SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 25
Baixar para ler offline
ความแตกต่างของ
วัฒนธรรมและประเพณี
สมาชิก
6402874 นางสาว อัจฉริยา เหมวรานนท์
6403449 นางสาว ปนไพร พงษ์สุวรรณ
6403648 นางสาว มาริษา หมืนหน้า
6403913 นางสาว ลลิดา สุขพรม
6403917 นางสาว เกวลี ปนมณี
6403998 นางสาว พิมกมล กล้าหาญ
6404112 นางสาว ภรณ์ธิดา สังข์แก้ว
ทีปรึกษาโครงงาน
อาจารย์อดิศักดิ นุชมี
รายวิชา RSU111 สังคมธรรมาธิปไตย
ปการศึกษา 2564
บทที1 บทนํา
มนุษย์ไม่อาจสามารถอยู่เพียงลําพังคนเดียวได้จําเปนต้องอยู่รวมกลุ่มกันเพือทีจะ
พึงพาอาศัยและช่วยเหลือซึงกันและกัน และเมืออยู่ร่วมกันก็ต้องมีข้อกําหนด กฎเกณฑ์ เพือให้
อยู่ร่วมกันได้อย่างผาสุก ระเบียบแบบแผนการปฎิบัติทีสังคมว่าดี หรือถูกต้อง โดยไม่ได้
เปนการบังคับ แต่เปนการสมัครใจ ทําและปฎิบัติกันเรือยมา โดยกลุ่มเราสนใจหัวข้อประเพณี
และวัฒนธรรมทัง4ภาคนัน มีความแตกต่างกันอย่างไรและเราจะอยู่ร่วมกันในสังคมทีมีความ
หลากหลายนีได้อย่างไร เพือทีจะได้อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างผาสุก
1.1 ทีมาและความสําคัญ
1.2 วัตถุประสงค์
- เพือศึกษาวัฒนธรรมประเพณีไทยว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร
- เพือทําความเข้าใจประเพณีและวัฒนธรรมของแต่ละภาค
1.3 ขอบเขต
- เรืองทีต้องการศึกษา : ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
- ระยะเวลาทีศึกษา : 21 มิถุนายน พ.ศ.2564 - 12 กรกฎาคม พ.ศ.2564
1.4 ผลทีคาดว่าจะได้รับ
- ทําให้เราทราบประเพณีและวัฒนธรรมของแต่ละภาคมากขึน
- ทําให้เรายอมรับและเข้าใจความแตกต่างของประเพณีและวัฒนธรรมแต่ละภาค
บทที 2
เอกสารทีเกียวข้อง
2.2 ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
2.1 ความหมายของวัฒนธรรมและประเพณี
ในการจัดทําโครงงานความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ผู้จัดทําได้ศึกษาหาข้อมูลทีเกียวข้อง ดังนี
2.3 ประเพณีท้องถิน 4 ภาค
2.4 อาหารท้องถิน 4 ภาค
2.1 ความหมายของวัฒนธรรมและประเพณี
วัฒนธรรม หมายถึง แบบอย่างหรือวิถีการดําเนินชีวิตของชุมชนแต่ละกลุ่ม เปนตัวกําหนด
พฤติกรรมการอยู่ร่วมกันอย่างปกติสุขในสังคม วัฒนธรรมแต่ละสังคมจะแตกต่างกัน ขึนอยู่กับ
ข้อจํากัดทางภูมิศาสตร์ และทรัพยากรต่างๆ ลักษณะอีกประการหนึงของวัฒนธรรมคือความ
เปนมาของคนสมัยก่อน
ประเพณี คือ ความประพฤติทีสืบต่อกันมาจนเปนทียอมรับของคนส่วนใหญ่ในหมู่คณะ เปน
นิสัยสังคม ซึงเกิดขึนจากการทีต้องเอาอย่างบุคคลอืนๆ ทีอยู่รอบๆ ตน หากจะกล่าวถึงประเพณี
ไทยก็หมายถึงนิสัยสังคมของคนไทยซึงได้รับมรดกตกทอดมาแต่ดังเดิมและมองเห็นได้ในทุกๆ
ภาคของไทย
ศาสนา คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา แต่ก็มิได้กีดกันผู้ทีนับถือศาสนาอืนแต่อย่างใด
ภาษา คนไทยมีภาษาและตัวอักษรไทย ซึงพ่อขุนรามคําแหงได้ประดิษฐ์ขึนในสมัยสุโขทัย
ประเพณีไทย เปนสิงทีแสดงถึงวิถีชีวิตของคนไทยทีเคยปฏิบัติสืบเนืองกันมาตังแต่บรรพบุรุษ
2.2 ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยในแต่ละท้องถิน จะมีความคล้ายคลึงและแตกต่างกันไปขึนอยู่กับปจจัยต่าง ๆ
และยังมีการเปลียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทังนีเปนเพราะมีการเปลียนแปลงทางด้านสังคม เศรษฐกิจ
การเมืองการปกครอง และการดําเนินชีวิตของคนไทยอยู่ตลอดเวลามีวัฒนธรรมหลักทีถือว่าเปน
วัฒนธรรมประจําชาติไทย และแสดงให้เห็นถึงความเปนไทย ได้แก่
1.
2.
3.
และได้สืบทอดกันมาจนถึงลูกหลาน ทีเรียกกันว่าขนบธรรมเนียมประเพณีนันเอง เช่น การไหว้
การเซ่นไหว้บรรพบุรุษ
2.3 ประเพณีท้องถิน 4 ภาค
ภาคเหนือ
ประเพณีตานตุง ในภาษาถินล้านนา ตุง หมายถึง “ธง” จุดประสงค์ของการทําตุงในล้านนาก็คือ
การทําถวายเปนพุทธบูชา ชาวล้านนาถือว่าเปนการทําบุญอุทิศให้แก่ผู้ทีล่วงลับไปแล้ว หรือถวาย
เพือเปนปจจัยส่งกุศลให้แก่ตนไปในชาติหน้า ด้วยความเชือทีว่า เมือตายไปแล้วก็จะได้เกาะยึดชาย
ตุงขึนสวรรค์พ้นจากขุมนรก วันทีถวายตุงนันนิยมกระทําในวันพญาวันซึงเปนวันสุดท้ายของ
เทศกาลสงกรานต์
ประเพณีลอยโคม ชาวล้านนาจังหวัดเชียงใหม่ทีมีความเชือใน การปล่อยโคมลอยซึงทําด้วย
กระดาษสาติดบนโครงไม้ไผ่แล้วจุดตะเกียงไฟตรงกลางเพือให้ไอความร้อนพาโคมลอยขึนไปใน
อากาศเปนการปล่อยเคราะห์ปล่อยโศกและเรืองร้าย ๆ ต่าง ๆ ให้ไปพ้นจากตัว
ประเพณีตานตุง ประเพณีลอยโคม
ภาคอีสาน
ประเพณีข้าวสาก งานบุญข้าวสากหรือข้าวสลาก (สลากภัต) คือ การทําบุญอุทิศส่วนกุสลไปให้กับ
เปรต ซึงงานบุญข้าวสากกับงานบุญข้าวประดับดินในเดือน ๙ จะมีความคล้ายคลึงกัน
นันคือ เปนการทําบุญอุทิศส่วนกุศลให้กับเปรตและผู้ล่วงลับไปแล้ว
ประเพณีบุญบังไฟ เปนประเพณีทีจัดขึนทุกปในจังหวัดต่างๆ ในภาคอีสาน ทีมีการปลูกข้าวเปน
อาชีพหลัก ในช่วงก่อนการเริมทํานา เพือบูชาพระยาแถนทีเชือว่าเปนเทพเจ้าทีดูแลให้ฝนตกต้อง
ตามฤดูกาล โดยจะมีการประดับตกแต่งบังไฟ (ซึงเปนดอกไม้ไฟชนิดหนึง ด้านนอกทําจากลําไม้ไผ่)
อย่างสวยงาม และแห่ไปทัวเมืองก่อนทีจะจุดขึนฟาเพือบูชาพระยาแถน จังหวัดยโสธรและร้อยเอ็ด
เปนจังหวัดทีมีชือเสียงทีสุดในการเฉลิมฉลองเทศกาลบุญบังไฟ มีการแข่งขันประกวดบังไฟ และ
การจัดกิจกรรมพืนบ้านต่างๆ
ประเพณีบุญข้าวสาก ประเพณีบุญบังไฟ
ภาคกลาง
ประเพณีตักบาตรดอกไม้ เปนประเภณีของชาวพุทธโดยมีความเชือเรืองของการทําบุญ
พบบางพืนทีของ ประเทศไทย เช่น เปนประเพณีประจําปของ จังหวัดสระบุรี โดยจัดทีวัด
พระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร อําเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี วัดบวรนิเวศวิหาร
กรุงเทพมหานคร และวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามวรวิหาร
ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าว เปนการทําขวัญให้กับพระแม่โพสพ เพือเสริมกําลังใจให้ชาวนาว่า
ผลผลิตจะได้มากขึนเรือยไป เปนการแสดงความกตัญ ูต่อข้าวทุกเม็ดด้วย
ประเพณีตักบาตรดอกไม้ ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าว
ภาคใต้
ประเพณีแห่ผ้าขึนธาตุ ชาวนครฯ เชือมันว่าระบรมธาตุเจดีย์เปนเสมือนตัวแทนของ
พระพุทธศาสนา ภายในเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ทุกปหนึงๆ จะมีการบูชาบวงสรวง
ปละ 2 ครัง คือวันมาฆบูชา และในวันวิสาขบูชา โดยนําผ้ามาห่อหุ้มองค์เจดีย์ เพือความเปน
สิริมงคล มีการจัดขบวนแห่ผ้าพระบฏนําขึนไปถวายสักการะ ในเวลากลางคืน จะเวียนเทียน
ประเพณีชิงเปรต เปนประเพณีเนืองในเทศกาลวันสารท เดือนสิบของชาวไทยทีนับถือ
ศาสนาพุทธ โดยทําร้านจัดสํารับอาหารคาวหวานไปวางอุทิศส่วนกุศลให้เปรตชน (ปู ย่า ตา
ยาย และบรรพบุรุษทีล่วงลับไปแล้ว) ร้านทีวางอาหารเรียกว่า ร้านเปรต ซึงสร้างไว้กลางวัด
ยกเสาสูง มีสีเสาบ้าง เสาเดียวบ้าง บนร้านเปรตจะมีสายสิญจ์วงไว้รอบและต่อยาวไปถึงที
พระสงฆ์นังทําพิธีกรรม พิธีเสร็จบรรดาผู้มาร่วมทําบุญก็จะเข้าไปรุมแย่งอาหารสิงของ
อาหารคาวหวาน ทีอยู่บนร้านเปรตอย่างสนุกสนาน จากนันก็จะจัดอาหารถวายเพลแก่พระ
ภิกษุสงฆ์ทุกรูปทีอยู่ในวัด ต่อจากนันผู้มาร่วมงานทุกคนก็จะกินอาหารร่วมกัน
ประเพณีแห่ผ้าขึนธาตุ ประเพณีชิงเปรต
2.4 อาหารท้องถิน 4 ภาค
ภาคเหนือ เปนอาหารทีมีรสชาติกลางๆ มีรสเค็ม เปรียว
และ หวาน แต่ว่ารสวานมีน้อยมากไม่ค่อยนิยมเท่าไร
ความหวานจะได้จากส่วนผสมทีนํามาทําอาหาร นันคือ
ความหวานจากผัก ปลา และไขมันจากนํามันสัตว์ เช่น
นําพริกแดง ขาหมูต้มผักกาดดอง ขนมจีนนําเงียว ไส้อัว
ฯลฯ
ภาคอีสาน จะมีรสเค็มจากนําปลาร้า รสเผ็ดจากพริกสดและแห้ง อาหารส่วนใหญ่จะมีลักษณะ
แห้ง ข้น ส่วนใหญ่จะมีปลาร้าเปนส่วนผสมของอาหารทุกเมนู เน้นรสเผ็ด เค็ม เปรียว และจะกิน
ข้าวเหนียวเปนหลัก เช่น ข้าวยําขนมจีน ข้าวพล่าหนวดปลาหมึก ไส้กรอกอีสาน หมกปลาซิว ฯลฯ
ภาคกลาง จะมีความหลากหลายในเรืองของรสชาติ เน้น
การใช้กะทิและเครืองแกงมาก ลักษณะเด่นของอาหารภาค
นี คือ จะมีรสชาติครบทังเปรียว หวาน มันเค็ม เผ็ด เวลา
เสิร์ฟจะตกแต่งจานอาหารแบบสวยงาม และมีเครืองแกง
ต่างๆในจานนันด้วย เช่น ข้าวเหนียวปงไส้กุ้ง นําพริกกะป
กุ้งแห้ง ส้มตําไทย ฯลฯ
ภาคใต้ มีลักษณะผสมผสานระหว่าง อาหารไทยพืนบ้าน กับ
อาหารของอินเดีย เช่น นําบูดู ซึงได้มาจากการหมักปลาทะเลสด
ผสมกับเม็ดเกลือ อาหารภาคใต้นันมีรสจัดจ้านมาก ไม่ว่าจะเปน
เค็มจัด เผ็ดจัด เปรียวจัด และเพราะได้รับอิทธิพลจากอาหาร
อินเดียจึงมีการใช้เครืองเทศในอาหารจํานวนมาก เช่น ขนมจีน
นํายาปู ปลาผัดสะตอ นําพริกปกษ์ใต้ แกงไตปลา ฯลฯ
รวมสมาชิกกลุ่ม 14 มิถุนายน 2564
กําหนดหัวข้อ 14 มิถุนายน - 21มิถุนายน 2564
รวบรวมข้อมูล 21 มิถุนายน - 12 กรกฎาคม 2564
เรียบเรียงข้อมูล,จัดทํารูปแบบนําเสนอ 13 กรกฎาคม - 17 กรกฎาคม 2564
นําเสนอ 26 กรกฎาคม 2564
3.1 ขันตอนการดําเนินงาน
กิจกรรม วัน/เดือน/ป
1.
2.
3.
4.
5.
บทที 3
วิธีการดําเนินงาน
3.2 อุปกรณ์ - คอมพิวเตอร์,แล็ปท็อป,แท็บเล็ต
- อินเทอร์เน็ต
การจัดทําโครงงานความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคของไทย
ในครังนีมีจุดประสงค์เพือทีจะศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกียวกับวัฒนธรรมและประเพณี
การดําเนินชีวิต และสิงทีประชากรในแต่ละภาคสืบต่อกันและดําเนินมาจนถึงปจจุบัน
ผู้จัดทําโครงงานสามารถนําความรู้ทีได้จากศึกษาในหัวข้อนี ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจํา
วัน และยังสามารถทําให้ผู้ทีอยากทราบความรู้นีได้รับประโยชน์จากการทําโครงงานผ่าน
ทางเว็บไซต์ slide share
บทที 4
ผลการดําเนินโครงงาน
บทที 5
สรุปผลการดําเนินงาน
จากการทําโครงงานนีทางกลุ่มได้ความรู้จากการศึกษาความแตกต่างของวัฒนธรรม
และประเพณีทัง4ภาคจึงได้ทราบว่า วัฒนธรรมประกอบด้วยองค์ความรู้ทังหมดทีกําหนด
พฤติกรรมของมนุษย์ในพืนทีเฉพาะ มันหมายถึงทุกสิงทุกอย่างตังแต่เสือผ้าไปจนถึงภาษา
ศิลปะพิธีกรรมและความเชือ โดยรวมแล้ววัฒนธรรมเปนข้อสรุปสําหรับวิวัฒนาการของ
มนุษย์ในฐานะสังคมและไม่ได้ขึนอยู่กับพันธุกรรมเพียงอย่างเดียว
ประเพณีเปนส่วนหนึงของกลุ่มวัฒนธรรมของการแสดงออกของมนุษย์ เมือเทียบ
กับวัฒนธรรมซึงเปนแนวคิดทีกว้างกว่าประเพณีจะตรงต่อเวลามากกว่าและกําหนด
พฤติกรรมในสถานการณ์หนึงสําหรับคนกลุ่มเดียว ผู้คนจากกลุ่มวัฒนธรรมเดียวกัน เช่น
ภูมิภาคของประเทศสามารถมีประเพณีทีแตกต่างกัน
บรรณานุกรม
giannaun. วัฒนธรรมและประเพณีของไทย. [เว็บบล็อก].
สืบค้นจาก https://thaicultureandthaitradition.wordpress.com/
giannauncensor/
ธันย์ชนก ชูเสน. อาหารไทย4ภาค. [เว็บบล็อก].
สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/xaharphunbanphakhti/keiyw-
kab-xahar-thiy
สาโรช ณัฐฐะ. อาหารพืนบ้านภาคเหนือ. [เว็บบล็อก].
สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/blog/myblog/topic/
อุบลรัตน์ วงษ์สีดา. วัฒนธรรมท้องถิน4ภาค. [เว็บบล็อก].
สืบค้นจาก https://50510ubonrat.wordpress.com
ศศิวิมล วิเชียรพงษ์. ประเพณีท้องถินภาคอีสาน. [เว็บบล็อก]
สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/praphenithiykib5543/
prapheni-thxng-thin-phakh-xisan
ศศิวิมล วิเชียรพงษ์. ประเพณีท้องถินภาคใต้. [เว็บบล็อก]
สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/praphenithiykib5543/
prapheni-phakh-ti

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10mintmint2540
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง Patzuri Orz
 

Mais procurados (20)

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 

Semelhante a ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค

ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)Tongsamut vorasan
 
วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่watpadongyai
 
สไลด์ นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-1page
สไลด์  นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-1pageสไลด์  นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-1page
สไลด์ นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-4page
สไลด์  นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-4pageสไลด์  นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-4page
สไลด์ นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีKKloveyou
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่งtie_weeraphon
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองThammasat University
 

Semelhante a ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค (20)

Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่
 
สไลด์ นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-1page
สไลด์  นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-1pageสไลด์  นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-1page
สไลด์ นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-1page
 
สไลด์ นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-4page
สไลด์  นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-4pageสไลด์  นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-4page
สไลด์ นักเรียนกับพระพุทธฯศาสดา+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f21-4page
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 
ก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทรายก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทราย
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
 
2012 05-20
 2012 05-20 2012 05-20
2012 05-20
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากอง
 

ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค