SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อ: นายสาทรกิจ เจริญวงศ์ ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 13
ชื่อ: นายรัชชานนท์ ดีหอมศิล ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 24
ชื่อ: นายสาทรกิจ เจริญวงศ์ ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 13
ชื่อ: นายรัชชานนท์ ดีหอมศิล ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 24
ความหมายของโครงงาน
คำาว่าโครงงานมีนักเรียนการศึกษาได้ให้ความหมายไว้มากมาย
ดังนี้
กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความหมายโครงงานว่า เป็นการทำา
กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วย
ตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คำาปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้าง
โครงงาน การวางแผนดำาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติ รวมทั้ง
 ร่วมกำาหนดแนวทางในการวัดผลและการประเมินผล
สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ความหมายโครง
งานว่าเป็นการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัด ตามความ
สามารถของผู้เรียนเอง ภายใต้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้
ได้มาซึ่งคำาตอบหรือผลงาน ซึ่งมีความสมบูรณ์ในตัว โดยนักเรียนเป็น
ผู้วางแผนการศึกษาค้นคว้า ดำาเนินการด้วยตนเองเพื่อให้นักเรียนเกิด
การเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็นเพียงผู้
 ให้คำาปรึกษาเท่านั้น
                   เปรี่อง กิจรัตนี ให้ความหมายว่า โครงงานเป็น
กิจกรรมของนักเรียนเองที่อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ต้องมี
การวางแผนการปฏิบัติอย่างชัดเจน ในการทำากิจกรรมโครงงานนั้นก็
ความหมายของโครงงาน
คำาว่าโครงงานมีนักเรียนการศึกษาได้ให้ความหมายไว้มากมาย
ดังนี้
กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความหมายโครงงานว่า เป็นการทำา
กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วย
ตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คำาปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้าง
โครงงาน การวางแผนดำาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติ รวมทั้ง
 ร่วมกำาหนดแนวทางในการวัดผลและการประเมินผล
สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ความหมายโครง
งานว่าเป็นการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัด ตามความ
สามารถของผู้เรียนเอง ภายใต้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้
ได้มาซึ่งคำาตอบหรือผลงาน ซึ่งมีความสมบูรณ์ในตัว โดยนักเรียนเป็น
ผู้วางแผนการศึกษาค้นคว้า ดำาเนินการด้วยตนเองเพื่อให้นักเรียนเกิด
การเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็นเพียงผู้
 ให้คำาปรึกษาเท่านั้น
                   เปรี่อง กิจรัตนี ให้ความหมายว่า โครงงานเป็น
กิจกรรมของนักเรียนเองที่อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ต้องมี
การวางแผนการปฏิบัติอย่างชัดเจน ในการทำากิจกรรมโครงงานนั้นก็
 โครงงานคอมพิวเตอร์
     หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่
ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดย
ใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่
นักเรียนสนใจและคิดจะทำาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่
นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำาโครง
งานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์
ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้
จุดมุ่งหมายสำาคัญของการทำาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับ
ประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือ
ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการ
ศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนา
โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้
นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรม
จริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
     คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้น
โครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของ
เนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็น
ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ
 โครงงานคอมพิวเตอร์
     หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่
ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดย
ใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่
นักเรียนสนใจและคิดจะทำาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่
นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำาโครง
งานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์
ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้
จุดมุ่งหมายสำาคัญของการทำาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับ
ประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือ
ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการ
ศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนา
โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้
นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรม
จริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
     คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้น
โครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของ
เนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็น
ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ
ขั้นตอนการทำาโครงงานคอมพิวเตอร์
          1.   คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
          2.   ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
          3.   จัดทำาเค้าโครงของโครงงาน
          4.   การลงมือทำาโครงงาน
          5.   การเขียนรายงาน
          6. การนำาเสนอและแสดงโครงงาน
ขั้นตอนการทำาโครงงานคอมพิวเตอร์
          1.   คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
          2.   ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
          3.   จัดทำาเค้าโครงของโครงงาน
          4.   การลงมือทำาโครงงาน
          5.   การเขียนรายงาน
          6. การนำาเสนอและแสดงโครงงาน
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 
          โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มัก
จะได้มาจากปัญหา คำาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่ง
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนำามา
 พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้
          1.   การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ
          2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
          3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวม
ทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับ
 บุคคลอื่นๆ
          4.   กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
          5.   งานอดิเรกของนักเรียน
          6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงาน
คอมพิวเตอร์
ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนำามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควร
พิจารณาองค์ประกอบสำาคัญ ดังนี้
          1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะ
 ศึกษา
          2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุ
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 
          โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มัก
จะได้มาจากปัญหา คำาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่ง
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนำามา
 พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้
          1.   การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ
          2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
          3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวม
ทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับ
 บุคคลอื่นๆ
          4.   กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
          5.   งานอดิเรกของนักเรียน
          6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงาน
คอมพิวเตอร์
ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนำามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควร
พิจารณาองค์ประกอบสำาคัญ ดังนี้
          1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะ
 ศึกษา
          2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 
          การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอ
คำาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำาหนด
ขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่ม
เติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำาเนินการทำาโครง
งานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คำาตอบว่า
          1.   จะทำา อะไร
          2.   ทำาไมต้องทำา
          3.   ต้องการให้เกิดอะไร
          4.   ทำาอย่างไร
          5.   ใช้ทรัพยากรอะไร
          6.   ทำากับใคร
          7.   เสนอผลอย่างไร
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 
          การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอ
คำาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำาหนด
ขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่ม
เติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำาเนินการทำาโครง
งานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คำาตอบว่า
          1.   จะทำา อะไร
          2.   ทำาไมต้องทำา
          3.   ต้องการให้เกิดอะไร
          4.   ทำาอย่างไร
          5.   ใช้ทรัพยากรอะไร
          6.   ทำากับใคร
          7.   เสนอผลอย่างไร
3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน 3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน 
4. การลงมือทำาโครงงาน 
          เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่
ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทำาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้น
ตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้
     4.1  การเตรียมการ
          การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัส
ดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึก
เป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สำาหรับบันทึกการทำากิจกรรมต่างๆ
ระหว่างทำาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไข
ได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
     4.2  การลงมือพัฒนา
          1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลง
 หรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทำาให้ผลงานดีขึ้น
          2. จัดระบบการทำางานโดยทำาส่วนที่เป็นหลักสำาคัญๆ ให้แล้วเสร็จ
ก่อน จึงค่อยทำา ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความ
สมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทำา ให้ตกลงรายละเอียดในการต่อ
 เชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
          3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูล
 ไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
4. การลงมือทำาโครงงาน 
          เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่
ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทำาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้น
ตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้
     4.1  การเตรียมการ
          การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัส
ดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึก
เป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สำาหรับบันทึกการทำากิจกรรมต่างๆ
ระหว่างทำาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไข
ได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
     4.2  การลงมือพัฒนา
          1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลง
 หรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทำาให้ผลงานดีขึ้น
          2. จัดระบบการทำางานโดยทำาส่วนที่เป็นหลักสำาคัญๆ ให้แล้วเสร็จ
ก่อน จึงค่อยทำา ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความ
สมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทำา ให้ตกลงรายละเอียดในการต่อ
 เชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
          3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูล
 ไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
 4.3  การทดสอบผลงานและแก้ไข
          การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจำาเป็น
เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทำางานได้ถูกต้องตรงกับความ
 ต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทำาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
     4.4  การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
          เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทำาสรุปด้วย
ข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึง
สิ่งที่ค้นพบจากการทำาโครงงาน และทำาการอภิปรายผลด้วย เพื่อ
พิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนำา ไปหาความสัมพันธ์กับหลัก
การ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนำา
หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่
ได้ด้วย
     4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอ
 แนะ
          เมื่อทำาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อ
สังเกต ประเด็นที่สำาคัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะ
  และสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
 4.3  การทดสอบผลงานและแก้ไข
          การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจำาเป็น
เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทำางานได้ถูกต้องตรงกับความ
 ต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทำาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
     4.4  การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
          เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทำาสรุปด้วย
ข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึง
สิ่งที่ค้นพบจากการทำาโครงงาน และทำาการอภิปรายผลด้วย เพื่อ
พิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนำา ไปหาความสัมพันธ์กับหลัก
การ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนำา
หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่
ได้ด้วย
     4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอ
 แนะ
          เมื่อทำาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อ
สังเกต ประเด็นที่สำาคัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะ
  และสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
5. การเขียนรายงาน 
          การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
แนวคิด วิธีดำาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอ
แนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่
อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้
     5.1 ส่วนนำา 
            ส่วนนำา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
          1.   ชื่อโครงงาน
          2.   ชื่อผู้ทำาโครงงาน
          3.   ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
          4. คำาขอบคุณ เป็นคำากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มี
 ส่วนช่วยทำาให้โครงงานสำาเร็จ
          5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสำาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดำาเนิน
การ และผลที่ได้โดยย่อ
     5.2  บทนำา
          บทนำาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบ
 ด้วย
          1.   ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน
          2.   เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
5. การเขียนรายงาน 
          การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
แนวคิด วิธีดำาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอ
แนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่
อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้
     5.1 ส่วนนำา 
            ส่วนนำา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
          1.   ชื่อโครงงาน
          2.   ชื่อผู้ทำาโครงงาน
          3.   ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
          4. คำาขอบคุณ เป็นคำากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มี
 ส่วนช่วยทำาให้โครงงานสำาเร็จ
          5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสำาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดำาเนิน
การ และผลที่ได้โดยย่อ
     5.2  บทนำา
          บทนำาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบ
 ด้วย
          1.   ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน
          2.   เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
5.3   หลักการและทฤษฎี
          หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหา
ข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนำามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่ง
รวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนำามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติม
 ด้วย
     5.4  วิธีดำาเนินการ
          วิธีดำาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดำาเนินงานโดยละเอียด พร้อม
ทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุ
  อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทำางาน
     5.5  ผลการศึกษา
          ผลการศึกษา นำาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดง
เป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คำานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่าน
  เป็นหลัก
     5.6  สรุปผลและข้อเสนอแนะ
          สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทำา งาน ถ้า
มีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่
ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนำา ผลการทดลองหรือ
พัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทำาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สำาคัญ
หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทำา โครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอ
แนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทำานองนี้ต่อไปใน
  อนาคตด้วย
5.3   หลักการและทฤษฎี
          หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหา
ข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนำามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่ง
รวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนำามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติม
 ด้วย
     5.4  วิธีดำาเนินการ
          วิธีดำาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดำาเนินงานโดยละเอียด พร้อม
ทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุ
  อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทำางาน
     5.5  ผลการศึกษา
          ผลการศึกษา นำาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดง
เป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คำานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่าน
  เป็นหลัก
     5.6  สรุปผลและข้อเสนอแนะ
          สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทำา งาน ถ้า
มีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่
ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนำา ผลการทดลองหรือ
พัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทำาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สำาคัญ
หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทำา โครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอ
แนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทำานองนี้ต่อไปใน
  อนาคตด้วย
  5.7 ประโยชน์ 
          ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับ
จากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนำาผลงาน
  ของโครงงานไปใช้ด้วย
     5.8  บรรณานุกรม
          บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บ
ไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทำา โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและราย
ละเอียดต่างๆ ที่นำามาใช้ประโยชน์ในการทำา โครงงานนี้การเขียนเอกสาร
  บรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย
     5.9  การจัดทำาคู่มือการใช้งาน
          หาโครงงานที่นักเรียนจัดทำา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้
 นักเรียนจัดทำาคู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
          1.   ชื่อผลงาน
          2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของ
 คอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้
          3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมี
 อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทำางานได้อย่างสมบูรณ์
          4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทำา หน้าที่อะไร
 บ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก
          5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคำาสั่งใด
   หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทำางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ
  5.7 ประโยชน์ 
          ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับ
จากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนำาผลงาน
  ของโครงงานไปใช้ด้วย
     5.8  บรรณานุกรม
          บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บ
ไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทำา โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและราย
ละเอียดต่างๆ ที่นำามาใช้ประโยชน์ในการทำา โครงงานนี้การเขียนเอกสาร
  บรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย
     5.9  การจัดทำาคู่มือการใช้งาน
          หาโครงงานที่นักเรียนจัดทำา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้
 นักเรียนจัดทำาคู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
          1.   ชื่อผลงาน
          2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของ
 คอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้
          3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมี
 อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทำางานได้อย่างสมบูรณ์
          4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทำา หน้าที่อะไร
 บ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก
          5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคำาสั่งใด
   หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทำางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ
6. การนำาเสนอและแสดงโครงงาน 
          การนำาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สำาคัญอีกขั้น
ตอนหนึ่งของการทำาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความ
พยายามในการทำางานที่ผู้ทำาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทำาให้ผู้อื่นได้รับรู้
และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทำาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน
เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคำาพูดในที่
ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคำาพูด เป็นต้น โดยผล
 งานที่นำามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
          1.   ชื่อโครงงาน
          2.   ชื่อผู้จัดทำาโครงงาน
          3.   ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
          4.   คำาอธิบายถึงที่มาและความสำาคัญของโครงงาน
          5.   วิธีการดำาเนินการที่สำาคัญ
          6. การสาธิตผลงาน
          7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสำาคัญที่ได้จากการทำาโครงงาน
6. การนำาเสนอและแสดงโครงงาน 
          การนำาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สำาคัญอีกขั้น
ตอนหนึ่งของการทำาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความ
พยายามในการทำางานที่ผู้ทำาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทำาให้ผู้อื่นได้รับรู้
และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทำาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน
เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคำาพูดในที่
ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคำาพูด เป็นต้น โดยผล
 งานที่นำามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
          1.   ชื่อโครงงาน
          2.   ชื่อผู้จัดทำาโครงงาน
          3.   ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
          4.   คำาอธิบายถึงที่มาและความสำาคัญของโครงงาน
          5.   วิธีการดำาเนินการที่สำาคัญ
          6. การสาธิตผลงาน
          7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสำาคัญที่ได้จากการทำาโครงงาน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Taweep Saechin
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์Mook Sunita
 

Mais procurados (7)

Presentation 3 11,37 612
Presentation 3  11,37 612Presentation 3  11,37 612
Presentation 3 11,37 612
 
ใบงาน 2
ใบงาน 2ใบงาน 2
ใบงาน 2
 
อะไรก็ได้
อะไรก็ได้อะไรก็ได้
อะไรก็ได้
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 

Destaque

Prosesadores de palabras
Prosesadores de palabrasProsesadores de palabras
Prosesadores de palabrasEduardo David
 
Bus Stop Infrastrucutre Products 2015 v1
Bus Stop Infrastrucutre Products 2015 v1Bus Stop Infrastrucutre Products 2015 v1
Bus Stop Infrastrucutre Products 2015 v1Neil Szegota
 
Cape Cod Web Technology Meetup - 3
Cape Cod Web Technology Meetup - 3Cape Cod Web Technology Meetup - 3
Cape Cod Web Technology Meetup - 3Asher Martin
 
PCF_Soln_Brief-New
PCF_Soln_Brief-NewPCF_Soln_Brief-New
PCF_Soln_Brief-Newkarunbakshi
 
ΚΙΤΟU ANNA CV-EN
ΚΙΤΟU ANNA CV-ENΚΙΤΟU ANNA CV-EN
ΚΙΤΟU ANNA CV-ENANNA KITOU
 
Introduction to-programming
Introduction to-programmingIntroduction to-programming
Introduction to-programmingMark'k Stk
 
2015-05-20 openmdm-architecture
2015-05-20 openmdm-architecture2015-05-20 openmdm-architecture
2015-05-20 openmdm-architectureAndreas Benzing
 
Presentasi Sistem Profitbomber
Presentasi Sistem ProfitbomberPresentasi Sistem Profitbomber
Presentasi Sistem Profitbomberprofitbomber
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Mark'k Stk
 
Avrora smart road
Avrora smart roadAvrora smart road
Avrora smart roadTatjana1989
 
How To Get Your Employees On Your Team
How To Get Your Employees On Your TeamHow To Get Your Employees On Your Team
How To Get Your Employees On Your TeamIrv Holmes
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์Mark'k Stk
 
M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)Mark'k Stk
 
Honza dmitrijev-prezentace fashiontech (2)
Honza dmitrijev-prezentace fashiontech (2)Honza dmitrijev-prezentace fashiontech (2)
Honza dmitrijev-prezentace fashiontech (2)fashiontechcz
 
Top Management Techniques
Top Management TechniquesTop Management Techniques
Top Management TechniquesIrv Holmes
 

Destaque (20)

Prosesadores de palabras
Prosesadores de palabrasProsesadores de palabras
Prosesadores de palabras
 
Bus Stop Infrastrucutre Products 2015 v1
Bus Stop Infrastrucutre Products 2015 v1Bus Stop Infrastrucutre Products 2015 v1
Bus Stop Infrastrucutre Products 2015 v1
 
Cape Cod Web Technology Meetup - 3
Cape Cod Web Technology Meetup - 3Cape Cod Web Technology Meetup - 3
Cape Cod Web Technology Meetup - 3
 
PCF_Soln_Brief-New
PCF_Soln_Brief-NewPCF_Soln_Brief-New
PCF_Soln_Brief-New
 
ΚΙΤΟU ANNA CV-EN
ΚΙΤΟU ANNA CV-ENΚΙΤΟU ANNA CV-EN
ΚΙΤΟU ANNA CV-EN
 
Introduction to-programming
Introduction to-programmingIntroduction to-programming
Introduction to-programming
 
Mani Resume
Mani ResumeMani Resume
Mani Resume
 
2015-05-20 openmdm-architecture
2015-05-20 openmdm-architecture2015-05-20 openmdm-architecture
2015-05-20 openmdm-architecture
 
Presentasi Sistem Profitbomber
Presentasi Sistem ProfitbomberPresentasi Sistem Profitbomber
Presentasi Sistem Profitbomber
 
RESUME UPDATED 2015
RESUME UPDATED 2015RESUME UPDATED 2015
RESUME UPDATED 2015
 
2015-sdms-annual-report
2015-sdms-annual-report2015-sdms-annual-report
2015-sdms-annual-report
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Avrora smart road
Avrora smart roadAvrora smart road
Avrora smart road
 
How To Get Your Employees On Your Team
How To Get Your Employees On Your TeamHow To Get Your Employees On Your Team
How To Get Your Employees On Your Team
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
Training Certificates
Training CertificatesTraining Certificates
Training Certificates
 
M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)
 
Resume Feb 2016
Resume Feb 2016Resume Feb 2016
Resume Feb 2016
 
Honza dmitrijev-prezentace fashiontech (2)
Honza dmitrijev-prezentace fashiontech (2)Honza dmitrijev-prezentace fashiontech (2)
Honza dmitrijev-prezentace fashiontech (2)
 
Top Management Techniques
Top Management TechniquesTop Management Techniques
Top Management Techniques
 

Semelhante a โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์cham45314
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมJid Supharada
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมChorpaka Sarawat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมAratchaporn Julla
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานhuntertoy
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานhuntertoy
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4juice1414
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์nutty_npk
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2melody_fai
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectKnots Sasin
 

Semelhante a โครงงานคอมพิวเตอร์ (1) (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงาน
 
K2
K2K2
K2
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงาน
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Project
ProjectProject
Project
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
02
0202
02
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 

Mais de Mark'k Stk

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานMark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Mark'k Stk
 
M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24Mark'k Stk
 
เว็บไซต์เพื่อการศึกษา
เว็บไซต์เพื่อการศึกษาเว็บไซต์เพื่อการศึกษา
เว็บไซต์เพื่อการศึกษาMark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Mark'k Stk
 
ใบงานที่4 53 -13
ใบงานที่4 53 -13ใบงานที่4 53 -13
ใบงานที่4 53 -13Mark'k Stk
 
ใบงานที่4 53 -13
ใบงานที่4 53 -13ใบงานที่4 53 -13
ใบงานที่4 53 -13Mark'k Stk
 
ใบงานที่4 53-13
ใบงานที่4 53-13ใบงานที่4 53-13
ใบงานที่4 53-13Mark'k Stk
 
ใบงานที่4 53-13
ใบงานที่4 53-13ใบงานที่4 53-13
ใบงานที่4 53-13Mark'k Stk
 

Mais de Mark'k Stk (13)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24
 
เว็บไซต์เพื่อการศึกษา
เว็บไซต์เพื่อการศึกษาเว็บไซต์เพื่อการศึกษา
เว็บไซต์เพื่อการศึกษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่4 53 -13
ใบงานที่4 53 -13ใบงานที่4 53 -13
ใบงานที่4 53 -13
 
ใบงานที่4 53 -13
ใบงานที่4 53 -13ใบงานที่4 53 -13
ใบงานที่4 53 -13
 
ใบงานที่4 53-13
ใบงานที่4 53-13ใบงานที่4 53-13
ใบงานที่4 53-13
 
ใบงานที่4 53-13
ใบงานที่4 53-13ใบงานที่4 53-13
ใบงานที่4 53-13
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อ: นายสาทรกิจ เจริญวงศ์ ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 13 ชื่อ: นายรัชชานนท์ ดีหอมศิล ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 24 ชื่อ: นายสาทรกิจ เจริญวงศ์ ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 13 ชื่อ: นายรัชชานนท์ ดีหอมศิล ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 24
  • 2. ความหมายของโครงงาน คำาว่าโครงงานมีนักเรียนการศึกษาได้ให้ความหมายไว้มากมาย ดังนี้ กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความหมายโครงงานว่า เป็นการทำา กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วย ตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คำาปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้าง โครงงาน การวางแผนดำาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติ รวมทั้ง  ร่วมกำาหนดแนวทางในการวัดผลและการประเมินผล สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ความหมายโครง งานว่าเป็นการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัด ตามความ สามารถของผู้เรียนเอง ภายใต้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ ได้มาซึ่งคำาตอบหรือผลงาน ซึ่งมีความสมบูรณ์ในตัว โดยนักเรียนเป็น ผู้วางแผนการศึกษาค้นคว้า ดำาเนินการด้วยตนเองเพื่อให้นักเรียนเกิด การเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็นเพียงผู้  ให้คำาปรึกษาเท่านั้น                    เปรี่อง กิจรัตนี ให้ความหมายว่า โครงงานเป็น กิจกรรมของนักเรียนเองที่อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ต้องมี การวางแผนการปฏิบัติอย่างชัดเจน ในการทำากิจกรรมโครงงานนั้นก็ ความหมายของโครงงาน คำาว่าโครงงานมีนักเรียนการศึกษาได้ให้ความหมายไว้มากมาย ดังนี้ กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความหมายโครงงานว่า เป็นการทำา กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วย ตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คำาปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้าง โครงงาน การวางแผนดำาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติ รวมทั้ง  ร่วมกำาหนดแนวทางในการวัดผลและการประเมินผล สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ความหมายโครง งานว่าเป็นการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัด ตามความ สามารถของผู้เรียนเอง ภายใต้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ ได้มาซึ่งคำาตอบหรือผลงาน ซึ่งมีความสมบูรณ์ในตัว โดยนักเรียนเป็น ผู้วางแผนการศึกษาค้นคว้า ดำาเนินการด้วยตนเองเพื่อให้นักเรียนเกิด การเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็นเพียงผู้  ให้คำาปรึกษาเท่านั้น                    เปรี่อง กิจรัตนี ให้ความหมายว่า โครงงานเป็น กิจกรรมของนักเรียนเองที่อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ต้องมี การวางแผนการปฏิบัติอย่างชัดเจน ในการทำากิจกรรมโครงงานนั้นก็
  • 3.  โครงงานคอมพิวเตอร์      หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดย ใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่ นักเรียนสนใจและคิดจะทำาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่ นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำาโครง งานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำาคัญของการทำาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับ ประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือ ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการ ศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนา โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้ นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรม จริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์      คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้น โครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของ เนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็น ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ  โครงงานคอมพิวเตอร์      หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดย ใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่ นักเรียนสนใจและคิดจะทำาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่ นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำาโครง งานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำาคัญของการทำาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับ ประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือ ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการ ศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนา โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้ นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรม จริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์      คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้น โครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของ เนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็น ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ
  • 4. ขั้นตอนการทำาโครงงานคอมพิวเตอร์           1.   คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ           2.   ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล           3.   จัดทำาเค้าโครงของโครงงาน           4.   การลงมือทำาโครงงาน           5.   การเขียนรายงาน           6. การนำาเสนอและแสดงโครงงาน ขั้นตอนการทำาโครงงานคอมพิวเตอร์           1.   คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ           2.   ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล           3.   จัดทำาเค้าโครงของโครงงาน           4.   การลงมือทำาโครงงาน           5.   การเขียนรายงาน           6. การนำาเสนอและแสดงโครงงาน
  • 5. 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ            โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มัก จะได้มาจากปัญหา คำาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่ง ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนำามา  พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้           1.   การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ           2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ           3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวม ทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับ  บุคคลอื่นๆ           4.   กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน           5.   งานอดิเรกของนักเรียน           6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงาน คอมพิวเตอร์ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนำามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควร พิจารณาองค์ประกอบสำาคัญ ดังนี้           1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะ  ศึกษา           2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ            โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มัก จะได้มาจากปัญหา คำาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่ง ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนำามา  พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้           1.   การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ           2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ           3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวม ทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับ  บุคคลอื่นๆ           4.   กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน           5.   งานอดิเรกของนักเรียน           6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงาน คอมพิวเตอร์ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนำามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควร พิจารณาองค์ประกอบสำาคัญ ดังนี้           1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะ  ศึกษา           2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุ
  • 6. 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล            การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอ คำาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำาหนด ขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่ม เติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำาเนินการทำาโครง งานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คำาตอบว่า           1.   จะทำา อะไร           2.   ทำาไมต้องทำา           3.   ต้องการให้เกิดอะไร           4.   ทำาอย่างไร           5.   ใช้ทรัพยากรอะไร           6.   ทำากับใคร           7.   เสนอผลอย่างไร 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล            การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอ คำาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำาหนด ขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่ม เติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำาเนินการทำาโครง งานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คำาตอบว่า           1.   จะทำา อะไร           2.   ทำาไมต้องทำา           3.   ต้องการให้เกิดอะไร           4.   ทำาอย่างไร           5.   ใช้ทรัพยากรอะไร           6.   ทำากับใคร           7.   เสนอผลอย่างไร
  • 8. 4. การลงมือทำาโครงงาน            เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทำาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้น ตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้      4.1  การเตรียมการ           การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัส ดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึก เป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สำาหรับบันทึกการทำากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทำาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไข ได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ      4.2  การลงมือพัฒนา           1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลง  หรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทำาให้ผลงานดีขึ้น           2. จัดระบบการทำางานโดยทำาส่วนที่เป็นหลักสำาคัญๆ ให้แล้วเสร็จ ก่อน จึงค่อยทำา ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความ สมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทำา ให้ตกลงรายละเอียดในการต่อ  เชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย           3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูล  ไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน 4. การลงมือทำาโครงงาน            เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทำาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้น ตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้      4.1  การเตรียมการ           การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัส ดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึก เป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สำาหรับบันทึกการทำากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทำาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไข ได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ      4.2  การลงมือพัฒนา           1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลง  หรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทำาให้ผลงานดีขึ้น           2. จัดระบบการทำางานโดยทำาส่วนที่เป็นหลักสำาคัญๆ ให้แล้วเสร็จ ก่อน จึงค่อยทำา ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความ สมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทำา ให้ตกลงรายละเอียดในการต่อ  เชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย           3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูล  ไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
  • 9.  4.3  การทดสอบผลงานและแก้ไข           การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจำาเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทำางานได้ถูกต้องตรงกับความ  ต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทำาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย      4.4  การอภิปรายและข้อเสนอแนะ           เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทำาสรุปด้วย ข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึง สิ่งที่ค้นพบจากการทำาโครงงาน และทำาการอภิปรายผลด้วย เพื่อ พิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนำา ไปหาความสัมพันธ์กับหลัก การ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนำา หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ ได้ด้วย      4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอ  แนะ           เมื่อทำาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อ สังเกต ประเด็นที่สำาคัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะ   และสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้  4.3  การทดสอบผลงานและแก้ไข           การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจำาเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทำางานได้ถูกต้องตรงกับความ  ต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทำาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย      4.4  การอภิปรายและข้อเสนอแนะ           เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทำาสรุปด้วย ข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึง สิ่งที่ค้นพบจากการทำาโครงงาน และทำาการอภิปรายผลด้วย เพื่อ พิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนำา ไปหาความสัมพันธ์กับหลัก การ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนำา หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ ได้ด้วย      4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอ  แนะ           เมื่อทำาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อ สังเกต ประเด็นที่สำาคัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะ   และสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
  • 10. 5. การเขียนรายงาน            การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจ แนวคิด วิธีดำาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอ แนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่ อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้      5.1 ส่วนนำา              ส่วนนำา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย           1.   ชื่อโครงงาน           2.   ชื่อผู้ทำาโครงงาน           3.   ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา           4. คำาขอบคุณ เป็นคำากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มี  ส่วนช่วยทำาให้โครงงานสำาเร็จ           5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสำาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดำาเนิน การ และผลที่ได้โดยย่อ      5.2  บทนำา           บทนำาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบ  ด้วย           1.   ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน           2.   เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า 5. การเขียนรายงาน            การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจ แนวคิด วิธีดำาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอ แนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่ อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้      5.1 ส่วนนำา              ส่วนนำา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย           1.   ชื่อโครงงาน           2.   ชื่อผู้ทำาโครงงาน           3.   ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา           4. คำาขอบคุณ เป็นคำากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มี  ส่วนช่วยทำาให้โครงงานสำาเร็จ           5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสำาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดำาเนิน การ และผลที่ได้โดยย่อ      5.2  บทนำา           บทนำาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบ  ด้วย           1.   ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน           2.   เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
  • 11. 5.3   หลักการและทฤษฎี           หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหา ข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนำามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่ง รวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนำามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติม  ด้วย      5.4  วิธีดำาเนินการ           วิธีดำาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดำาเนินงานโดยละเอียด พร้อม ทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุ   อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทำางาน      5.5  ผลการศึกษา           ผลการศึกษา นำาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดง เป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คำานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่าน   เป็นหลัก      5.6  สรุปผลและข้อเสนอแนะ           สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทำา งาน ถ้า มีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนำา ผลการทดลองหรือ พัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทำาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สำาคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทำา โครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอ แนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทำานองนี้ต่อไปใน   อนาคตด้วย 5.3   หลักการและทฤษฎี           หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหา ข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนำามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่ง รวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนำามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติม  ด้วย      5.4  วิธีดำาเนินการ           วิธีดำาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดำาเนินงานโดยละเอียด พร้อม ทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุ   อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทำางาน      5.5  ผลการศึกษา           ผลการศึกษา นำาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดง เป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คำานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่าน   เป็นหลัก      5.6  สรุปผลและข้อเสนอแนะ           สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทำา งาน ถ้า มีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนำา ผลการทดลองหรือ พัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทำาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สำาคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทำา โครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอ แนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทำานองนี้ต่อไปใน   อนาคตด้วย
  • 12.   5.7 ประโยชน์            ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับ จากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนำาผลงาน   ของโครงงานไปใช้ด้วย      5.8  บรรณานุกรม           บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บ ไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทำา โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและราย ละเอียดต่างๆ ที่นำามาใช้ประโยชน์ในการทำา โครงงานนี้การเขียนเอกสาร   บรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย      5.9  การจัดทำาคู่มือการใช้งาน           หาโครงงานที่นักเรียนจัดทำา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้  นักเรียนจัดทำาคู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย           1.   ชื่อผลงาน           2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของ  คอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้           3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมี  อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทำางานได้อย่างสมบูรณ์           4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทำา หน้าที่อะไร  บ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก           5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคำาสั่งใด    หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทำางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ   5.7 ประโยชน์            ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับ จากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนำาผลงาน   ของโครงงานไปใช้ด้วย      5.8  บรรณานุกรม           บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บ ไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทำา โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและราย ละเอียดต่างๆ ที่นำามาใช้ประโยชน์ในการทำา โครงงานนี้การเขียนเอกสาร   บรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย      5.9  การจัดทำาคู่มือการใช้งาน           หาโครงงานที่นักเรียนจัดทำา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้  นักเรียนจัดทำาคู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย           1.   ชื่อผลงาน           2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของ  คอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้           3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมี  อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทำางานได้อย่างสมบูรณ์           4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทำา หน้าที่อะไร  บ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก           5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคำาสั่งใด    หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทำางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ
  • 13. 6. การนำาเสนอและแสดงโครงงาน            การนำาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สำาคัญอีกขั้น ตอนหนึ่งของการทำาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความ พยายามในการทำางานที่ผู้ทำาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทำาให้ผู้อื่นได้รับรู้ และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทำาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคำาพูดในที่ ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคำาพูด เป็นต้น โดยผล  งานที่นำามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้           1.   ชื่อโครงงาน           2.   ชื่อผู้จัดทำาโครงงาน           3.   ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา           4.   คำาอธิบายถึงที่มาและความสำาคัญของโครงงาน           5.   วิธีการดำาเนินการที่สำาคัญ           6. การสาธิตผลงาน           7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสำาคัญที่ได้จากการทำาโครงงาน 6. การนำาเสนอและแสดงโครงงาน            การนำาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สำาคัญอีกขั้น ตอนหนึ่งของการทำาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความ พยายามในการทำางานที่ผู้ทำาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทำาให้ผู้อื่นได้รับรู้ และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทำาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคำาพูดในที่ ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคำาพูด เป็นต้น โดยผล  งานที่นำามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้           1.   ชื่อโครงงาน           2.   ชื่อผู้จัดทำาโครงงาน           3.   ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา           4.   คำาอธิบายถึงที่มาและความสำาคัญของโครงงาน           5.   วิธีการดำาเนินการที่สำาคัญ           6. การสาธิตผลงาน           7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสำาคัญที่ได้จากการทำาโครงงาน