SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
ใบความรู้เรื่อง กระบวนการแก้ปัญหา
วงจรการพัฒนาโปรแกรม (PDLC) คือ ขั้นตอนการทางานที่โปรแกรมเมอร์ใช้สาหรับสร้างโปรแกรม
ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้
1. การวิเคราะห์ปัญหา (Program Analysis)
2. การออกแบบโปรแกรม (Program Design)
3. การเขียนโปรแกรม (Program Coding)
4. การทดสอบโปรแกรม (Program Testing)
5. การบารุงรักษาโปรแกรม (Program Maintenance)
1. การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)
เป็นขั้นตอนแรกของวงจรการพัฒนาโปรแกรม ซึ่งเป็นการศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและค้นหาสิ่งที่ต้องการ เพื่อ
พิจารณาสิ่งต่อไปนี้
1. ข้อมูลที่จะนาเข้าสู่คอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง
2. วิธีการประมวลผลข้อมูลที่นาเข้าและผลลัพธ์ที่ต้องการ
3. การแสดงผลที่ได้ต้องการแสดงผลลัพธ์อะไรและมีหน้าตาเป็นอย่างไร
ตัวอย่าง ถ้าต้องการสร้างโปรแกรมที่มีการนาตัวเลขเข้ามา 5 ตัว และให้แสดงผลเป็นค่าเฉลี่ยบนจอภาพ
ข้อมูลนาเข้า คือ ตัวเลข 5 ตัว เช่น 2 3 4 5 6
การประมวลผล คือ คานวณหาค่าเฉลี่ย เช่น (2+3+4+5+6)/5
การแสดงผล คือ แสดงค่าเฉลี่ยผ่านทางจอภาพ เช่น 15.2
2. การออกแบบโปรแกรม (Program Design)
เป็นขั้นตอนที่ 2 ของวงจรการพัฒนาโปรแกรมซึ่งการออกแบบโปรแกรมเป็นขั้นตอนที่ต้องใช้เครื่อง มือช่วยใน
การออกแบบ เช่น ผังงาน (Flowchart) รหัสจาลอง (Pseudocode) เป็นต้น ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจขั้นตอนการทางาน
ของโปรแกรมได้ดียิ่งขึ้นผังงาน (Flowchart) เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้รูปภาพแสดงถึงขั้นตอนการเขียน
โปรแกรมและมีลูก ศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากจุดเริ่มต้นถึงจุดเส้นสุด
รหัสจาลอง (Pseudo-code) ใช้แสดงขั้นตอนการเขียนโปรแกรมอย่างง่ายๆิิยมเขียนด้วยภาษาอังกฤษเพราะจะ
คล้ายคลึงกับภาษาโปรแกรมมาก มีการใช้โครงสร้างคาสั่งเฉพาะ เช่น IF-THEN-ELSE, DO-WHILE, DO-UNTIL
และจบด้วย ENDIF หรือ ENDDOสามารถแปลงเป็นโปรแกรมได้โดยง่าย
เช่น
START
Read SIDE1, SIDE2, HEIGHT
Compute AREA = ((SIDE1 +SIDE2)*HEIGHT)/2
Print AREA
STOP
3. การเขียนโปรแกรม (ProgramCoding)
ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังจากที่ได้มีการออกแบบโปรแกรมแล้ว ขั้นตอนนี้เป็นการเขียนโปรแกรมด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์เช่น ภาษา C ,ภาษา Pascal เป็นต้น ทั้งนี้แต่ละภาษาจะมีความเหมาะสมในการใช้งานแตกต่าง
กันออกไป
4. การทดสอบโปรแกรม (Program Testing)
สามารถทดสอบได้ 2 ลักษณะดังนี้
ทดสอบข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น
ตัวอย่าง เช่น
- การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผิดหลักไวยากรณ์
- ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นระหว่างการทางานของโปรแกรม
- ตรรกะในการสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางานผิด เป็นข้อผิดพลาดที่แก้ไขได้ยากที่สุด
การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม
เช่น การทดสอบความถูกต้องของข้อมูล
- การใส่ข้อมูลที่ทราบผลลัพธ์อยู่แล้ว เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของผลลัพธ์
- การตรวจสอบขอบเขตของข้อมูลที่ป้อน
- การใช้ความสมเหตุสมผล
5. การบารุงรักษาโปรแกรม (ProgramMaintenance)
เมื่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว และถูกนามาให้ผู้ใช้ได้ใช้งาน ในช่วงแรกผู้ใช้
อาจจะยังไม่คุ้นเคยก็อาจทาให้เกิดปัญหาขึ้นมาบ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอยควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการทางาน
การบารุงรักษาโปรแกรมจึงเป็นขั้นตอนที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องคอยเฝ้าดูและหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรมใน
ระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรม และปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น หรือในการใช้งานโปรแกรมไป
นานๆ ผู้ใช้อาจต้องการเปลี่ยนแปลงการทางานของระบบงานเดิมเพื่อให้เหมาะกับ เหตุการณ์ นักเขียนโปรแกรมก็
จะต้องคอยปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมตามความต้องการของผู้ใช้ที่ เปลี่ยนแปลงไปนั่นเอง
ผังงาน (Flowchart)
ความหมายของผังงาน
ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความหรือ
คาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วย
คาพูด หรือ ข้อความทาได้ยากกว่าเมื่อใช้รูปภาพ หรือสัญลักษณ์
ผังงานแบ่งได้ 2 ประเภท
1. ผังงานระบบ(System Flowchart) คือผังงานที่แสดงขั้นตอนการทางานในระบบอย่างกว้างๆ แต่ไม่
เจาะลงในระบบงานย่อย
2. ผังงานโปรแกรม (ProgramFlowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทางานของโปรแกรม
ตั้งแต่รับข้อมูลคานวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์
การเขียนผังงาน ( Flowchart )
ผังงาน คือแผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทางานของ
โปรแกรมหรือระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม
ลูกศรแสดงทิศทางการทางานของโปรแกรมและการไหลของข้อมูล
ใช้แสดงคาสั่งในการประมวลผล หรือการกาหนดค่าข้อมูลให้กับตัวแปร
แสดงการอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลสารองเข้าสู่หน่วยความจาหลักภายใน
เครื่องหรือการแสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมา
การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออกจารรูปเพื่อแสดงทิศทางการ
ทางานต่อไป เงื่อนไขเป็นจริงหรือเป็นเท็จ
แสดงผลหรือรายงานที่ถูกสร้างออกมา
แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของเส้นหลายเส้นที่มาจาก
หลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การทางานอย่างใดอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน
การขึ้นหน้าใหม่ ในกรณีที่ผังงานมีความยาวเกินกว่าที่จะแสดงพอในหนึ่งหน้า
การแสดงผลออกทางจอภาพ
ที่เก็บข้อมูล
ตัวอย่างผังงานที่มีโครงสร้างแบบเป็นลาดับ
ผังงานวิธีการไปมหาลัย
ตัวอย่างผังงานที่มีโครงสร้างแบบมีการเลือก
โครงสร้างการทางานแบบมีการเลือกมีรูปแบบที่ซับซ้อนกว่าโครงสร้างแบบเป็นลาดับรูปแบบที่ง่ายที่สุด
ของโครงสร้างแบบนี้คือ การเลือกแบบมีทางออก 2 ทาง ในการเลือกแบบมีทางออก 2 ทาง นี้จะมีทางออกจาก
สัญลักษณ์การตัดสินใจเพียง 2 ทาง คือ ใช่หรือไม่ใช่ เท่านั้น (แต่ระบบการเขียนผังงานระบบ อนุญาตให้มี
ทางออกจากการตัดสินใจได้มากกว่า 2 ทาง)
ผังงานวิธีการไปมหาลัย
ตัวอย่างผังงานที่มีโครงสร้างแบบทาซ้า (Iteration Structure)
โครงสร้างการทางานแบบทาซ้า จะทางานแบบเดียวกันซ้าไปเรื่อย ๆ ในขณะที่ยังเป็นไปตามเงื่อนไขหรือ
เงื่อนไขเป็นจริง จนกระทั้งเงื่อนไขเป็นเท็จจึงทางานอื่นต่อไป
ผังงานการทานอาหาร

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Conceitos fundamentais sobre Análise de Redes
Conceitos fundamentais sobre Análise de RedesConceitos fundamentais sobre Análise de Redes
Conceitos fundamentais sobre Análise de RedesLucas Reis
 
Cross midia 2011
Cross midia  2011Cross midia  2011
Cross midia 2011highsociety
 
Control bolsa de trabajo 2013
Control bolsa de trabajo 2013Control bolsa de trabajo 2013
Control bolsa de trabajo 2013Ismael Placencia
 
д. к. заболотний
д. к. заболотнийд. к. заболотний
д. к. заболотнийStanislavHac1
 
Triptico del ciclo del nitrogeno
Triptico del ciclo del nitrogenoTriptico del ciclo del nitrogeno
Triptico del ciclo del nitrogenojavier ortiz
 
Recursos administrativos
Recursos administrativosRecursos administrativos
Recursos administrativosmarigaby02
 
Proceso de la expresión oral 2015 rhm
Proceso de la expresión oral 2015 rhmProceso de la expresión oral 2015 rhm
Proceso de la expresión oral 2015 rhmRode Huillca Mosquera
 
Media Forecast 2009
Media Forecast 2009Media Forecast 2009
Media Forecast 2009Julie Kaeli
 
La Escuela... Un Nodo Laboral
La Escuela... Un Nodo LaboralLa Escuela... Un Nodo Laboral
La Escuela... Un Nodo Laboralandreagianfelice
 

Destaque (13)

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Ingles
InglesIngles
Ingles
 
Conceitos fundamentais sobre Análise de Redes
Conceitos fundamentais sobre Análise de RedesConceitos fundamentais sobre Análise de Redes
Conceitos fundamentais sobre Análise de Redes
 
Cross midia 2011
Cross midia  2011Cross midia  2011
Cross midia 2011
 
Control bolsa de trabajo 2013
Control bolsa de trabajo 2013Control bolsa de trabajo 2013
Control bolsa de trabajo 2013
 
д. к. заболотний
д. к. заболотнийд. к. заболотний
д. к. заболотний
 
Triptico del ciclo del nitrogeno
Triptico del ciclo del nitrogenoTriptico del ciclo del nitrogeno
Triptico del ciclo del nitrogeno
 
paper 2
paper 2paper 2
paper 2
 
S09
S09S09
S09
 
Recursos administrativos
Recursos administrativosRecursos administrativos
Recursos administrativos
 
Proceso de la expresión oral 2015 rhm
Proceso de la expresión oral 2015 rhmProceso de la expresión oral 2015 rhm
Proceso de la expresión oral 2015 rhm
 
Media Forecast 2009
Media Forecast 2009Media Forecast 2009
Media Forecast 2009
 
La Escuela... Un Nodo Laboral
La Escuela... Un Nodo LaboralLa Escuela... Un Nodo Laboral
La Escuela... Un Nodo Laboral
 

Semelhante a ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา

ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาคีตะบลู รักคำภีร์
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์karmpu
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designtumetr
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศLatcha MaMiew
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศChapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศAkkadate.Com
 

Semelhante a ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา (20)

ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Activity 4
Activity 4Activity 4
Activity 4
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
3
33
3
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Com02
Com02Com02
Com02
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศChapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
 

Mais de Munmuang Tik

ใบงานรหัสจำลอง
ใบงานรหัสจำลองใบงานรหัสจำลอง
ใบงานรหัสจำลองMunmuang Tik
 
ใบงานการหาค่านิพจน์
ใบงานการหาค่านิพจน์ใบงานการหาค่านิพจน์
ใบงานการหาค่านิพจน์Munmuang Tik
 
ใบงานการเขียนผังงาน
ใบงานการเขียนผังงานใบงานการเขียนผังงาน
ใบงานการเขียนผังงานMunmuang Tik
 
ใบงานE portfolio from google site
ใบงานE portfolio from google siteใบงานE portfolio from google site
ใบงานE portfolio from google siteMunmuang Tik
 
ใบความรู้เครื่องหมายและตัวดำเนินการ
ใบความรู้เครื่องหมายและตัวดำเนินการใบความรู้เครื่องหมายและตัวดำเนินการ
ใบความรู้เครื่องหมายและตัวดำเนินการMunmuang Tik
 
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithm
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithmใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithm
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน AlgorithmMunmuang Tik
 
ใบความรู้กิจกรรมสำรวจโปรแกรมScratch
ใบความรู้กิจกรรมสำรวจโปรแกรมScratchใบความรู้กิจกรรมสำรวจโปรแกรมScratch
ใบความรู้กิจกรรมสำรวจโปรแกรมScratchMunmuang Tik
 
ใบความรู้กิจกรรมพื้นหลังและตัวละคร
ใบความรู้กิจกรรมพื้นหลังและตัวละครใบความรู้กิจกรรมพื้นหลังและตัวละคร
ใบความรู้กิจกรรมพื้นหลังและตัวละครMunmuang Tik
 
กิจกรรมสำรวจโปรแกรม Scratch
กิจกรรมสำรวจโปรแกรม Scratchกิจกรรมสำรวจโปรแกรม Scratch
กิจกรรมสำรวจโปรแกรม ScratchMunmuang Tik
 
กิจกรรมสนุกกับเสียง
กิจกรรมสนุกกับเสียงกิจกรรมสนุกกับเสียง
กิจกรรมสนุกกับเสียงMunmuang Tik
 
กิจกรรมพื้นหลังและตัวละคร
กิจกรรมพื้นหลังและตัวละครกิจกรรมพื้นหลังและตัวละคร
กิจกรรมพื้นหลังและตัวละครMunmuang Tik
 

Mais de Munmuang Tik (11)

ใบงานรหัสจำลอง
ใบงานรหัสจำลองใบงานรหัสจำลอง
ใบงานรหัสจำลอง
 
ใบงานการหาค่านิพจน์
ใบงานการหาค่านิพจน์ใบงานการหาค่านิพจน์
ใบงานการหาค่านิพจน์
 
ใบงานการเขียนผังงาน
ใบงานการเขียนผังงานใบงานการเขียนผังงาน
ใบงานการเขียนผังงาน
 
ใบงานE portfolio from google site
ใบงานE portfolio from google siteใบงานE portfolio from google site
ใบงานE portfolio from google site
 
ใบความรู้เครื่องหมายและตัวดำเนินการ
ใบความรู้เครื่องหมายและตัวดำเนินการใบความรู้เครื่องหมายและตัวดำเนินการ
ใบความรู้เครื่องหมายและตัวดำเนินการ
 
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithm
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithmใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithm
ใบความรู้ขั้นตอนการทำงาน Algorithm
 
ใบความรู้กิจกรรมสำรวจโปรแกรมScratch
ใบความรู้กิจกรรมสำรวจโปรแกรมScratchใบความรู้กิจกรรมสำรวจโปรแกรมScratch
ใบความรู้กิจกรรมสำรวจโปรแกรมScratch
 
ใบความรู้กิจกรรมพื้นหลังและตัวละคร
ใบความรู้กิจกรรมพื้นหลังและตัวละครใบความรู้กิจกรรมพื้นหลังและตัวละคร
ใบความรู้กิจกรรมพื้นหลังและตัวละคร
 
กิจกรรมสำรวจโปรแกรม Scratch
กิจกรรมสำรวจโปรแกรม Scratchกิจกรรมสำรวจโปรแกรม Scratch
กิจกรรมสำรวจโปรแกรม Scratch
 
กิจกรรมสนุกกับเสียง
กิจกรรมสนุกกับเสียงกิจกรรมสนุกกับเสียง
กิจกรรมสนุกกับเสียง
 
กิจกรรมพื้นหลังและตัวละคร
กิจกรรมพื้นหลังและตัวละครกิจกรรมพื้นหลังและตัวละคร
กิจกรรมพื้นหลังและตัวละคร
 

ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา

  • 1. ใบความรู้เรื่อง กระบวนการแก้ปัญหา วงจรการพัฒนาโปรแกรม (PDLC) คือ ขั้นตอนการทางานที่โปรแกรมเมอร์ใช้สาหรับสร้างโปรแกรม ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ปัญหา (Program Analysis) 2. การออกแบบโปรแกรม (Program Design) 3. การเขียนโปรแกรม (Program Coding) 4. การทดสอบโปรแกรม (Program Testing) 5. การบารุงรักษาโปรแกรม (Program Maintenance) 1. การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) เป็นขั้นตอนแรกของวงจรการพัฒนาโปรแกรม ซึ่งเป็นการศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและค้นหาสิ่งที่ต้องการ เพื่อ พิจารณาสิ่งต่อไปนี้ 1. ข้อมูลที่จะนาเข้าสู่คอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง 2. วิธีการประมวลผลข้อมูลที่นาเข้าและผลลัพธ์ที่ต้องการ 3. การแสดงผลที่ได้ต้องการแสดงผลลัพธ์อะไรและมีหน้าตาเป็นอย่างไร ตัวอย่าง ถ้าต้องการสร้างโปรแกรมที่มีการนาตัวเลขเข้ามา 5 ตัว และให้แสดงผลเป็นค่าเฉลี่ยบนจอภาพ ข้อมูลนาเข้า คือ ตัวเลข 5 ตัว เช่น 2 3 4 5 6 การประมวลผล คือ คานวณหาค่าเฉลี่ย เช่น (2+3+4+5+6)/5 การแสดงผล คือ แสดงค่าเฉลี่ยผ่านทางจอภาพ เช่น 15.2 2. การออกแบบโปรแกรม (Program Design) เป็นขั้นตอนที่ 2 ของวงจรการพัฒนาโปรแกรมซึ่งการออกแบบโปรแกรมเป็นขั้นตอนที่ต้องใช้เครื่อง มือช่วยใน การออกแบบ เช่น ผังงาน (Flowchart) รหัสจาลอง (Pseudocode) เป็นต้น ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจขั้นตอนการทางาน ของโปรแกรมได้ดียิ่งขึ้นผังงาน (Flowchart) เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้รูปภาพแสดงถึงขั้นตอนการเขียน โปรแกรมและมีลูก ศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากจุดเริ่มต้นถึงจุดเส้นสุด รหัสจาลอง (Pseudo-code) ใช้แสดงขั้นตอนการเขียนโปรแกรมอย่างง่ายๆิิยมเขียนด้วยภาษาอังกฤษเพราะจะ คล้ายคลึงกับภาษาโปรแกรมมาก มีการใช้โครงสร้างคาสั่งเฉพาะ เช่น IF-THEN-ELSE, DO-WHILE, DO-UNTIL และจบด้วย ENDIF หรือ ENDDOสามารถแปลงเป็นโปรแกรมได้โดยง่าย เช่น START Read SIDE1, SIDE2, HEIGHT Compute AREA = ((SIDE1 +SIDE2)*HEIGHT)/2
  • 2. Print AREA STOP 3. การเขียนโปรแกรม (ProgramCoding) ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังจากที่ได้มีการออกแบบโปรแกรมแล้ว ขั้นตอนนี้เป็นการเขียนโปรแกรมด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์เช่น ภาษา C ,ภาษา Pascal เป็นต้น ทั้งนี้แต่ละภาษาจะมีความเหมาะสมในการใช้งานแตกต่าง กันออกไป 4. การทดสอบโปรแกรม (Program Testing) สามารถทดสอบได้ 2 ลักษณะดังนี้ ทดสอบข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น ตัวอย่าง เช่น - การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผิดหลักไวยากรณ์ - ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นระหว่างการทางานของโปรแกรม - ตรรกะในการสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางานผิด เป็นข้อผิดพลาดที่แก้ไขได้ยากที่สุด การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม เช่น การทดสอบความถูกต้องของข้อมูล - การใส่ข้อมูลที่ทราบผลลัพธ์อยู่แล้ว เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของผลลัพธ์ - การตรวจสอบขอบเขตของข้อมูลที่ป้อน - การใช้ความสมเหตุสมผล 5. การบารุงรักษาโปรแกรม (ProgramMaintenance) เมื่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว และถูกนามาให้ผู้ใช้ได้ใช้งาน ในช่วงแรกผู้ใช้ อาจจะยังไม่คุ้นเคยก็อาจทาให้เกิดปัญหาขึ้นมาบ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอยควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการทางาน การบารุงรักษาโปรแกรมจึงเป็นขั้นตอนที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องคอยเฝ้าดูและหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรมใน ระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรม และปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น หรือในการใช้งานโปรแกรมไป นานๆ ผู้ใช้อาจต้องการเปลี่ยนแปลงการทางานของระบบงานเดิมเพื่อให้เหมาะกับ เหตุการณ์ นักเขียนโปรแกรมก็ จะต้องคอยปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมตามความต้องการของผู้ใช้ที่ เปลี่ยนแปลงไปนั่นเอง
  • 3. ผังงาน (Flowchart) ความหมายของผังงาน ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความหรือ คาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วย คาพูด หรือ ข้อความทาได้ยากกว่าเมื่อใช้รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ ผังงานแบ่งได้ 2 ประเภท 1. ผังงานระบบ(System Flowchart) คือผังงานที่แสดงขั้นตอนการทางานในระบบอย่างกว้างๆ แต่ไม่ เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (ProgramFlowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทางานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูลคานวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์ การเขียนผังงาน ( Flowchart ) ผังงาน คือแผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทางานของ โปรแกรมหรือระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม ลูกศรแสดงทิศทางการทางานของโปรแกรมและการไหลของข้อมูล ใช้แสดงคาสั่งในการประมวลผล หรือการกาหนดค่าข้อมูลให้กับตัวแปร แสดงการอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลสารองเข้าสู่หน่วยความจาหลักภายใน เครื่องหรือการแสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมา การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออกจารรูปเพื่อแสดงทิศทางการ ทางานต่อไป เงื่อนไขเป็นจริงหรือเป็นเท็จ แสดงผลหรือรายงานที่ถูกสร้างออกมา แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของเส้นหลายเส้นที่มาจาก หลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การทางานอย่างใดอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน
  • 5. ตัวอย่างผังงานที่มีโครงสร้างแบบมีการเลือก โครงสร้างการทางานแบบมีการเลือกมีรูปแบบที่ซับซ้อนกว่าโครงสร้างแบบเป็นลาดับรูปแบบที่ง่ายที่สุด ของโครงสร้างแบบนี้คือ การเลือกแบบมีทางออก 2 ทาง ในการเลือกแบบมีทางออก 2 ทาง นี้จะมีทางออกจาก สัญลักษณ์การตัดสินใจเพียง 2 ทาง คือ ใช่หรือไม่ใช่ เท่านั้น (แต่ระบบการเขียนผังงานระบบ อนุญาตให้มี ทางออกจากการตัดสินใจได้มากกว่า 2 ทาง) ผังงานวิธีการไปมหาลัย
  • 6. ตัวอย่างผังงานที่มีโครงสร้างแบบทาซ้า (Iteration Structure) โครงสร้างการทางานแบบทาซ้า จะทางานแบบเดียวกันซ้าไปเรื่อย ๆ ในขณะที่ยังเป็นไปตามเงื่อนไขหรือ เงื่อนไขเป็นจริง จนกระทั้งเงื่อนไขเป็นเท็จจึงทางานอื่นต่อไป ผังงานการทานอาหาร