประกาศ
 
ผลงานนักเรียน 4
ผลงานนักเรียน 4ผลงานนักเรียน 4
ผลงานนักเรียน 4
 
Tessabal3
Tessabal3Tessabal3
Tessabal3
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)
แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)
แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
 
3 obec awords ระดับชาติ
3 obec awords ระดับชาติ3 obec awords ระดับชาติ
3 obec awords ระดับชาติ
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 

บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย

  • 1. บทความทางการศึกษา เพื่อการเผยแผภายในสถานศึกษา เรื่อง : สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย เปนอยางไร? โดย พระมหาณรงค พรอมบัวปา ครู / เลขานุการเจาคณะอําเภอสุวรรณภูมิ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ( อังกฤษ ) นธ.เอก, ปธ.3 , พธบ. ภาษาอังกฤษ เกียรตินิยมอันดับ 1 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา ……………………………… โรงเรียนการกุศลวัดบานยางเครือ เลขที่ 109 หมู 2 บานยางเครือ ตําบลเมืองทุง อําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา รอยเอ็ด เขต 2
  • 2. สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย โดย พระมหาณรงค พรอมบัวปา รร.การกุศลวัดบานยางเครือ จ. รอยเอ็ด 2 คํานํา จาก “ สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย ” ในปจจุบัน หวังวาบุคลากรทางการศึกษาที่ ไดอาน คงทําใหเกิดแรงบันดาลใจ ตระหนักในภาระหนาที่ของความเปนครู เพิ่มขึ้นเหมือนดังอาตมภาพ ขออนุโมทนาขอบคุณ พระคุณของบิดา มารดา ครู อุปชฌาย บูรพาจารย ทุกทาน ที่ไดขัด เกลา เพาะบมอุปนิสัย พรอมทั้งไดปลูกฝงตอกย้ํา ในภาระหนาที่ของความเปนครู ไดอยางเกิดสํานึกแกอาตม ภาพไดดีเปนอยางยิ่ง พระมหาณรงค พรอมบัวปา กันยายน 2554
  • 3. สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย โดย พระมหาณรงค พรอมบัวปา รร.การกุศลวัดบานยางเครือ จ. รอยเอ็ด 3 สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย เปนอยางไร ? วิกฤตการศึกษาไทยที่ตองเรงแก คือหนึ่ง การจัดการศึกษา 15 ป ฟรีจริงหรือไม สอง คุณภาพ การศึกษาไทยตกต่ํา สาม ขาดแคลนครูทั้งดานคุณภาพและปริมาณ จากวิกฤตดังกลาวสงผลตอสังคมไทย โดยอาจจะกลาวไดวา 1. สังคมไทยไมเปนสังคมแหงการเรียนรู ขาดการใฝรูและความสามารถในการเรียนรูดวยตนเอง 2. สังคมไทยขาดศักยภาพทางการศึกษา ประชาชนยังมีโอกาสในการศึกษาไมเทาเทียมกัน ทําให ดอยความเจริญทางดานเทคโนโลยีความคิดสรางสรรคและการประดิษฐคิดคน ตาง ๆ 3. สังคมไทยมีคุณธรรมและจริยธรรมเสื่อมลง เพราะไมมีการสอนใหรูจักประเมินคุณคาและ ประยุกตวัฒนธรรมหรือคานิยมมา ใชใหเหมาะสม สังคมจึงมีลักษณะของวัตถุนิยม วัดคุณคาคนจากชื่อเสียง ทรัพยสิน และอํานาจ 4. สังคมไทยไมเปนสังคมแหงการเรียนรู ขาดการใฝรูและความสามารถในการเรียนรูดวยตนเอง 5. สังคมไทยขาดศักยภาพทางการศึกษา ประชาชนยังมีโอกาสในการศึกษาไมเทาเทียมกัน ทําให ดอยความเจริญทางดานเทคโนโลยีความคิดสรางสรรคและการประดิษฐคิดคน ตาง ๆ 6. สังคมไทยมีคุณธรรมและจริยธรรมเสื่อมลง เพราะไมมีการสอนใหรูจักประเมินคุณคาและ ประยุกตวัฒนธรรมหรือคานิยมมา ใชใหเหมาะสม สังคมจึงมีลักษณะของวัตถุนิยม วัดคุณคาคนจากชื่อเสียง ทรัพยสิน และอํานาจ ซึ่งระบบการศึกษาไทยในปจจุบันสิ่งพบเห็นวนเวียนอยูในโรงเรียนตางๆ คือ สภาพปญหา : การสอนเนนที่การสอนหนังสือมากกวาสอนคนกระบวนการเรียนการสอน : ยึดวิชาเปนตัวตั้งมากกวายึดผูเรียนเปนตัวตั้ง : ปอนขอมูลใหทองจํา พฤติกรรมการสอนจําเจ และเปนพฤติกรรมถายทอดเปน สวนใหญ : การฝกปฏิบัติ ฝกคิด การอบรมบมนิสัยดานคุณธรรมจริยธรรมมีนอยกวาการ ทองบนเนื้อหา ครู : มักเปนผูมีอํานาจในชั้นเรียน มุงสอนแตเนื้อหาวิชา สถานศึกษาจึง กลายเปน “โรงสอน”มากกวา“โรงเรียน” ผูเรียน: ขาดคุณลักษณะชางสงสัย ใฝรู ขาดความคิดสรางสรรค ใชชีวิตอารมณตามความรูสึกชอบละเมิดกฎระเบียบ ขาดความซื่อสัตยในการเรียนการทํางาน ไมเห็น ความสําคัญของการเรียนรูตลอดชีวิต จากสภาพปญหาดังกลาวทําให มองเห็นถึง ระบบการศึกษาไทยขาดการปลูกฝง ในแทบจะทุกๆ ดาน ในขณะเดียวกันครูผูสอน บางทานกับมีคานิยมในการปลูกฝงกันและกัน เกี่ยวกับ การมุงทําผลงานทางวิชาการทั้งๆ ที่ ผลงานทางวิชาการนั้น เมื่อนํามาใชในเชิงปฏิบัติ
  • 4. สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย โดย พระมหาณรงค พรอมบัวปา รร.การกุศลวัดบานยางเครือ จ. รอยเอ็ด 4 ก็รูทั้งรูวาไมสามารถนํามาใชไดอยางตอเนื่อง ยั่งยืน แตก็สละเวลาอันมีคาตอนักเรียนมาเพื่อ มุงหวัง รายรับ ( Income) อันเปนผลตอบแทน อยางเต็มเม็ดเต็มหนวยมากกวา พรอมทั้งหัวโขน ที่สวมกันอยูในปจจุบัน เพื่อที่จะเชิดหนาชูคอ อยู ในสังคมเปนความสงางามอันจอมปลอม โดย ปลอยภาระนักเรียน ใหกันและกัน แลวก็มาโทษ ที่ระบบการศึกษาวา ไมดีอยางนั้น อยางนี้ ทั้งๆ ที่ ตัวครูเปนผูผลิต และดูแลผลผลิตของตน โดยประเทศที่พัฒนาแลว และ ประเทศที่เศรษฐกิจกําลังขยายตัวชี้วา ศักยภาพ และคุณภาพของคนอันเปนผลมาจากระบบ การศึกษาที่มีประสิทธิภาพเปน ปจจัยที่สําคัญ ที่สุด ที่ทําใหประเทศเหลานั้นประสบความสําเร็จ มากกวาประเทศอื่นๆ ที่ผาน มาประเทศไทยก็ ลงทุนในเรื่องการศึกษาไปไมนอย แตเปนการ ลงทุนเชิงปริมาณ สั่งการ และเหมาโหล มากกวา คํานึงถึงรายละเอียด การมีสวนรวม ตลอดจน บริบทและคุณภาพที่เปนเปาหมายสําคัญ ถือเปน การจัดการศึกษาอยางคับแคบ คือ แบบแพคัดออก ที่นาหนักใจกวานั้นคือ เด็กที่ไมเกง ไมรูจะเรียน อะไร สวนใหญมักจะมาเลือกเรียนครู ทําให เสนทางของคนเรียนครูในปจจุบันนี้ คือเสนทาง ของคนที่ไมมีทางไปในเรื่องการศึกษา สงผลไป ยังอนาคตวาเราใหคนแบบนี้ ซึ่งนอกจากไมเกง แลว ยังสิ้นหวังและขาดจินตนาการมาสอนเด็ก นักเรียน เด็กรุนตอไปจะมีคุณภาพไดอยางไร เพราะคุณภาพการเรียนรูของเด็กจะไมมีวันสูงเกิน กวาคุณภาพของครู การ ปฏิรูปการศึกษาที่ผานมา จึง เปนเพียงการเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงาน แต ไมไดทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการเรียนการ สอนใหดีขึ้นและแตกตางจากเดิม ปญหาของการ ปฏิรูปการศึกษารอบแรกคือ เนนที่การ เปลี่ยนแปลงโครงสรางของกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) และทบวงมหาวิทยาลัย และหากจะมีการ ปฏิรูปรอบสองที่เนนการปฏิรูปโอกาสและ คุณภาพการศึกษา คุณธรรม จริยธรรมของ นักเรียนแลว แตการปฏิรูปที่ขาดการปรับ กระบวนทัศนใหม อาจไมสัมฤทธิผลเหมือนที่ วางเปาหมายเอาไว โดยเฉพาะเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งไมใชเรื่องงายเลย เพราะเราไม สามารถสรางคุณธรรม จริยธรรมจากการทองจํา วิชาศีลธรรมได นอกจากนี้ สังคมไทยยังเปนสังคมที่ให ความสําคัญกับวัฒนธรรมอํานาจ ซึ่งจะเปน อุปสรรคตอการปฏิรูปการศึกษาอยางยิ่ง เพราะแต ละฝายมุงสนใจวาปฏิรูปการศึกษาแลวจะทําให ใครมีอํานาจ ใครเสียอํานาจ แทนที่จะคํานึงถึง เปาหมายที่แทจริง ซึ่งก็คือคุณภาพของการศึกษา ไทย ขอมูลการศึกษาของ PISA (Program for International Students Assessment) พบวาเด็กไทย 74 เปอรเซ็นตอานภาษาไทยไมรู เรื่อง วิเคราะหความหมายไมถูก และใชภาษาให เปนประโยชนในการเรียนวิชาอื่นๆ ไมได ในขณะที่ขอเรียกรองเรื่องการปฏิรูปการศึกษา แบบสั่งการเชิงนโยบายใหครู พยายามสอนให นักเรียนใฝรูใฝเรียน รักการอาน คิดวิเคราะหได จึงเปนเพียงภาพในอุดมคติเทานั้น เพราะไม คํานึงถึงขอเท็จจริงที่วาในสภาพที่ครูอาจารย จํานวนมากไมไดใฝรู ไมรักการอาน คิดวิเคราะห
  • 5. สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย โดย พระมหาณรงค พรอมบัวปา รร.การกุศลวัดบานยางเครือ จ. รอยเอ็ด 5 สังเคราะหไมเปนแลว ครูอาจารยเหลานั้นจะสอน ใหเด็กใฝรู มีนิสัยรักการอานไดอยางไร เพราะ ความจริงแลวเด็กมักจะเปนอยางที่ครูเปน มากกวาจะเปนอยางที่ครูสอน ดังนั้นครูอาจารยจึง ถือเปนปจจัยที่สําคัญที่ สุดของการจัดการศึกษา ใหมีคุณภาพ โดยเฉพาะสําหรับประเทศไทย ซึ่ง วัฒนธรรมการเรียนรูเนนการฟงบรรยายจาก อาจารยเปนหลัก มากกวาจะอานศึกษาคนควาดวย ตนเอง หรือเรียนรูจากแหลงเรียนรูใกลตัวเพื่อการ เรียนรูที่มีความหมายและสราง แรงบันดาลใจ ทํา ใหคุณภาพการสอนของครูอาจารยสงผลตอ คุณภาพการเรียนรูของนักเรียน นักศึกษาเปนอยาง มาก การขยายตัวเชิงปริมาณของ การศึกษาไทยใน รอบทศวรรษที่ผานมา กอใหเกิดการจางครูอาจารยเปนจํานวนมากโดย ละเลยและขาดการเอาจริงเอาจังใน กระบวนการ คัดเลือกอยางเปนระบบและรอบคอบ ที่แยกวา นั้นคือ ในบางครั้งแมแตการรับครูอาจารยก็ยังมี การวิ่งเตนเลนพรรคเลนพวก ปญหานี้ไมเพียง สะทอนวา ผูที่เขามาเปนครูอาจารยจํานวนไม นอยที่ยังไมมีคุณภาพและจริยธรรมเทา นั้น แตยัง สะทอนใหเห็นวา การคัดเลือกคนเขาสูระบบ การศึกษาเพื่อทําหนาที่สําคัญที่สุดคือเปนครู อาจารยของประเทศเรานั้นลมเหลวอยางสิ้นเชิง นอกจากนี้ เราอาจตองเผชิญ กับปญหาการขาดแคลน "ครูของครู" ซึ่งทาง คณะกรรมการการอุดมศึกษา ระบุวาในป 2554 คณาจารยในคณะครุศาสตรและศึกษาศาสตรจะ เกษียณอายุราชการ 2,263 คน ในจํานวนผู เกษียณอายุพบวาอาจารยที่มีผลงานวิชาการระดับ ศาสตราจารย ซึ่งทั้งประเทศมีจํานวน 15 คน จะ เกษียณอายุทั้งหมด สวนระดับรองศาสตราจารย จะเกษียณประมาณ 80 เปอรเซ็นต เพราะฉะนั้น รัฐบาลนาจะมุงเนนพัฒนาและยกระดับสถาบัน ผลิตครูใหเขมขนกวานี้ เหมือนกับที่ทุม งบประมาณใหมหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ เพราะ เรื่องดังกลาวนี้ก็สําคัญไมแพกัน ดวยเหตุดังกลาว ปญหาครูไม มีคุณภาพ ไมไดเกิดจากระบบไมดีเพียงสวนเดียว หากสวนใหญเกิดจากระบบการพัฒนาครูที่ทําให ครูขาดแรงจูงใจในการสอน ขาดแรงบันดาลใจใน การพัฒนาตนเอง รวมถึงขาดการจัดการความรูที่ ดี เพราะไมมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรูและ แบงปนความรูระหวางกัน ความ เปนจริงอยาง หนึ่ง ซึ่งสะทอนจากครูในโรงเรียนคือ ทุกเรื่องใน โรงเรียนสําคัญหมดไมนอยไปกวาเรื่องการเรียน การสอน แปลวาทุกกิจกรรมเรงดวนและสามารถ สอดแทรกแทนการสอนหนังสือไดเสมอ โดย เฉพาะงานธุรการตางๆ ที่ครูมักจะถูกเรียกไปทํา หรือกระทั่งประชุมตางๆ ที่ทําใหการสอนตองงด ไวกอน การพิจารณาความดีความชอบก็มักจะ พิจารณาจากงานสอนเปนลําดับทายๆ ครูที่สอน เกง ตั้งใจสอน มักจะไมไดรับการสงเสริม เทาที่ควร เพราะเมื่อครูเนนเรื่องสอน งานอื่นๆ ก็ จะดอยลง เมื่อเปนอยางนี้บอยเขาครูที่อยาก กาวหนาจึงเนนทํางานอยางอื่นมากกวา งานสอน โดยเฉพาะการทําผลงานที่ทําใหครูกาวหนา แต คุณภาพของเด็กกลับถอยหลัง ที่วิกฤตที่สุดคือ สภาพเหลานี้ ไดกลายมาเปนความเคยชินและชีวิตประจําวัน ของคนในระบบการศึกษา ไทย ซึ่งหากไมมีการ
  • 6. สภาพปญหาวิกฤตการณ การศึกษาไทย โดย พระมหาณรงค พรอมบัวปา รร.การกุศลวัดบานยางเครือ จ. รอยเอ็ด 6 ปฏิรูปและแสวงหาแนวทางใหมอยางจริงจัง เรา คงไมสามารถแกปญหานี้ได แนวทางแกไขที่งายที่สุดคือ ตองใหครูสอนนักเรียนอยางเต็มเวลาเต็ม หลักสูตร เต็มความสามารถตามความถนัดและ ศักยภาพของผูเรียน ตองคืนครูใหนักเรียน ใคร สอนดี ตั้งใจสอน สอนแลวเด็กมีคุณภาพ ตอง พิจารณาความดีความชอบใหกอน หรือมีแนวทาง หนุนเสริมและใหการยอมรับ ถามีความสม่ําเสมอ ตอเนื่องก็นําไปสูการผูกโยงกับการเลื่อน วิทยฐานะ เพราะความกาวหนาของครูควรผูกอยู กับการเรียนรูของเด็กนักเรียน การ ปฏิรูปครู อาจารยควรเพิ่มแรงจูงใจใหครูดี ครูเกง อยูตอ และทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น พัฒนา ครูที่มีแววและครูรุนใหมอยางเอาจริงเอาจัง ที่ สําคัญตองกลาผาตัดการคัดครูที่มีคุณภาพต่ําที่ ฝกอบรมใหมไดยากออกจาก ระบบ โดยยายไป ทํางานสนับสนุนแทน หรือใหเกษียณกอน กําหนดก็ได แตตรงกันขามกับในปจจุบันที่ครูดี ครูเกงมักขอเกษียณกอนกําหนด เพราะหมดหวัง กับระบบการศึกษาไทย เราตองยอมรับความจริง อยางหนึ่งวา ประเทศไทยมีระบบโครงสราง เงินเดือนครูที่โบราณ ไมเหมาะสมกับสถานการณ ในปจจุบัน ดูไดจากความแตกตางระหวาง เงินเดือนแรกเขาทํางานกับเงินเดือนที่พึงไดรับ สูงสุดในชีวิตการทํางานที่แตกตางกันถึง 10 เทา ในขณะที่ประเทศตางๆ ที่พัฒนาแลวจะพบความ แตกตางในเรื่องนี้เพียง 3-4 เทา ดังนั้น แนว ทางแกไขที่ดีคือ ควรปรับโครงสรางเงินเดือนเสีย ใหม โดยเพิ่มเงินเดือนเมื่อแรกเขาใหสูงขึ้น เพื่อ ชวยลดความกดดันในการดํารงชีพของครู และจูง ใจใหคนเกง คนดี อยากเขามาเปนครูมากขึ้น รวมถึงทําหนาที่ครูไดอยางสมศักดิ์ศรี โดยไมตอง กังวลเรื่องคาครองชีพภายใตระบบเศรษฐกิจที่ผัน ผวนมากนัก ปญหา การศึกษาในวันนี้ เปนเรื่องที่ทุกภาคสวนในสังคมตองชวยกันแกไข มากกวาจะปลอยใหใครคนใดคนหนึ่งเปนคน แบกรับ เราตองคิดเรื่องการศึกษาในวงที่กวางกวา ที่เคยทําและเคยเปนอยู คือตองคิดรวมถึงการ พัฒนาเครือขายพอแม ผูปกครอง ชุมชน สถาบันการศึกษา ประชาชนในทุกภาคสวน องคกรปกครองทองถิ่น และภาคธุรกิจที่สนใจ เรื่องการศึกษา ใหเขามามีสวนรวมในการเปน เครือขายสนับสนุนการจัดการศึกษามากขึ้น หัวใจของคุณภาพการศึกษา อยูที่โรงเรียน การปฏิรูปการศึกษาจะไมเกิดผล อะไรเลย ถาไมสามารถเปลี่ยนแปลงใหโรงเรียน สรางการเรียนรูที่มีคุณภาพได เพราะเมื่อโรงเรียน และครูไมมีคุณภาพ เราจะคาดหวังใหนักเรียนมี คุณภาพไดอยางไร และถาคุณภาพการศึกษา เปน หัวใจสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 แลว คําถามคือ เราจะเริ่มตนแกไขคุณภาพ การศึกษากันที่ตรงไหน และอยางไร?