SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 2
Baixar para ler offline
อ่านบทความวิจัยภาษาอังกฤษ 
äÁ‹ÂÒ¡Í‹ҧ·Õè¤Ô´ โดย ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์ 
สวัสดีครับทา่นผูอ้า่นทุกๆ ทา่น พบกันอีกครั้งหนึ่งนะครับ ในเนื้อหาฉบับที่แลว้ ผมไดเ้ขียนแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคและเคล็ดลับในการอา่นบทความวิจัย 
ภาษาอังกฤษเบื้องต้น โดยได้อธิบายถึงรูปแบบและโครงสร้างของบทความว่าประกอบด้วยส่วนอะไรบ้าง แต่ละส่วนเราอ่านเพื่อจุดมุ่งหมายอะไร ในฉบับนี้ผม 
จะมาแนะนำประโยคหรือข้อความในแต่ละส่วนของบทความที่จะทำให้เราอ่านได้ง่ายขึ้นครับ โดยเนื้อหาต่างๆ ที่จะเขียนต่อในตอนที่ 2 และตอนต่อๆ ไปนี้ ผมได้ 
จากประสบการณ์ตอนที่เรียนวิชา ‘Technical English for Medical Science Graduates’ ครับ 
ก่อนที่ผมจะเข้าสู่ประโยคหรือข้อความที่ทำหน้าที่เป็นจุดสังเกตในแต่ละส่วนของบทความวิจัย ผมขอกล่าวในส่วนแรกที่เราจะต้องให้ความสนใจคือ 
ส่วนหัวข้อเรื่อง (Title) และส่วนบทคัดย่อ (Abstract) ครับ 
หัวข้อเรื่อง (Title) ของบทความวิจัยเป็นส่วนที่เราจะทิ้งไปไม่ได้ในการอ่านบทความครับ บางครั้งถ้าเราอ่านและทำความเข้าใจในหัวข้อเรื่องดีๆ 
จะทำให้เราอ่านเนื้อหาของบทความวิจัยได้ง่ายขึ้น ทั่วไปแล้วหัวข้อเรื่องจะนำคำสำคัญ (keywords) มาเขียนครับ นอกจากนั้นหัวข้อเรื่องยังให้ข้อมูล 
ที่สำคัญอีกได้แก่ “สิ่งที่ผู้วิจัยศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา กลุ่มประชากร หรือกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา สถานที่ศึกษางานวิจัย ประเภทของงานวิจัย” ยก 
ตัวอย่างเช่นในบทความวิจัยนี้ครับ 
ตัวอย่างข้างต้นผมยกขึ้นมาให้ท่านผู้อ่านเห็นว่า หัวข้อเรื่องนั้นบอก 
อะไรเราได้บ้าง และเราสามารถอนุมานจากหัวข้อเรื่องนี้ถึงใจความสำคัญ 
คร่าวๆ ของงานวิจัยได้เลยครับ โดยเรายังไม่ต้องอ่านเข้าไปในตัวเนื้อหา 
การอนุมานของเราจะถูกหรือผิดไม่เป็นไรครับ ถ้าคำบางคำไม่รู้ก็ไม่เป็นไร 
ครับ ลองเดาๆ ดูจากหัวเรื่องงานวิจัยก็ได้ครับ ยกตัวอย่างในงานวิจัยที่ผม 
นำมาเป็นตัวอย่างนี้ ผมอาจลองคิดต่อไปได้ว่า “ผู้วิจัยต้องการศึกษาผล 
การออกกำลังกายในคนไข้เบาหวานซึ่งอาจดูการวัดค่าต่างๆ รวมถึง 
ดูคุณภาพชีวิตว่าเปลี่ยนแปลงหรือไม่ โดยกลุ่มตัวอย่างอาจเป็นคนไข้ 
เบาหวานเทียบกับคนปกติ และอาจคาดเดาผลได้ว่า การออกกำลังกาย 
ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานดีขึ้น เป็นต้น” ผมอยากให้ท่าน 
ผู้อ่านลองทำตามที่ผมได้แนะนำดูครับ ผมว่าจะทำให้ท่านสนุกและมี 
อรรถรสในการอ่านบทความวิจัยมากขึ้นครับ 
ส่วนที่สอง คือ บทคัดย่อ หรือ Abstract ส่วนนี้เหมือนเป็นประตู 
ด่านแรกที่จะสรุปเนื้อหาทั้งหมดของงานวิจัย ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านตัดสินใจ 
ว่าจะอ่านต่อหรือไม่อ่านต่อ นั่นคือ ผู้อ่านมักจะตัดสินใจตรงนี้นั่นเอง 
บางครั้งท่านผู้อ่านบางท่านอาจตัดสินใจว่าจะสนใจอ่านในเนื้อหางานวิจัย 
โดยพิจารณาจากความน่าสนใจของหัวข้อเรื่องได้เช่นกันครับ 
บทคัดย่อแบ่งได้ 2 ประเภท คือ “Conventional abstract” และ 
“Structured abstract” ทั้งสองประเภทจะต่างกันที่ในส่วน conventional 
abstract จะไม่มีการแยกเป็นย่อหน้าต่างๆ หัวข้อต่างๆ โดยจะเขียนเป็น 
ย่อหน้าเดียวไปเลยครับ 
2 สมมาาคมเเททคนนิิคกกาารแแพพทยย์์แแหห่่งปรระะเเททศไไททย 
ถ้าเราพิจารณาลักษณะของหัวข้อบทความวิจัยนี้ โดย 
อาศัยหลักที่ผมได้เขียนไว้ข้างต้นจะเห็นได้ว่า ข้อมูลต่างๆ 
ที่อยู่ในหัวข้อเรื่องนั้นบอกข้อมูลต่างๆ กับเรา โดยหมายเลข 
 บอกว่า “คณะผู้วิจัยศึกษาอะไร” หมายเลข  บอกว่า 
“คณะผูวิ้จัยศึกษาในกลุม่ประชากรใด” และหมายเลข  
คือคำสำคัญ หรือ keywords ของงานวิจัยนี้ครับ เทา่ที่เรา 
ดูจะพบว่า คำสำคัญ หรือ keywords นั้นนำมาจากหัวข้องาน 
วิจัยนั่นเอง 
ภาพที่ 1 ตัวอย่าง Conventional abstract (A) และ Structured abstract (B) 
สิ่งที่บทคัดย่อจะบอกเราคือ งานวิจัยในภาพรวมของหัวข้อเรื่องนี้เป็น 
อย่างไร เราอาจพูดได้ว่าบทความวิจัยที่เขียนตั้งแต่สองสามหน้าจนถึงสิบ 
กว่าหน้าถูกสรุปในส่วนของบทคัดย่อนั่นเอง 
เราลองมาดูกันครับว่าในส่วนบทคัดย่อนั้นมีประโยคอะไรและบอก 
อะไรเราได้บ้าง...โดยทั่วไปส่วนของบทคัดย่อจะประกอบด้วยองค์ประกอบ 
หลัก 6 ส่วนคือ 
1. บทนำ ซึ่งส่วนนี้อาจมีหรือไม่มีก็ได้ 
2. วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 
3. กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา 
4. วิธีการดำเนินการศึกษาโดยสรุป 
5. ผลการศึกษา 
6. สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 
ทีนี้เรามาดูกันครับว่าแต่ละส่วนเราสามารถสังเกตจากประโยคหรือวลี 
ภาษาอังกฤษได้อย่างไรบ้าง 
à¡çºÁÒàÅ‹ÒÊÙ‹¡Ñ¹¿˜§...àÃ×èͧ 
A 
B 
มาเทนิกาแพย์แห่ระเทไท1 
2 
3 
• อ่านต่อหน้า 4
4 สมมาาคมเเททคนนิิคกกาารแแพพทยย์์แแหห่่งปรระะเเททศไไททย 
จากตัวอย่างข้างต้นสามารถสรุปได้ดังนี้ 
บอกถึงวัตถุประสงค์ของงานวิจัย 
เริ่มบอกถึงกลุ่มประชากรที่ศึกษาและวิธีการศึกษา 
เริ่มอธิบายผลของการศึกษา 
(มีการนำค่าทางสถิติมาใช้ประกอบ) 
บอกถึงสรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะต่างๆ 
เป็นอย่างไรบ้างครับ ฉบับนี้เนื้อหาค่อนข้างแน่นเลยทีเดียว แต่ผม 
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อท่านผู้อ่านทุกๆ ท่านครับ รูปประโยคที่ผม 
ยกตัวอย่างมาอาจแตกต่างกันไปในรูปแบบการเขียนของผู้วิจัยและ 
บทความวิจัยต่างๆ แต่หลักการมองหรือพิจารณาจะคล้ายกันครับ ใน 
ฉบับหน้าผมจะเล่าในตอนต่อๆ ไปของการอ่านครับว่าถ้าเราลองลงไปใน 
ส่วนต่างๆ ของบทความวิจัย ไม่ว่าจะเป็น Introduction, Materials and 
Methods, Results และ Discussion จะมีประโยค คำศัพท์ หรือวลี ที่เป็น 
เสมือน “เข็มหมุด” ที่จะชี้ทางให้เราอ่านบทความได้ง่ายขึ้นอย่างไรครับ 
ท้ายสุดผมต้องขอขอบพระคุณ รศ.ผ่าน บาลโพธิ์ สถาบันภาษา 
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้สอนวิชา “Technical English for Medical 
Science Graduates” ให้กับผมและทำให้ผมได้รับเนื้อหาและประสบการณ์ 
จากการเรียนและการอ่านบทความวิจัยภาษาอังกฤษมาเขียนเล่าสู่กันฟังให้ 
กับท่านผู้อ่านทุกๆ ท่าน ครับ 
ไว้พบกันฉบับหน้า...สวัสดีครับ 
อย่าลืมว่าไม่ใช่ 100% ของบทความวิจัยภาษาอังกฤษจะมีรูปแบบ 
ประโยคหรือวลีตามที่ผมได้ยกตัวอย่างข้างต้น บางบทความอาจมีแค่บาง 
ประโยคที่ชัดเจน แต่บางประโยคจะต้องมีการตีความหรือดูความหมายของ 
ประโยคครับว่ากล่าวถึงอะไร โดยทั่วไปจะดูไม่ยากครับ 
ยกตัวอย่างบทคัดย่อด้านล่างนี้ จากที่เราดูแล้วจะพบว่าประโยค 
หรือวลีที่เป็นตัวบอกว่าจุดประสงค์งานวิจัยคืออะไร วิธีการศึกษาวิจัยเป็น 
อย่างไร จะบอกไม่ชัดเจนเหมือนหลักข้างต้น โดยทั่วไปมักพบในบทคัดย่อ 
ที่เป็น Conventional abstract (ภาพ A) ส่วนที่เป็น Structured abstract เรา 
จะอ่านได้ง่ายขึ้นครับเพราะในตัวบทคัดย่อได้แยกส่วนต่างๆ ของโครงสร้าง 
ออกมาให้ผู้อ่านอย่างชัดเจนแล้ว (ภาพ B) อย่างไรก็ตาม เราสามารถที่ 
จะตีความจากแต่ละประโยคได้ว่า บทคัดย่อนี้ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้ 
อย่างไรครับ 
à¡çºÁÒàÅ‹ÒÊÙ‹¡Ñ¹¿˜§... 
มาเทนิกาแพย์แห่ระเทไทเอกสารอ้างอิง 
1. เอกสารประกอบการเรียนวิชา Technical English for Medical Science Graduates 
ในส่วนเนื้อหา “Reading Research Articles in Medical Sciences” ปีการศึกษา 
2551 ของ รศ. ผ่าน บาลโพธิ์ สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
2. Bello AI, Owusu-Boakye E, Adegoke BO, Adjei DN. Eff ects of aerobic 
exercise on selected physiological parameters and quality of life in patients 
with type 2 diabetes mellitus. Int J Gen Med.4:723-7. 
3. Kang SH, Hwang HS, Park HS, Sun IO, Choi SR, Chung BH, et al. Changes 
in renal function after diff erent tandem hematopoietic stem-cell transplan-tation 
approaches in patients with multiple myeloma. J Korean Med Sci. 
Oct;26(10):1310-5.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6WijittraSreepraram
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาว
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาวบันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาว
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาวManit Wongmool
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
บทท 1 ความหมายของผ^hปกครอง
บทท   1 ความหมายของผ^hปกครองบทท   1 ความหมายของผ^hปกครอง
บทท 1 ความหมายของผ^hปกครองMayko Chan
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) Kun Cool Look Natt
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ActivInspire บน Active Board
คู่มือการใช้โปรแกรม ActivInspire บน Active Boardคู่มือการใช้โปรแกรม ActivInspire บน Active Board
คู่มือการใช้โปรแกรม ActivInspire บน Active Boardmansuang1978
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นAopja
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศบทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศณชารีญา ศรีหะรัญ
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการPuzzle Chalermwan
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 

Mais procurados (20)

โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาว
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาวบันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาว
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาว
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
บทท 1 ความหมายของผ^hปกครอง
บทท   1 ความหมายของผ^hปกครองบทท   1 ความหมายของผ^hปกครอง
บทท 1 ความหมายของผ^hปกครอง
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ActivInspire บน Active Board
คู่มือการใช้โปรแกรม ActivInspire บน Active Boardคู่มือการใช้โปรแกรม ActivInspire บน Active Board
คู่มือการใช้โปรแกรม ActivInspire บน Active Board
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศบทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 

Semelhante a อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2

คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4Mahidol University, Thailand
 
Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)guest49ef9e
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดChowwalit Chookhampaeng
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8nay220
 
Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Sunee Suvanpasu
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้pompameiei
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6pompameiei
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานsa_jaimun
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6StampPamika
 
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔บรรลุ ช่อชู
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนppisoot07
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5Krudoremon
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความKo Kung
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯsompoy
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 

Semelhante a อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2 (20)

คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
 
Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)
 
Thai 11june05
Thai 11june05Thai 11june05
Thai 11june05
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
Blog writing
Blog writingBlog writing
Blog writing
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 

Mais de Mahidol University, Thailand

Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Mahidol University, Thailand
 
How to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificityHow to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificityMahidol University, Thailand
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)Mahidol University, Thailand
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5Mahidol University, Thailand
 
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"Mahidol University, Thailand
 
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิงบทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิงMahidol University, Thailand
 

Mais de Mahidol University, Thailand (14)

Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
 
Pcr primer design english version
Pcr primer design english versionPcr primer design english version
Pcr primer design english version
 
How to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificityHow to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificity
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
 
Laboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infectionLaboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infection
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
 
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
 
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิงบทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
 
Bacteria identification
Bacteria identificationBacteria identification
Bacteria identification
 
Stem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapyStem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapy
 
Regulation of gene expression
Regulation of gene expressionRegulation of gene expression
Regulation of gene expression
 
Mutation and DNA repair
Mutation and DNA repairMutation and DNA repair
Mutation and DNA repair
 
PCR primer design
PCR primer designPCR primer design
PCR primer design
 
Principle of PCR
Principle of PCR Principle of PCR
Principle of PCR
 

อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2

  • 1. อ่านบทความวิจัยภาษาอังกฤษ äÁ‹ÂÒ¡Í‹ҧ·Õè¤Ô´ โดย ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์ สวัสดีครับทา่นผูอ้า่นทุกๆ ทา่น พบกันอีกครั้งหนึ่งนะครับ ในเนื้อหาฉบับที่แลว้ ผมไดเ้ขียนแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคและเคล็ดลับในการอา่นบทความวิจัย ภาษาอังกฤษเบื้องต้น โดยได้อธิบายถึงรูปแบบและโครงสร้างของบทความว่าประกอบด้วยส่วนอะไรบ้าง แต่ละส่วนเราอ่านเพื่อจุดมุ่งหมายอะไร ในฉบับนี้ผม จะมาแนะนำประโยคหรือข้อความในแต่ละส่วนของบทความที่จะทำให้เราอ่านได้ง่ายขึ้นครับ โดยเนื้อหาต่างๆ ที่จะเขียนต่อในตอนที่ 2 และตอนต่อๆ ไปนี้ ผมได้ จากประสบการณ์ตอนที่เรียนวิชา ‘Technical English for Medical Science Graduates’ ครับ ก่อนที่ผมจะเข้าสู่ประโยคหรือข้อความที่ทำหน้าที่เป็นจุดสังเกตในแต่ละส่วนของบทความวิจัย ผมขอกล่าวในส่วนแรกที่เราจะต้องให้ความสนใจคือ ส่วนหัวข้อเรื่อง (Title) และส่วนบทคัดย่อ (Abstract) ครับ หัวข้อเรื่อง (Title) ของบทความวิจัยเป็นส่วนที่เราจะทิ้งไปไม่ได้ในการอ่านบทความครับ บางครั้งถ้าเราอ่านและทำความเข้าใจในหัวข้อเรื่องดีๆ จะทำให้เราอ่านเนื้อหาของบทความวิจัยได้ง่ายขึ้น ทั่วไปแล้วหัวข้อเรื่องจะนำคำสำคัญ (keywords) มาเขียนครับ นอกจากนั้นหัวข้อเรื่องยังให้ข้อมูล ที่สำคัญอีกได้แก่ “สิ่งที่ผู้วิจัยศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา กลุ่มประชากร หรือกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา สถานที่ศึกษางานวิจัย ประเภทของงานวิจัย” ยก ตัวอย่างเช่นในบทความวิจัยนี้ครับ ตัวอย่างข้างต้นผมยกขึ้นมาให้ท่านผู้อ่านเห็นว่า หัวข้อเรื่องนั้นบอก อะไรเราได้บ้าง และเราสามารถอนุมานจากหัวข้อเรื่องนี้ถึงใจความสำคัญ คร่าวๆ ของงานวิจัยได้เลยครับ โดยเรายังไม่ต้องอ่านเข้าไปในตัวเนื้อหา การอนุมานของเราจะถูกหรือผิดไม่เป็นไรครับ ถ้าคำบางคำไม่รู้ก็ไม่เป็นไร ครับ ลองเดาๆ ดูจากหัวเรื่องงานวิจัยก็ได้ครับ ยกตัวอย่างในงานวิจัยที่ผม นำมาเป็นตัวอย่างนี้ ผมอาจลองคิดต่อไปได้ว่า “ผู้วิจัยต้องการศึกษาผล การออกกำลังกายในคนไข้เบาหวานซึ่งอาจดูการวัดค่าต่างๆ รวมถึง ดูคุณภาพชีวิตว่าเปลี่ยนแปลงหรือไม่ โดยกลุ่มตัวอย่างอาจเป็นคนไข้ เบาหวานเทียบกับคนปกติ และอาจคาดเดาผลได้ว่า การออกกำลังกาย ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานดีขึ้น เป็นต้น” ผมอยากให้ท่าน ผู้อ่านลองทำตามที่ผมได้แนะนำดูครับ ผมว่าจะทำให้ท่านสนุกและมี อรรถรสในการอ่านบทความวิจัยมากขึ้นครับ ส่วนที่สอง คือ บทคัดย่อ หรือ Abstract ส่วนนี้เหมือนเป็นประตู ด่านแรกที่จะสรุปเนื้อหาทั้งหมดของงานวิจัย ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านตัดสินใจ ว่าจะอ่านต่อหรือไม่อ่านต่อ นั่นคือ ผู้อ่านมักจะตัดสินใจตรงนี้นั่นเอง บางครั้งท่านผู้อ่านบางท่านอาจตัดสินใจว่าจะสนใจอ่านในเนื้อหางานวิจัย โดยพิจารณาจากความน่าสนใจของหัวข้อเรื่องได้เช่นกันครับ บทคัดย่อแบ่งได้ 2 ประเภท คือ “Conventional abstract” และ “Structured abstract” ทั้งสองประเภทจะต่างกันที่ในส่วน conventional abstract จะไม่มีการแยกเป็นย่อหน้าต่างๆ หัวข้อต่างๆ โดยจะเขียนเป็น ย่อหน้าเดียวไปเลยครับ 2 สมมาาคมเเททคนนิิคกกาารแแพพทยย์์แแหห่่งปรระะเเททศไไททย ถ้าเราพิจารณาลักษณะของหัวข้อบทความวิจัยนี้ โดย อาศัยหลักที่ผมได้เขียนไว้ข้างต้นจะเห็นได้ว่า ข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ในหัวข้อเรื่องนั้นบอกข้อมูลต่างๆ กับเรา โดยหมายเลข  บอกว่า “คณะผู้วิจัยศึกษาอะไร” หมายเลข  บอกว่า “คณะผูวิ้จัยศึกษาในกลุม่ประชากรใด” และหมายเลข  คือคำสำคัญ หรือ keywords ของงานวิจัยนี้ครับ เทา่ที่เรา ดูจะพบว่า คำสำคัญ หรือ keywords นั้นนำมาจากหัวข้องาน วิจัยนั่นเอง ภาพที่ 1 ตัวอย่าง Conventional abstract (A) และ Structured abstract (B) สิ่งที่บทคัดย่อจะบอกเราคือ งานวิจัยในภาพรวมของหัวข้อเรื่องนี้เป็น อย่างไร เราอาจพูดได้ว่าบทความวิจัยที่เขียนตั้งแต่สองสามหน้าจนถึงสิบ กว่าหน้าถูกสรุปในส่วนของบทคัดย่อนั่นเอง เราลองมาดูกันครับว่าในส่วนบทคัดย่อนั้นมีประโยคอะไรและบอก อะไรเราได้บ้าง...โดยทั่วไปส่วนของบทคัดย่อจะประกอบด้วยองค์ประกอบ หลัก 6 ส่วนคือ 1. บทนำ ซึ่งส่วนนี้อาจมีหรือไม่มีก็ได้ 2. วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 3. กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา 4. วิธีการดำเนินการศึกษาโดยสรุป 5. ผลการศึกษา 6. สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ทีนี้เรามาดูกันครับว่าแต่ละส่วนเราสามารถสังเกตจากประโยคหรือวลี ภาษาอังกฤษได้อย่างไรบ้าง à¡çºÁÒàÅ‹ÒÊÙ‹¡Ñ¹¿˜§...àÃ×èͧ A B มาเทนิกาแพย์แห่ระเทไท1 2 3 • อ่านต่อหน้า 4
  • 2. 4 สมมาาคมเเททคนนิิคกกาารแแพพทยย์์แแหห่่งปรระะเเททศไไททย จากตัวอย่างข้างต้นสามารถสรุปได้ดังนี้ บอกถึงวัตถุประสงค์ของงานวิจัย เริ่มบอกถึงกลุ่มประชากรที่ศึกษาและวิธีการศึกษา เริ่มอธิบายผลของการศึกษา (มีการนำค่าทางสถิติมาใช้ประกอบ) บอกถึงสรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะต่างๆ เป็นอย่างไรบ้างครับ ฉบับนี้เนื้อหาค่อนข้างแน่นเลยทีเดียว แต่ผม หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อท่านผู้อ่านทุกๆ ท่านครับ รูปประโยคที่ผม ยกตัวอย่างมาอาจแตกต่างกันไปในรูปแบบการเขียนของผู้วิจัยและ บทความวิจัยต่างๆ แต่หลักการมองหรือพิจารณาจะคล้ายกันครับ ใน ฉบับหน้าผมจะเล่าในตอนต่อๆ ไปของการอ่านครับว่าถ้าเราลองลงไปใน ส่วนต่างๆ ของบทความวิจัย ไม่ว่าจะเป็น Introduction, Materials and Methods, Results และ Discussion จะมีประโยค คำศัพท์ หรือวลี ที่เป็น เสมือน “เข็มหมุด” ที่จะชี้ทางให้เราอ่านบทความได้ง่ายขึ้นอย่างไรครับ ท้ายสุดผมต้องขอขอบพระคุณ รศ.ผ่าน บาลโพธิ์ สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้สอนวิชา “Technical English for Medical Science Graduates” ให้กับผมและทำให้ผมได้รับเนื้อหาและประสบการณ์ จากการเรียนและการอ่านบทความวิจัยภาษาอังกฤษมาเขียนเล่าสู่กันฟังให้ กับท่านผู้อ่านทุกๆ ท่าน ครับ ไว้พบกันฉบับหน้า...สวัสดีครับ อย่าลืมว่าไม่ใช่ 100% ของบทความวิจัยภาษาอังกฤษจะมีรูปแบบ ประโยคหรือวลีตามที่ผมได้ยกตัวอย่างข้างต้น บางบทความอาจมีแค่บาง ประโยคที่ชัดเจน แต่บางประโยคจะต้องมีการตีความหรือดูความหมายของ ประโยคครับว่ากล่าวถึงอะไร โดยทั่วไปจะดูไม่ยากครับ ยกตัวอย่างบทคัดย่อด้านล่างนี้ จากที่เราดูแล้วจะพบว่าประโยค หรือวลีที่เป็นตัวบอกว่าจุดประสงค์งานวิจัยคืออะไร วิธีการศึกษาวิจัยเป็น อย่างไร จะบอกไม่ชัดเจนเหมือนหลักข้างต้น โดยทั่วไปมักพบในบทคัดย่อ ที่เป็น Conventional abstract (ภาพ A) ส่วนที่เป็น Structured abstract เรา จะอ่านได้ง่ายขึ้นครับเพราะในตัวบทคัดย่อได้แยกส่วนต่างๆ ของโครงสร้าง ออกมาให้ผู้อ่านอย่างชัดเจนแล้ว (ภาพ B) อย่างไรก็ตาม เราสามารถที่ จะตีความจากแต่ละประโยคได้ว่า บทคัดย่อนี้ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้ อย่างไรครับ à¡çºÁÒàÅ‹ÒÊÙ‹¡Ñ¹¿˜§... มาเทนิกาแพย์แห่ระเทไทเอกสารอ้างอิง 1. เอกสารประกอบการเรียนวิชา Technical English for Medical Science Graduates ในส่วนเนื้อหา “Reading Research Articles in Medical Sciences” ปีการศึกษา 2551 ของ รศ. ผ่าน บาลโพธิ์ สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. Bello AI, Owusu-Boakye E, Adegoke BO, Adjei DN. Eff ects of aerobic exercise on selected physiological parameters and quality of life in patients with type 2 diabetes mellitus. Int J Gen Med.4:723-7. 3. Kang SH, Hwang HS, Park HS, Sun IO, Choi SR, Chung BH, et al. Changes in renal function after diff erent tandem hematopoietic stem-cell transplan-tation approaches in patients with multiple myeloma. J Korean Med Sci. Oct;26(10):1310-5.