SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
ณ ... มหาวิทยาลัยศิลปากร
เสนอในวิชา มนุษย์กับการสร้างสรรค์  (Man and Creativity) ภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2553 กลุ่ม ห้าสิบเก้า
มหาวิทยาลัยศิลปากร   วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร   วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี  มหาวิทยาลัยศิลปากร   วิทยาเขตวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร
วังท่าพระ พระราชวังสนามจันทร์ สารสนเทศเพชรบุรี  สวนแก้ว สะพานสระแก้ว องค์พระคเณศ สถานที่น่าสนใจในมหาวิทยาลัยศิลปากรในแต่ละวิทยาเขต
มหาวิทยาลัยศิลปากร เดิมคือ  โรงเรียนปราณีตศิลปกรรม  สังกัด กรมศิลปากร ท่านศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี ( เดิมชื่อ  Corrado Feroci)  ชาวอิตาเลียน ซึ่งเดินทางมารับราชการในประเทศไทย ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ร่วมกับคุณพระสาโรช รัชตมินมานก์  ( สาโรช สุขยางค์ )  ท่านทั้งสองได้ก่อตั้งโรงเรียนประณีตศิลปกรรมขึ้นในปีพ . ศ . 2476 ใช้พื้นที่วังกลาง และวังตะวันออก หน้าพระบรมมหาราชวังเป็นที่ตั้งของโรงเรียนแห่งนี้ เปิดสอนให้แก่ข้าราชการและนักเรียนในสมัยนั้นโดยไม่เก็บค่าเล่าเรียน ต่อมาปีพ . ศ . 2478 ได้รวมเอา โรงเรียนนาฏยดุริยางคศาสตร์  ที่ตั้งอยู่วังหน้าไว้ด้วย และเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า “โรงเรียนศิลปากร” ประวัติศิลปากร
ต่อมาเมื่อผู้แทนขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมของสหประชาชาติได้ให้คำแนะนำในการจัดตั้ง สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยให้มีลักษณะสอดคล้องกับหลักการสากล คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาโครงการปรับปรุงมหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อขยายการศึกษาวิชาต่าง ๆ โดยไม่จำกัดเฉพาะศิลปะและโบราณคดีเท่านั้น ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงได้ ดำเนินการจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์ขึ้นเป็นคณะวิชาลำดับที่  5  และเป็นคณะวิชาแรกของวิทยาเขตแห่งใหม่ คือ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ณ จังหวัดนครปฐม โดยเริ่มเปิดสอนนักศึกษารุ่นแรก เมื่อวันพฤหัสบดีที่  20  มิถุนายน พ . ศ . 2511  และคณะอักษรศาสตร์ได้ถือวันดังกล่าวเป็นวันสถาปนาคณะฯ ตลอดมา
รู้รึป่าว !   ที่ตั้งดั้งเดิมของมหาวิทยาลัยคือ “วังท่าพระ” เป็นวังของพระเจ้าหลานเธอ ในรัชกาลที่ ๑ ต่อมาใช้เป็นที่ประทับของพระราชโอรสในรัชกาลต่างๆ ว้าว ... เพิ่งรู้นะเนี่ย ..?  ว่าแต่ก่อนวังท่าพระเป็นของรัชกาลที่ ๑ อะ ! ศิลปากรวิทยาเขตท่าพระจันทร์
อยากรู้จัง !   ทำอะไรกันน๊า ...?... อ๋อ ! คิดออกและ ... นั่งวาดรูปนี่เอง ตรงนี้ก็เป็นอีกมุมๆหนึ่งที่เด็กศิลปากรท่าพระรู้จักกันในชื่อ “สวนแก้ว” เป็นที่ๆเด็กศิลป์ทั้งหลายมานั่งเล่นผ่อนคลายกันอะนะ !
พี่เขาบอกว่า !   กางมุ้งนอนสวนแก้ว ... จริงๆแล้วไม่ได้นอนหรอกมีคนแกล้งเปิดให้ยุงเข้าตลอด ... ตอนพี่เรียนเคยกางเต็นท์นอน ( สมัยนั้นเป็นดิน ) ตอนดึกๆนึกว่าอยู่เขาใหญ่ ... ตื่นมา 8 โมง ออกมา สาวโบราณเดินผ่านกันเพียบ ...
ใครที่เข้ามาในศิลปากร ... ทุกคนต้องรู้จัก ... ! ไม่งั้นแช่งให้ได้   D   เลย .. !  ( ฮ่าๆๆ ) ท่านศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
ผลงานที่สำคัญซึ่งปรากฏเห็นในปัจจุบันมีดังนี้          • พระบรมราชานุสาวรีย์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีขนาด  3  เท่าคนจริง ประดิษฐานที่เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ท่านเป็นช่างปั้น และเดินทางไปควบคุมการหล่อที่ประเทศอิตาลี สร้างเมื่อ พ . ศ . 2472          •  อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา สร้างเมื่อ พ . ศ . 2477          •  รูปปั้นหล่อประกอบอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ  สร้างเมื่อ พ . ศ . 2485          •  พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่สวนลุมพินี สร้างเมื่อ พ . ศ . 2484          •  พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่วงเวียนใหญ่ สร้างเมื่อ พ . ศ . 2493          •  พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จังหวัดสุพรรณบุรี สร้างเมื่อ พ . ศ . 2497            •  รูปปั้นประดับอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน          • พระพุทธรูปพระประธานพุทธมณฑล  25  พุทธศตวรรษ ที่จังหวัดนครปฐม พ . ศ  .2498  ฯลฯ
หอสมุดศิลปากรท่าพระ อนุสาวรีย์ท่านศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
หากเดินทางมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังท่าพระ ประมาณ  54   กิโลเมตรจะมาถึง มหาวิทยาลัยศิลปากร  วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
เมื่อมาถึงมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ หากเข้าประตูใหญ่เข้ามาจะพบกับสระแก้วและสะพานสระแก้ว
สะพานสระแก้ว
สะพานสระแก้วก่อนยังไม่มีเสาไฟ สะพานสระแก้วมีเสาไฟ สะพานสระแก้ว  ..  ยังคงความงดงามไว้ต้อนรับผู้มาเยี่ยมเยือนเสมอ อดีต ปัจจุบัน
มีคนเคยบอกว่าหากอยากได้ใครเป็นแฟนให้ชวนกันไปเดินสะพานสระแก้วจนสุดสะพานไปอีกด้านหนึ่ง ด้วยกันหากไม่อยากเลิกกับแฟนห้ามพาไปเดินสะพานสระแก้วจนสุดสะพาน “ ความเชื่อส่วนบุคคลคบหรือเลิกขึ้นกับตัวเราเอง ”
กิจกรรม ณ สะพานสระแก้ว เป็นแบบวาดและที่ฝึกถ่ายรูปได้โดยไม่มีข้อผูกมัดใดๆ เป็นที่โพสต์ท่าถ่ายรูปในรุ่นของนักศึกษา เป็นที่ที่นักศึกษาเกือบทุกคนต้องเคยเดินข้ามหรือไปนั่งบนสะพาน เป็นจุดชมวิวของวิทยาเขตที่สวยจุดหนึ่งยามค่ำคืน
“ สะพานสระแก้ว ”  สะพานที่ไม่เคยหลับ การได้มองสะพานสระแก้วจากศาลาคณะวิทยาศาสตร์เป็นมุมที่สวยงามมากเพราะเป็นจุดที่สามารถเห็น ทั้งสะพาน  จะมีสระน้ำไหนบ้างที่มีคนมานั่งชิวยามค่ำคืนแบบที่นี่  “ ศิลปากรทับแก้ว ”
.... องค์พระคเณศ สถานที่น่าสนใจ ...
องค์พระคเณศ  ประจำมหาวิทยาลัยศิลปากร ประดิษฐานอยู่ที่วิทยาเขตสารเทศเพชรบุรี ซึ่งมีการจัดสร้างองค์พระคเณศเพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจและเป็นสิริมงคลแก่นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารเทศเพชรบุรี และในปี พ . ศ .  ๒๕๔๙ เป็นปีมหามงคลในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปีทางมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงได้นำโครงการจัดสร้างพระคเณศเข้าเป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสอันเป็นมหามงคล
...“ ท่านอาจารย์ศิลป์ พีระศรี” ... สำหรับเทวลักษณะขององค์พระคเณศ ประจำมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารเทศเพชรบุรี มีพระอิริยาบถประทับนั่ง มี ๔ พระกร ทรงวัชระ ปัถมะ ( ดอกบัว )  ทันตะ  ( งา )  ถ้วยขนมโมทกะซึ่งเป็นรูปหัวกะโหลก ทรงสวมสายสังวาลงูและทรงเครื่องพัสตราภรณ์เรียบง่าย เมื่อมองโดยรวมแล้วจะรู้สึกถึงพระวรกายที่อิ่มเอิบ กลมกลึง โดยประติมากรผู้รับหน้าที่ออกแบบปั้นและหล่อ คือ อาจารย์เศวต เทศน์ธรรม ประติมากรอาวุโส ผู้เป็นหนึ่งในศิษย์คนสำคัญของ
ภาพ องค์พระคเณศขนาดต้นแบบ หน้าตักกว้าง ๙ . ๖๐ นิ้ว   ท่านอาจารย์เศวตได้ปั้น องค์พระคเณศต้นแบบ ให้มีขนาดหน้าตักกว้าง ๙ . ๖๐ นิ้ว โดยมีความหมายสอดคล้องกับตัวเลขอันเป็นมงคล ๒ ประการ คือ  เลข ๙ สื่อถึงรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙  และ เลข ๖๐ สื่อถึงการที่ทรงครองราชย์ครบ ๖๐ ปี ในพ . ศ . ๒๕๔๙ ซึ่งเมื่อขยายแบบเป็นองค์จริงขนาดใหญ่แล้วจะมีหน้าตักกว้าง ๙๖ นิ้ว  ( หรือประมาณ ๒ เมตร ๔๕ เซนติเมตร )
มหาวิทยาลัยศิลปากร  ได้ทำการอัญเชิญรูปหล่อพระคเณศมาประดิษฐาน ณ วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เมื่อวันที่  19  กรกฎาคม  2550  เวลา  09.09  น .  โดยมีรองอธิการเพชรบุรี พร้อมบุคลากรของมหาวิทยาลัยร่วมในพิธีดังกล่าว โดยอัญเชิญมาประดิษฐานชั่วคราว ณ บริเวณสวนประติมากรรม ด้านหน้าอาคาร  OTOP  ซึ่งพระคเณศองค์นี้มีขนาดหน้าตักกว้าง  2.45  เมตร ความสูง  4.20  เมตร
ภาพ การอัญเชิญพระคเณศขึ้นประดิษฐานเป็นการชั่วคราว ณ แท่นที่ประดิษฐาน  ภายในมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
ภาพแบบจำลองเทวาลัยที่ประดิษฐานองค์พระคเณศ ผลงานการออกแบบของศิลปินแห่งชาติ
ภาพปัจจุบันของพระคเณศ ณ แท่นที่ประดิษฐานชั่วคราวภายในมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม ห้าสิบเก้า
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนWiwat Sr.
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)Heritagecivil Kasetsart
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolHeritagecivil Kasetsart
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาnanpun54
 
บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์Mim Papatchaya
 

Mais procurados (7)

ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
 
Ep8
Ep8Ep8
Ep8
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกา
 
บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์
 

Semelhante a ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59

บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์Mim Papatchaya
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์chakaew4524
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1Ning Rommanee
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
117+hisp6+dltv54+550223+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (2)(1หน้า)
117+hisp6+dltv54+550223+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (2)(1หน้า)117+hisp6+dltv54+550223+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (2)(1หน้า)
117+hisp6+dltv54+550223+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (2)(1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครPRINTT
 
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)Prachoom Rangkasikorn
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักPN17
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..PN17
 
วีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1page
วีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1pageวีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1page
วีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1pageวีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4pageวีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1Beebe Benjamast
 

Semelhante a ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59 (20)

บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
Aksorn 2
Aksorn 2Aksorn 2
Aksorn 2
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
117+hisp6+dltv54+550223+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (2)(1หน้า)
117+hisp6+dltv54+550223+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (2)(1หน้า)117+hisp6+dltv54+550223+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (2)(1หน้า)
117+hisp6+dltv54+550223+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (2)(1หน้า)
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
 
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
 
วีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1page
วีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1pageวีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1page
วีรชนชาวบ้านบางระจัน+583+dltvp6+55t2his p05 f14-1page
 
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1pageวีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-1page
 
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4pageวีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4page
วีระชนชาวบ้านบางระจัน ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f14-4page
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1
 

ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59