SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 12
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism) เน้นกระบวนการ
ทางปัญญาหรือความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิด
กลุ่มนี้มีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิด
จากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์
มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่
เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมายและความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและการแก้ปัญหา
ต่างๆ ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทา (active) และสร้างความรู้
ซึ่งจิตวิทยาConstructivists มีความเห็นในเรื่องการเรียนรู้หรือการสร้าง
ความรู้แบ่งออกเป็น ๒ ทฤษฎี คือ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทา (active) และสร้างความรู้
ซึ่งจิตวิทยาConstructivists มีความเห็นในเรื่องการเรียนรู้หรือการสร้าง
ความรู้แบ่งออกเป็น ๒ ทฤษฎี คือ
 Cognitive Constructivism หมายถึงทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา
นิยมที่มีรากฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการของพีอา เจต์ทฤษฎีนี้ถือว่า
ผู้เขียนเป็นผู้กระทา (active) และ เป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเอง
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทในการก่อให้เกิดความไม่สมดุลทาง
พุทธิปัญญาขึ้น เป็นเหตุให้ผู้เรียนปรับความเข้าใจเดิมที่มีอยู่ให้เข้า
กับข้อมูลข่าวสาร ใหม่จนกระทั่งเกิดความสมดุลทางพุทธิปัญญา
หรือเกิดความรู้ใหม่ขึ้น
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
 Social Constructivism เป็นทฤษฎีที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎี
พัฒนาการของวิก็อทสกี้ ซึ่งถือว่าผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการมี
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น (ผู้ใหญ่หรือเพื่อน) ในขณะที่ผู้เรียนมี
ส่วนร่วมในกิจกรรมหรืองานในสภาวะสังคม (Social Context) ซึ่ง
เป็นตัวแปรที่สาคัญและขาดไม่ได้ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมทาให้
ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการเปลี่ยนแปรความเข้าใจ เดิมให้ถูกต้อง
หรือซับซ้อนกว้างขวางขึ้น
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้าง
ความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง ทฤษฏีในกลุ่มนี้ที่สาคัญๆ มี ๕ ทฤษฏี คือ
ทฤษฎีเกสตัลท์(Gestalt Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้
คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัว
มนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่า
ทฤษฎีสนาม (Field Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้
คือ การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือ แรงขับที่จะกระทาให้ไปสู่
จุดหมายปลายทางที่ตน ดึงดูดความสนใจและสนองความต้องการของผู้เรียน
เป็นสิ่งจาเป็นในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน
( Tolman) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เกิด
จากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมาย
ปลายทาง เน้นการสร้างแรงขับและหรือแรงจูงใจให้ผู้เรียนบรรลุ
จุดมุ่งหมายใดๆ โดยใช้เครื่องหมาย สัญลักษณ์หรือสิ่งอื่นๆ ที่เป็น
เครื่องชี้ทางควบคู่ไปด้วย
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา(Intellectual Development Theory) นัก
คิดคนสาคัญของทฤษฏีนี้มีอยู่ ๒ ท่าน ได้แก่ เพียเจต์(Piaget) และบรุน
เนอร์(Bruner) แนว ความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้เน้นเรื่อง
พัฒนาการทางสติปัญญญาของ บุคคลที่เป็นไปตามวัยและเชื่อว่ามนุษย์
เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและ การเรียนรู้เกิดจากระบวนการการ
ค้นพบด้วยตนเอง หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏี
นี้ คือ คานึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนและจัดประสบการณ์
ให้ผู้เรียนอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(A Theory of Meaningful Verbal
Learning) ของออซูเบล(Ausubel) เชื่อว่า การเรียนรู้จะมีความหมายแก่
ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มา
ก่อน หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ มีการนาเสนอ
ความคิดรวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์ หรือกรอบแนวคิดในเรื่องใดเรื่อง
หนึ่งแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระนั้นๆ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบันดูรา (Bandura)
บันดูรามีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้
โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ เนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัวอยู่เสมอผู้เรียนต้องสามารถที่จะประเมินได้ว่า
ตนเลียนแบบได้ดีหรือไม่ดีอย่างไร และจะต้องควบคุมพฤติกรรมของ
ตนเองได้ด้วย บันดูรา จึงสรุปว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตจึงเป็น
กระบวนการทางการรู้คิดหรือพุทธิปัญญา
แนวคิดและทฤษฎี
• ในห้องเรียนครูจะเป็นตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด ครูควรคานึงอยู่เสมอ
ว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตและเลียนแบบจะเกิดขึ้นได้เสมอ แม้ว่าครูจะ
ไม่ได้ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ก็ตาม
• การสอนแบบสาธิตปฏิบัติเป็นการสอนโดยใช้หลักการและขั้นตอนของ
ทฤษฎีปัญญาสังคมทั้งสิ้น ครูต้องแสดงตัวอย่างพฤติกรรมที่ถูกต้องที่สุด
เท่านั้น จึงจะมีประสิทธิภาพในการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ ความ
ผิดพลาดของครูแม้ไม่ตั้งใจ ไม่ว่าครูจะพร่าบอกผู้เรียนว่าไม่ต้องสนใจ
จดจา แต่ก็ผ่านการสังเกตและการรับรู้ของผู้เรียนไปแล้ว
การนาทฤษฎีมาประยุกต์ในการเรียนการสอน
เน้นความสาคัญของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือเลียนแบบจาก
ตัวแบบ ซึ่งอาจจะเป็นได้ทั้งตัวบุคคลจริง ๆ เช่น ครู เพื่อน หรือจาก
ภาพยนตร์โทรทัศน์ การ์ตูน การเรียนรู้โดยการสังเกตประกอบด้วย ๒
ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการทางพุทธิปัญญา และ
ขั้นการกระทา ตัวแบบที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลมีทั้งตัวแบบ
ในชีวิตจริงและตัวแบบที่เป็นสัญลักษณ์
สรุป
จัดทำโดย
นำงสำวกำนต์ชนิด นิยมลำภ
รหัส 5801602107 รุ่น 2 กลุ่ม 4

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
Mod DW
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยม
Eye E'mon Rattanasiha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Chantana Papattha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
sawitreesantawee
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
Gob Chantaramanee
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
Parichart Ampon
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
Bigbic Thanyarat
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
Tikaben Phutako
 

Mais procurados (20)

สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยม
 
เครื่องมือการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการประเมินตามฐานสมรรถนะ
เครื่องมือการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการประเมินตามฐานสมรรถนะเครื่องมือการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการประเมินตามฐานสมรรถนะ
เครื่องมือการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการประเมินตามฐานสมรรถนะ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 

Semelhante a ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
Phornpen Fuangfoo
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
Albert Sigum
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
maxcrycry
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
Weerachat Martluplao
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอน
O-mu Aomaam
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
Supattra Rakchat
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
moohmed
 

Semelhante a ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (20)

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Innovation...
Innovation...Innovation...
Innovation...
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอน
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 

Mais de Naracha Nong

แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
Naracha Nong
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
Naracha Nong
 

Mais de Naracha Nong (6)

การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
 
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
 
ลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดี
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
 

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม

  • 1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism) เน้นกระบวนการ ทางปัญญาหรือความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิด กลุ่มนี้มีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิด จากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์ มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่ เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมายและความสัมพันธ์ของ ข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและการแก้ปัญหา ต่างๆ ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทา (active) และสร้างความรู้ ซึ่งจิตวิทยาConstructivists มีความเห็นในเรื่องการเรียนรู้หรือการสร้าง ความรู้แบ่งออกเป็น ๒ ทฤษฎี คือ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
  • 2. ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทา (active) และสร้างความรู้ ซึ่งจิตวิทยาConstructivists มีความเห็นในเรื่องการเรียนรู้หรือการสร้าง ความรู้แบ่งออกเป็น ๒ ทฤษฎี คือ  Cognitive Constructivism หมายถึงทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา นิยมที่มีรากฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการของพีอา เจต์ทฤษฎีนี้ถือว่า ผู้เขียนเป็นผู้กระทา (active) และ เป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเอง ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทในการก่อให้เกิดความไม่สมดุลทาง พุทธิปัญญาขึ้น เป็นเหตุให้ผู้เรียนปรับความเข้าใจเดิมที่มีอยู่ให้เข้า กับข้อมูลข่าวสาร ใหม่จนกระทั่งเกิดความสมดุลทางพุทธิปัญญา หรือเกิดความรู้ใหม่ขึ้น ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 3.  Social Constructivism เป็นทฤษฎีที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎี พัฒนาการของวิก็อทสกี้ ซึ่งถือว่าผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการมี ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น (ผู้ใหญ่หรือเพื่อน) ในขณะที่ผู้เรียนมี ส่วนร่วมในกิจกรรมหรืองานในสภาวะสังคม (Social Context) ซึ่ง เป็นตัวแปรที่สาคัญและขาดไม่ได้ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมทาให้ ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการเปลี่ยนแปรความเข้าใจ เดิมให้ถูกต้อง หรือซับซ้อนกว้างขวางขึ้น ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 4. การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้าง ความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง ทฤษฏีในกลุ่มนี้ที่สาคัญๆ มี ๕ ทฤษฏี คือ ทฤษฎีเกสตัลท์(Gestalt Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัว มนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่า ทฤษฎีสนาม (Field Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือ แรงขับที่จะกระทาให้ไปสู่ จุดหมายปลายทางที่ตน ดึงดูดความสนใจและสนองความต้องการของผู้เรียน เป็นสิ่งจาเป็นในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 5. ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน ( Tolman) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เกิด จากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมาย ปลายทาง เน้นการสร้างแรงขับและหรือแรงจูงใจให้ผู้เรียนบรรลุ จุดมุ่งหมายใดๆ โดยใช้เครื่องหมาย สัญลักษณ์หรือสิ่งอื่นๆ ที่เป็น เครื่องชี้ทางควบคู่ไปด้วย ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 6. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา(Intellectual Development Theory) นัก คิดคนสาคัญของทฤษฏีนี้มีอยู่ ๒ ท่าน ได้แก่ เพียเจต์(Piaget) และบรุน เนอร์(Bruner) แนว ความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้เน้นเรื่อง พัฒนาการทางสติปัญญญาของ บุคคลที่เป็นไปตามวัยและเชื่อว่ามนุษย์ เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและ การเรียนรู้เกิดจากระบวนการการ ค้นพบด้วยตนเอง หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏี นี้ คือ คานึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนและจัดประสบการณ์ ให้ผู้เรียนอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 7. ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล(Ausubel) เชื่อว่า การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มา ก่อน หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ มีการนาเสนอ ความคิดรวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์ หรือกรอบแนวคิดในเรื่องใดเรื่อง หนึ่งแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระนั้นๆ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 9. บันดูรามีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้ โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ เนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัวอยู่เสมอผู้เรียนต้องสามารถที่จะประเมินได้ว่า ตนเลียนแบบได้ดีหรือไม่ดีอย่างไร และจะต้องควบคุมพฤติกรรมของ ตนเองได้ด้วย บันดูรา จึงสรุปว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตจึงเป็น กระบวนการทางการรู้คิดหรือพุทธิปัญญา แนวคิดและทฤษฎี
  • 10. • ในห้องเรียนครูจะเป็นตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด ครูควรคานึงอยู่เสมอ ว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตและเลียนแบบจะเกิดขึ้นได้เสมอ แม้ว่าครูจะ ไม่ได้ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ก็ตาม • การสอนแบบสาธิตปฏิบัติเป็นการสอนโดยใช้หลักการและขั้นตอนของ ทฤษฎีปัญญาสังคมทั้งสิ้น ครูต้องแสดงตัวอย่างพฤติกรรมที่ถูกต้องที่สุด เท่านั้น จึงจะมีประสิทธิภาพในการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ ความ ผิดพลาดของครูแม้ไม่ตั้งใจ ไม่ว่าครูจะพร่าบอกผู้เรียนว่าไม่ต้องสนใจ จดจา แต่ก็ผ่านการสังเกตและการรับรู้ของผู้เรียนไปแล้ว การนาทฤษฎีมาประยุกต์ในการเรียนการสอน
  • 11. เน้นความสาคัญของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือเลียนแบบจาก ตัวแบบ ซึ่งอาจจะเป็นได้ทั้งตัวบุคคลจริง ๆ เช่น ครู เพื่อน หรือจาก ภาพยนตร์โทรทัศน์ การ์ตูน การเรียนรู้โดยการสังเกตประกอบด้วย ๒ ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการทางพุทธิปัญญา และ ขั้นการกระทา ตัวแบบที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลมีทั้งตัวแบบ ในชีวิตจริงและตัวแบบที่เป็นสัญลักษณ์ สรุป