SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล โดย นางสาวนันธิกา  ปิ่นทอง ม.6/2 โรงเรียนสวีวิทยา
                1.ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย           (Network Datdbase)     โครงสร้างของฐานข้อมูลแบบเครือข่ายประกอบด้วยประเภทของเรคคอร์ด และกลุ่มของข้อมูลของเรคคอร์ดนั้น การจัดข้อมูลอยู่ในความสัมพันธ์แบบพาเรนต์ไชล์ แต่ละสมาชิกสามารถมีความสัมพันธ์กันได้มากกว่าหนึ่ง นั่นคือสามารถมีความสัมพันธ์ของข้อมูลในแบบ N : M ตัวอย่าง กลุ่มข้อมูลที่เกี่ยวกับเรื่องวิชาโปรแกรมวิชาเอก จะประกอบด้วยข้อมูลจากเรคคอร์ดหลัก 1 ข้อมูล และข้อมูลของเรคคอร์ดที่เป็นสมาชิก จะเห็นว่าเรคคอร์ดหลัก คือ โปรแกรมวิชา จะมีข้อมูลของเรคคอร์ดที่เป็นสมาชิกคือนักศึกษา ที่เรียนในแต่ละโปรแกรมวิชา จะมีข้อมูลของเรคคอร์ดที่เป็นสมาชิกคือนักศึกษาที่เรียนในแต่ละโปรแกรม
           2.  ูฐานข้อมูลแบบเชิงลำดับขั้น (Hierarchical Database)      ฐานข้อมูลแบบเชิงลำดับขั้น เป็นโครงสร้างข้อมูลที่จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ - แม่ - ลูก (Parent Child Relationship Tape : PCR Type ภาพประกอบที่ 22 โครงสร้างฐานข้อมูลแบบเชิงลำดับขั้น(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 133)  จากภาพประกอบโครงสร้างของฐานข้อมูลเชิงลำดับขั้นประกอบด้วย ประเภทของเรคคอร์ดและมีความสัมพันธ์กัน ดังนี้    1. ประกอบด้วยเรคคอร์ด 4 ประเภท คือ ชื่อนักศึกษา ชมรม คณะ โปรแกรมวิชา    2. ประกอบด้วยความสัมพันธ์แบบ PCR 3 ประเภท คือ ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับชมรมและความสัมพันธ์ของนักศึกษากับคณะวิชา และความสัมพันธ์ของคณะวิชากับโปรแกรมวิชา โดยมีนักศึกษาและคณะเป็นเรคคอร์ดประเภทพ่อ - แม่ (Parent Record Type) และมีชมรมและโปรแกรมวิชาเป็นเรคคอร์ดประเภทลูก (ChildRecord Type)
3.ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)       ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ฐานข้อมูลแบบนี้แสดง การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของตาราง ที่มีลักษณะเป็นสองมิติ คือ แถว (Row) และคอลัมน์ (Column) ซึ่งในการเชื่อมโยงกันระหว่างข้อมูลในตาราง 2 ตาราง หรือมากกว่า จะเชื่อมโยงโดยใช้แอททริบิวต์ที่มีอยู่ในตารางที่ต้องการเชื่อมโยงข้อมูลกัน โดยที่แอททริบิวต์จะแสดงคุณสมบัติของรีเลชั่นต่าง ๆ ซึ่งรีเลชั่นต่าง ๆ ได้ผ่านกระบวนการทำรีเลชั่นให้เป็นบรรทัดฐาน (Normalized) ในระหว่าง การออกแบบเพื่อละความซ้ำซ้อน เพื่อให้การจัดการฐานข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่าง เป็นตารางรายชื่อนักศึกษาและตารางโปรแกรมวิชา ถ้าต้องการทราบว่านักศึกษารหัส 441031138 เป็นนักศึกษาของโปรแกรมวิชาใด ก็ต้องนำรหัสโปรแกรมวิชาในตารางนักศึกษาไปตรวจสอบกับตารางโปรแกรมวิชา ซึ่งมีรหัสของโปรแกรมวิชาซึ่งเรียกว่าเป็นดรรชนี และดึงข้อมูลออกมา
        ฉะนั้นสามารถสรุปโครงสร้างข้อมูลหลักที่สำคัญๆ ของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บข้อมูลและการค้นหาในฐานข้อมูล ดังนี้ 1. ตารางเรคคอร์ดและฟิลด์ ข้อมูลต่างๆ ในฐานข้อมูลจะถูกจัดเก็บและนำเสนอในรูปแบบของตาราง โดยในตารางหนึ่งๆ จะจัดเก็บรวบรวมข้อมูลประเภทเดียวกันเข้าไว้ด้วยกัน ในแต่ละแถวและคอลัมน์ ซึ่งในศัพท์ของฐานข้อมูลจะเรียกฟิลด์ ในแต่ละแถวของตารางก็ คือ ข้อมูลหนึ่งชุดหรือข้อมูล 1 เรคคอร์ดในแต่ละแถวหรือเรคคอร์ดจะประกอบด้วยฟิลด์หรือคอลัมน์ที่เป็นส่วนย่อยที่แสดงแอททริบิวต์ของข้อมูลในแต่ละเรคคอร์ด 2. ดรรชนี ถ้าตารางข้อมูลมีนักศึกษาเก็บอยู่จำนวนมากการที่จะค้นหาข้อมูลที่ต้องการของนักศึกษาคนใดคนหนึ่งจะต้องเสียเวลาอย่างมาก เพราะจะต้องทำการค้นทีละเรคคอร์ด ในตารางไปจนกว่าจะครบ ข้อมูลของนักศึกษาที่ต้องการ เพื่อช่วยให้การค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้รวดเร็วขึ้นฐานข้อมูลทั่วไปจึงมีโครงสร้างอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า ดรรชนีเพื่อสนับสนุนการค้นหาให้รวดเร็วขึ้น โดยปกติแล้วในแต่ละตารางจะมีฟิลด์หรือหลายฟิลด์ประกอบกันที่จะสามารถบอกถึงความแตกต่างของข้อมูลในแต่ละแถวได้ ฟิลด์หรือคอลัมน์ดังกล่าวเรียกว่าเป็นดรรชนีหลัก ของตาราง 3. ความสัมพันธ์ของตารางฐาน ข้อมูลแบบตารางสัมพันธ์ส่วนใหญ่แล้ว จะประกอบไปด้วยตารางข้อมูลต่างๆ หลายตาราง แต่ละตารางจะมีความสัมพันธ์กันในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารKhunakon Thanatee
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีKhunakon Thanatee
 
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Khunakon Thanatee
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2Budsaya Chairat
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9mayyanin
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9mayyanin
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Rijin7
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายNote Narudaj
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตและการใช้งานRawiporn Suamsiri
 

Mais procurados (19)

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
Com
ComCom
Com
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
โพรโทคอล
โพรโทคอลโพรโทคอล
โพรโทคอล
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
 
อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 

Semelhante a รูปแบบของระบบฐานข้อมูล

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2sunisa3112
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2sunisa3112
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลครูสม ฟาร์มมะนาว
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 

Semelhante a รูปแบบของระบบฐานข้อมูล (20)

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
รายงาน 55555
รายงาน 55555รายงาน 55555
รายงาน 55555
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ287 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
 

Mais de Mareeyalosocity

รูปแบบของฐานข้อมูล
รูปแบบของฐานข้อมูลรูปแบบของฐานข้อมูล
รูปแบบของฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้Mareeyalosocity
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการแสดงความคิดเห็น
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการแสดงความคิดเห็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลและการแสดงความคิดเห็น
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการแสดงความคิดเห็นMareeyalosocity
 
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการแลกเปลี่ยนข้อมูลและการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตMareeyalosocity
 
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตMareeyalosocity
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 

Mais de Mareeyalosocity (12)

รูปแบบของฐานข้อมูล
รูปแบบของฐานข้อมูลรูปแบบของฐานข้อมูล
รูปแบบของฐานข้อมูล
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการแสดงความคิดเห็น
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการแสดงความคิดเห็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลและการแสดงความคิดเห็น
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการแสดงความคิดเห็น
 
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการแลกเปลี่ยนข้อมูลและการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
Mai
MaiMai
Mai
 

รูปแบบของระบบฐานข้อมูล

  • 1. รูปแบบของระบบฐานข้อมูล โดย นางสาวนันธิกา ปิ่นทอง ม.6/2 โรงเรียนสวีวิทยา
  • 2. 1.ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Datdbase)     โครงสร้างของฐานข้อมูลแบบเครือข่ายประกอบด้วยประเภทของเรคคอร์ด และกลุ่มของข้อมูลของเรคคอร์ดนั้น การจัดข้อมูลอยู่ในความสัมพันธ์แบบพาเรนต์ไชล์ แต่ละสมาชิกสามารถมีความสัมพันธ์กันได้มากกว่าหนึ่ง นั่นคือสามารถมีความสัมพันธ์ของข้อมูลในแบบ N : M ตัวอย่าง กลุ่มข้อมูลที่เกี่ยวกับเรื่องวิชาโปรแกรมวิชาเอก จะประกอบด้วยข้อมูลจากเรคคอร์ดหลัก 1 ข้อมูล และข้อมูลของเรคคอร์ดที่เป็นสมาชิก จะเห็นว่าเรคคอร์ดหลัก คือ โปรแกรมวิชา จะมีข้อมูลของเรคคอร์ดที่เป็นสมาชิกคือนักศึกษา ที่เรียนในแต่ละโปรแกรมวิชา จะมีข้อมูลของเรคคอร์ดที่เป็นสมาชิกคือนักศึกษาที่เรียนในแต่ละโปรแกรม
  • 3. 2.  ูฐานข้อมูลแบบเชิงลำดับขั้น (Hierarchical Database)      ฐานข้อมูลแบบเชิงลำดับขั้น เป็นโครงสร้างข้อมูลที่จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ - แม่ - ลูก (Parent Child Relationship Tape : PCR Type ภาพประกอบที่ 22 โครงสร้างฐานข้อมูลแบบเชิงลำดับขั้น(วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. 2542 : 133) จากภาพประกอบโครงสร้างของฐานข้อมูลเชิงลำดับขั้นประกอบด้วย ประเภทของเรคคอร์ดและมีความสัมพันธ์กัน ดังนี้    1. ประกอบด้วยเรคคอร์ด 4 ประเภท คือ ชื่อนักศึกษา ชมรม คณะ โปรแกรมวิชา    2. ประกอบด้วยความสัมพันธ์แบบ PCR 3 ประเภท คือ ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับชมรมและความสัมพันธ์ของนักศึกษากับคณะวิชา และความสัมพันธ์ของคณะวิชากับโปรแกรมวิชา โดยมีนักศึกษาและคณะเป็นเรคคอร์ดประเภทพ่อ - แม่ (Parent Record Type) และมีชมรมและโปรแกรมวิชาเป็นเรคคอร์ดประเภทลูก (ChildRecord Type)
  • 4. 3.ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)      ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ฐานข้อมูลแบบนี้แสดง การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของตาราง ที่มีลักษณะเป็นสองมิติ คือ แถว (Row) และคอลัมน์ (Column) ซึ่งในการเชื่อมโยงกันระหว่างข้อมูลในตาราง 2 ตาราง หรือมากกว่า จะเชื่อมโยงโดยใช้แอททริบิวต์ที่มีอยู่ในตารางที่ต้องการเชื่อมโยงข้อมูลกัน โดยที่แอททริบิวต์จะแสดงคุณสมบัติของรีเลชั่นต่าง ๆ ซึ่งรีเลชั่นต่าง ๆ ได้ผ่านกระบวนการทำรีเลชั่นให้เป็นบรรทัดฐาน (Normalized) ในระหว่าง การออกแบบเพื่อละความซ้ำซ้อน เพื่อให้การจัดการฐานข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่าง เป็นตารางรายชื่อนักศึกษาและตารางโปรแกรมวิชา ถ้าต้องการทราบว่านักศึกษารหัส 441031138 เป็นนักศึกษาของโปรแกรมวิชาใด ก็ต้องนำรหัสโปรแกรมวิชาในตารางนักศึกษาไปตรวจสอบกับตารางโปรแกรมวิชา ซึ่งมีรหัสของโปรแกรมวิชาซึ่งเรียกว่าเป็นดรรชนี และดึงข้อมูลออกมา
  • 5. ฉะนั้นสามารถสรุปโครงสร้างข้อมูลหลักที่สำคัญๆ ของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บข้อมูลและการค้นหาในฐานข้อมูล ดังนี้ 1. ตารางเรคคอร์ดและฟิลด์ ข้อมูลต่างๆ ในฐานข้อมูลจะถูกจัดเก็บและนำเสนอในรูปแบบของตาราง โดยในตารางหนึ่งๆ จะจัดเก็บรวบรวมข้อมูลประเภทเดียวกันเข้าไว้ด้วยกัน ในแต่ละแถวและคอลัมน์ ซึ่งในศัพท์ของฐานข้อมูลจะเรียกฟิลด์ ในแต่ละแถวของตารางก็ คือ ข้อมูลหนึ่งชุดหรือข้อมูล 1 เรคคอร์ดในแต่ละแถวหรือเรคคอร์ดจะประกอบด้วยฟิลด์หรือคอลัมน์ที่เป็นส่วนย่อยที่แสดงแอททริบิวต์ของข้อมูลในแต่ละเรคคอร์ด 2. ดรรชนี ถ้าตารางข้อมูลมีนักศึกษาเก็บอยู่จำนวนมากการที่จะค้นหาข้อมูลที่ต้องการของนักศึกษาคนใดคนหนึ่งจะต้องเสียเวลาอย่างมาก เพราะจะต้องทำการค้นทีละเรคคอร์ด ในตารางไปจนกว่าจะครบ ข้อมูลของนักศึกษาที่ต้องการ เพื่อช่วยให้การค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้รวดเร็วขึ้นฐานข้อมูลทั่วไปจึงมีโครงสร้างอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า ดรรชนีเพื่อสนับสนุนการค้นหาให้รวดเร็วขึ้น โดยปกติแล้วในแต่ละตารางจะมีฟิลด์หรือหลายฟิลด์ประกอบกันที่จะสามารถบอกถึงความแตกต่างของข้อมูลในแต่ละแถวได้ ฟิลด์หรือคอลัมน์ดังกล่าวเรียกว่าเป็นดรรชนีหลัก ของตาราง 3. ความสัมพันธ์ของตารางฐาน ข้อมูลแบบตารางสัมพันธ์ส่วนใหญ่แล้ว จะประกอบไปด้วยตารางข้อมูลต่างๆ หลายตาราง แต่ละตารางจะมีความสัมพันธ์กันในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง