SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 58
โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
(Drug Rational Use Hospital)
นศภ. ชุติมา ราษรงค์
ผลัด 6 Drug system
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ1
บทนา
Outline
2
ขั้นตอนการดาเนินงาน
กุญแจสาคัญ 6 ประการ
เป้าหมาย
ตัวชี้วัดเพื่อการติดตามและประเมินผล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
“การใช้ยาอย่างสมเหตุผล” (Rational Drug Use)
ได้รับยาที่เหมาะสมกับปัญหาสุขภาพ
ใช้ยาในขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
ระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม
ค่าใช้จ่ายต่อชุมชนและผู้ป่วยน้อยที่สุด
3
คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ 2552
การใช้ยาไม่สมเหตุผล
4
ประสิทธิภาพของการรักษา
ความคลาดเคลื่อนและผลข้างเคียงทางยา
การสูญเสียทางเศรษฐกิจ
“โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล”
(Drug Rational Use Hospital; RDU Hospital)
5
เป้าหมาย
• RDU 1
- โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use; RDU
hospital)
- กิจกรรมการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Resistance;
AMR) ในสถานพยาบาล
• RDU 2
- การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบใน รพ.สต/หน่วยบริการปฐมภูมิ
(Responsible Use of Antibiotic; RUA PCU/CMU)
6
ขั้นตอนการดาเนินงาน
7
ระดับโรงพยาบาล
คณะกรรมการเภสัชกรรมและบาบัดของโรงพยาบาล (PTC) ดาเนินการดังนี้
กาหนดทีมรับผิดชอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยา
อย่างสมเหตุผล
กาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของโรงพยาบาล ให้สอดคล้องกับนโยบายของ
จังหวัด
8
ขั้นตอนการดาเนินงาน(ต่อ)
พัฒนามาตรการและขับเคลื่อนการดาเนินงาน พัฒนาระบบ
บริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ดังนี้
ทบทวนบัญชียาของโรงพยาบาล
ส่งเสริมการใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
พัฒนาฉลากยาและฉลากยาเสริม อย่างน้อย 13 กลุ่มยา
มีการดาเนินการให้เกิดจริยธรรม ว่าด้วยการจัดซื้อ และส่งเสริมการขายยา
และส่งเสริมจรรยาบรรณทางการแพทย์ในการสั่งใช้ยา
ขั้นตอนการดาเนินงาน
9
ส่งเสริมการใช้ยาอย่างรับผิดชอบ ในกลุ่มโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
ส่วนบน โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน แผลสดจากอุบัติเหตุ และใน
สตรีคลอดปกติครบกาหนดทางช่องคลอด
ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
พัฒนาดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง
พิเศษ และในผู้ป่วยที่ต้องใช้ยาอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง
ขั้นตอนการดาเนินงาน
10
ให้คณะกรรมการ PTC + ICC + คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพทาง
ห้องปฏิบัติการ และองค์กรแพทย์ จัดทาแผนปฏิบัติการการจัดการการดื้อยา
ต้านจุลชีพ (AMR) และให้มีระบบติดตามและรายงานอัตราการติดเชื้อดื้อยา
ต้านจุลชีพ
รายงานผลการดาเนินงานทุก 3 เดือน ให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด และ
สานักบริหารการสาธารณสุขตามลาดับชั้น
กุญแจสาคัญ 6 ประการ (P-L-E-A-S-E)
1. Pharmacy and Therapeutics Committee (PTC)
Strengthening
2. Labeling and Leaflet for Patient Information
3. Essential RDU Tools
4. Awareness for RDU Principles among Health
Personnel and Patients
5. Special Population Care
6. Ethics in Prescription
11
Pharmacy and Therapeutics Committee
(PTC) Strengthening
12
P ความเข้มแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัด
ส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและคุ้มค่าขึ้นในสถานพยาบาล
กาหนดและทบทวนโยบายด้านยาและการสั่งใช้ยา
กาหนด/รับรองแนวเวชปฏิบัติ
จัดทาและปรับปรุงบัญชียาโรงพยาบาล
กาหนดมาตรการบริหารเวชภัณฑ์
กาหนดนโยบายและกากับดูแลให้มีการสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุผล
มีระบบการจัดการด้านยาเพื่อความปลอดภัยและกากับติดตาม
กาหนดมาตรการ พัฒนาระบบและกากับติดตาม
Labeling and Leaflet for Patient Information
ควรมีคาว่า “ชื่อสามัญ” (ตามด้วย
ชื่อยาภาษาไทย)
ขนาดยาและขนาดบรรจุควรแสดงด้วยภาษาไทย
13
การจัดทาฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และข้อมูลยาสู่ประชาชน
L
ข้อบ่งใช้
จานวน
ตัวอย่าง
14
Labeling and Leaflet for Patient Information
การจัดทาฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และข้อมูลยาสู่ประชาชน
Lคาเตือนในฉลากยา
15
Labeling and Leaflet for Patient Information
การจัดทาฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และข้อมูลยาสู่ประชาชน
L
ฉลากยาเสริม ฉลากยาปัจจุบันมีขนาดเล็ก
บรรจุข้อมูลได้ไม่ครบสมบูรณ์
ตัวอย่าง
Essential RDU Tools
• เป้าหมายในการรักษา (Goal, G) และคาแนะนาการใช้ยาในกลุ่มยา
เป้าหมายซึ่งสอดคล้องกับหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เป็นปัจจุบัน
(Recommendation, R)
• เภสัชตารับที่รายการยาถูกคัดเลือกอย่างโปร่งใส
• แนวทางการส่งตรวจและการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จาเป็นต่อการ
วินิจฉัยโรคเป้าหมาย และการติดตาม (Monitoring, M)
16
เครื่องมือจาเป็นที่ช่วยให้เกิดการสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุผล
E
เครื่องมือ 6 ประการ
• การจัดหาหรือจัดทาระบบข้อมูลอิเล็กโทรนิกส์ด้านยาและการรักษา
โรค ที่จาเป็นต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
• ระบบและวิธีการปฏิบัติในการประเมินและการติดตามผลการใช้ยา
รวมทั้งการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้สั่งใช้ยา
• นโยบายด้านยาที่จาเป็นต่อระบบการใช้ยาที่สมเหตุผล
17
Essential RDU Tools
เครื่องมือจาเป็นที่ช่วยให้เกิดการสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุผล
E
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable disease; NCD)
1) ความดันเลือดสูง
2) เบาหวาน
3) ไขมันในเลือดสูง
4) ข้อเสื่อม/เกาต์
5) โรคไตเรื้อรัง
6) โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง/โรคหืด
โรคติดเชื้อ (Responsible use of antibiotics; RUA)
18
Essential RDU Tools
เครื่องมือจาเป็นที่ช่วยให้เกิดการสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุผล
E
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
1. ภาวะความดันเลือดสูงชนิดที่ไม่ทราบสาเหตุ (Essential Hypertension)
19
2. โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Diabetes Mellitus type 2)
20
3. ภาวะไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
(Hypercholesterolemia/Dyslipidemia)
21
4. โรคข้อเสื่อม (Osteoarthritis) และโรคข้ออักเสบเกาต์
22
5. โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease)
23
6. โรคหืด (Asthma) และ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic
Obstructive Pulmonary Disease)
24
โรคติดเชื้อ
25
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ
(Responsible Use Of Antibiotic: RUA)
1. Respiratory Infection (RI): Upper RI, Acute bronchitis
2. Acute diarrhea (AD)
3. Fresh Traumatic Wound (FWT)
4. Antibiotic Prophylaxis in vaginal Delivery of normal Term Labor
(APL)
26
-> ใช้ยาปฏิชีวนะน้อยที่สุดเท่าที่จาเป็น
-> อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะไม่มากกว่าเกณฑ์ที่กาหนด
-> ลดโอกาสเสี่ยงต่อพิษและผลข้างเคียงของยาปฏิชีวนะ
-> ชะลอการดื้อยาปฏิชีวนะของเชื้อแบคทีเรีย
-> ค่าใช้จ่ายยาปฏิชีวนะ
-> สร้างวัฒนาธรรมใหม่ของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ
เป้าหมายในการใช้ยา
27
Awareness for RDU Principles among Health
Personnel and Patients
28
ความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์และ
ผู้รับบริการต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
A
การรับรู้และมีจิตสานึกถึงความสาคัญในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
Special Population Care
• ผู้สูงอายุ
• สตรีตั้งครรภ์
• สตรีให้นมบุตร
• ผู้ป่วยโรคตับ
• ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
• ผู้ป่วยเด็ก
29
S การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ
30
Special Population CareS การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ
ผู้สูงอายุ: อายุ≥65 ปี + มีการ ทางานของร่างกายเปลี่ยนแปลงไปจากสรีรวิทยาตามอายุ
ที่เพิ่มขึ้น
31
Special Population CareS การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ
สตรีตั้งครรภ์: การใช้ยาในสตรีระหว่างตั้งครรภ์มีความแตกต่างทั้งในด้านประสิทธิผล
และความปลอดภัยของยา เมื่อเทียบกับการใช้ยาโดยทั่วไป
32
Special Population CareS การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ
สตรีให้นมบุตร: ยาบางตัวสามารถผ่านไปสู่ทารกที่ดูดนมจากมารดา ซึ่งในที่สุดจะ
มีผลต่อการตอบสนองของยาในทารก
33
Special Population Care
S การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ
ผู้ป่วยเด็ก: อายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 18 ปี สรีรวิทยาของอวัยวะต่างๆ ยังไม่สมบูรณ์เท่า
ผู้ใหญ่ อาจมีโอกาสเกิดผลข้างเคียงจากยาได้สูงและง่ายกว่า จึงควรระมัดระวังการใช้ยา
เป็นพิเศษ
34
Special Population Care
S การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ
ผู้ป่วยโรคตับ: ตับเป็นอวัยวะที่มีการเปลี่ยนแปลงยา ทาให้ยาสามารถขับออกจากร่างกาย
ได้ ดังนั้นหากตับมีความผิดปกติ การใช้ยาจึงต้องระมัดระวัง
35
Special Population Care
S การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ
ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง: การทางานของไตผิดปกติมีผลกระทบต่อการขับยาออกจากร่างกาย
Ethics in Prescription
• เน้นจริยธรรมส่วนบุคคลของผู้สั่งใช้ยา
• กระบวนการนายาเข้าและออกจากสถานพยาบาลมีความโปร่งใส
ตรวจสอบได้
36
E การส่งเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทย์ในการสั่งยา
ตัวชี้วัดเพื่อประเมินผล
วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด
• เป็นเครื่องมือผลักดันให้เกิดการดาเนินงานไปสู่เป้าหมายการใช้ยาอย่าง
สมเหตุผล
• เพื่อเป็นเครื่องมือติดตามสถานการณ์และความก้าวหน้าในการ
ดาเนินงาน ของโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการ
ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
• เป็นข้อมูลส่วนหนึ่งของแสดงผลการดาเนินการโครงการโรงพยาบาล
ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในภาพรวม ระหว่างดาเนินการ และ
เมื่อสิ้นสุด โครงการนาร่อง
37
ตัวชี้วัด 18+2
38
ลาดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ รพ.เขาฉกรรจ์
( ธ.ค. 59)
1 ร้อยละการสั่งยาในบัญชียาหลัก
(* รพ. ระดับ A > 75%, S > 80%, M1-M2 > 85%, F1-F3 > 90%
ตามระดับ รพ. 94.49
2 ประสิทธิผลการดาเนินงานของคณะกรรมการ PTC ในการชี้นาสื่อสาร
และส่งเสริมเพื่อนาไปสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสม
เหตุผล
3 2
3 การดาเนินงานในการจัดทาฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และเอกสาร
ข้อมูลยาใน 13 กลุ่ม ที่มีรายละเอียดครบถ้วน
3 5
4 จานวนรายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ ซึ่งยังคงมีอยู่ในบัญชี
รายการยาของโรงพยาบาล
≤ 1 รายการ 0
5 การดาเนินงานเพื่อส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อและส่งเสริมการขายยา 3 3
6 อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและ
หลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก
≤ ร้อยละ 20 53.01
• ระดับกาลังพัฒนา >> มีการดาเนินงานและรายงานตัวชี้วัดตามที่กาหนดไว้
• ระดับสาเร็จ >> ผลการดาเนินงานที่เป็นไปตามเกณฑ์ อย่างน้อย 40%
• ระดับโดดเด่น >> ผลการดาเนินงานที่เป็นไปตามเกณฑ์อย่างน้อย 80%
39
ลาดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ รพ.เขาฉกรรจ์
( ธ.ค. 59)
7 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ≤ 20% 31.61
8 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ≤ 40% 65.09
9 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกาหนดทางช่องคลอด ≤ 10% 50.00
10 ร้อยละของผู้ป่วยความดันเลือดสูงที่ใช้ RAS blockage
(ACEIs/ARBs/Renin inhibitor) 2 ชนิดร่วมกันในการรักษาโรคความดัน
โลหิตสูง
0% 0.15
11 ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ glibenclamide ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปี
หรือมี GFR < 60 ml/min/m2
≤ 5% 0.41
12 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ใช้ยา metformin เป็นยาชนิดเดียวหรือ
ร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้าตาลโดยไม่มีข้อห้ามใช้ (eGFR < 30
ml/min/1.73 m2)
≥ 80% 65.36
13 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการใช้ยากลุ่ม NSAIDs ซ้าซ้อน ≤ 5% 0
14 ร้อยละผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับ NSAIDs ≤ 10% 4.55
15 ร้อยละผู้ป่วยโรคหืดที่ได้รับยา inhaled corticosteroid ≥ 80% 49.12
40
ลาดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ รพ.เขาฉกรรจ์
( ธ.ค. 59)
16 ร้อยละผู้ป่วยนอกสูงอายุ (อายุมากกว่า 65 ปี) ที่ใช้ยากลุ่ม long-
acting benzodiazepine ได้แก่ chlordiazepoxide, diazepam,
dipotassium chlorazepate
≤ 5% 3.03
17 จานวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ได้แก่ยา warfarin*, statin
หรือ Ergot เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์แล้ว (*ยกเว้น กรณีใส่ Mechanical
heart vaive)
0 % 0
18 ร้อยละของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
(ครอบคลุมโรคตามรหัส ICD-10 ตาม RUA-URI และได้รับยาต้าน
ฮีสตามีนชนิด non-sedating
≤ 20 % 0.31
19 ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/หน่วยบริการปฐมภูมิใน
เครือข่ายที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจ
ช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
≤ 20%
20 ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/หน่วยบริการปฐมภูมิ ใน
เครือข่ายที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน
≤ 20%
ตัวชี้วัดที่โรงพยาบาลเขาฉกรรจ์ยังไม่ผ่านเกณฑ์เป้าหมาย
41
ตัวชี้วัดที่ 2
ประสิทธิผลการดาเนินงานของคณะกรรมการ PTC ในการชี้นาสื่อสาร และส่งเสริม
เพื่อนาไปสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
42
ตัวชี้วัดที่ 6
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบน
และหลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก
กลุ่มตัวชี้วัด: การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ
วัตถุประสงค์ของการมีตัวชี้วัด: เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่จาเป็น
ข้อมูลที่ต้องการ:
ตัวตั้ง >> A = จานวนครั้งที่มารับบริการของผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อที่ระบบการ
หายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ที่ได้รับยาปฏิชีวนะ
ตัวหาร >> B = จานวนครั้งที่มารับบริการของผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อที่ระบบ
การหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันทั้งหมด
สูตรในการคานวณตัวชี้วัด: (A/B) x 100
เป้าหมาย: น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 20
43
44
ตัวชี้วัดที่ 6
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบน
และหลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก
ตัวชี้วัดที่ 7
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน
กลุ่มตัวชี้วัด: การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ
นิยาม คาอธิบาย ความหมายของตัวชี้วัด:
โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน หมายถึง ภาวะที่มีอุจจาระเหลวกว่าปกติตั้งแต่ 3 ครั้งต่อวัน หรือถ่าย
อุจจาระเป็นน้า 1 ครั้ง โดยมีอาการไม่นานกว่า 2 สัปดาห์ โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันอาจเกิดจากสารพิษ
ของเชื้อโรค เชื้อโรค และสาเหตุอื่น ๆ
วัตถุประสงค์ของการมีตัวชี้วัด: เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่จาเป็น
ข้อมูลที่ต้องการ:
ตัวตั้ง >> A = จานวนครั้งของผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันที่ได้รับยาปฏิชีวนะ
ตัวหาร >> B = จานวนครั้งของผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันทั้งหมด
สูตรในการคานวณตัวชี้วัด: (A/B) X100
45
46
ตัวชี้วัดที่ 7
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน
ตัวชี้วัดที่ 8
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ
กลุ่มตัวชี้วัด: การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ
นิยาม คาอธิบาย ความหมายของตัวชี้วัด:
1) บาดแผลสดจากอุบัติเหตุ หมายถึง บาดแผลสดจากอุบัติเหตุที่เกิดภายใน
6 ชั่วโมงก่อนได้รับการรักษา
2) ยาปฏิชีวนะ หมายถึง ยากลุ่ม ATC J01 ยาชนิดรับประทานและยาฉีด
3) เก็บข้อมูลการมารับบริการจากแผนกผู้ป่วยนอกและฉุกเฉิน ระบุโรคตาม
ICD-10
วัตถุประสงค์ของการมีตัวชี้วัด: เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่จาเป็น
47
ข้อมูลที่ต้องการ:
ตัวตั้ง >> A = จานวนครั้งของผู้ป่วยนอกบาดแผลสดจากอุบัติเหตุที่
ได้รับยาปฏิชีวนะ
ตัวหาร >> B = จานวนครั้งของผู้ป่วยนอกบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ
ทั้งหมด
สูตรในการคานวณตัวชี้วัด: (A/B) X100
48
ตัวชี้วัดที่ 8
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัดที่ 9
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคอดปกติครบกาหนดทางช่องคลอด
กลุ่มตัวชี้วัด: การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ
นิยาม คาอธิบาย ความหมายของตัวชี้วัด:
1) หญิงคลอดปกติครบกาหนดทางช่องคลอด หมายถึง ผู้คลอดทารกครบ
กาหนดทางช่องคลอดด้วยวิธีปกติ (หมายเหตุ: ยาปฏิชีวนะอาจมีประโยชน์ในรายที่มี
การฉีกขาดของฝีเย็บระดับที่ 3 หรือ 4 โดยให้ยาปฏิชีวนะชนิดฉีดก่อนการเย็บแผลที่ฉีก
ขาด)
2) ยาปฏิชีวนะ หมายถึง ยากลุ่ม ATC J01 ทั้งชนิดรับประทานและชนิดฉีด
3) เก็บข้อมูลจากผู้ป่วยใน (AN) ระบุโรคตาม ICD-10
วัตถุประสงค์ของการมีตัวชี้วัด: เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่จาเป็น
49
ข้อมูลที่ต้องการ:
ตัวตั้ง >> A = จานวนครั้งของสตรีคลอดปกติครบกาหนดที่ได้รับ
ยาปฏิชีวนะ
ตัวหาร >> B = จานวนครั้งของสตรีคลอดปกติครบกาหนดทั้งหมด
สูตรในการคานวณตัวชี้วัด: (A/B) X100
50
ตัวชี้วัดที่ 9
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคอดปกติครบกาหนดทางช่องคลอด
ตัวชี้วัดที่ 10
ร้อยละของผู้ป่วยความดันเลือดสูงทั่วไป ที่ใช้ RAS blockage
(ACEIs / ARBs / Renin inhibitor) 2 ชนิดร่วมกัน ในการรักษาภาวะความดันเลือดสูง
กลุ่มตัวชี้วัด: ภาวะความดันเลือดสูง (Essential Hypertension)
นิยาม คาอธิบาย ความหมายของตัวชี้วัด:
1) ผู้ป่วยนอกโรคความดันเลือดสูงตามรหัส ICD-10 I10 Essential
(primary) hypertension
2) การใช้ยา RAS blockage 2 ร่วมกัน หมายถึง การสั่งยา RAS
blockage ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ในการมาพบแพทย์ในวันที่มารับบริการ (visit)
วัตถุประสงค์ของการมีตัวชี้วัด: เพื่อประเมินความสมเหตุผลในการเลือกใช้ยากลุ่ม
RAS blockage ในการรักษาความดันเลือดสูง ยกเว้นกรณีให้ RAS blockage ตัว
ใดตัวหนึ่งร่วมกับ captopril stat dose
51
ข้อมูลที่ต้องการ:
ตัวตั้ง >> A = จานวน visit ผู้ป่วยความดันเลือดสูงที่ได้รับการสั่งใช้ยากลุ่ม RAS
blockage ได้แก่ ACEIs+ARBs หรือ ACEIs+Renin inhibitor หรือ ARBs+Renin inhibitor
≥2 ชนิด
ตัวหาร >> B = จานวน visit ผู้ป่วยโรคความดันเลือดสูงที่ได้รับยาลดความดันเลือด
กลุ่ม RAS blockage อย่างน้อย 1 ชนิด
สูตรในการคานวณตัวชี้วัด: (A/B) X100
52
ตัวชี้วัดที่ 10
ร้อยละของผู้ป่วยความดันเลือดสูงทั่วไป ที่ใช้ RAS blockage
(ACEIs / ARBs / Renin inhibitor) 2 ชนิดร่วมกัน ในการรักษาภาวะความดันเลือดสูง
ตัวชี้วัดที่ 12
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ใช้ยา metformin เป็นยาชนิดเดียว
หรือร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้าตาล โดยไม่มีข้อห้ามใช้
กลุ่มตัวชี้วัด: การใช้ยาในผู้ป่วยตามกลุ่มโรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) ชนิด
ที่ 2 ในผู้ใหญ่
นิยาม คาอธิบาย ความหมายของตัวชี้วัด:
1) ผู้ป่วยนอกโรคเบาหวานชนิดที่ 2 หมายถึง ผู้ป่วยนอก ตามรหัส ICD-10 E11
2) ไม่มีข้อห้ามใช้ยา หมายถึง ผู้ป่วยที่มี eGFR > 30 ml/min/1.73 m2 ล่าสุด
ย้อนหลังไป 6 เดือน (หรือ ไม่มี ICD-10 N18.4 N18.5)
3) รหัสยา metformin หมายถึง ATC Code A10BA02 Metformin และ
A10BD02, 03, 05, 07, 08, 10, 11, 13-17 METFORMIN COMBINATIONS
53
วัตถุประสงค์ของการมีตัวชี้วัด: การเลือกใช้ยาที่มีประสิทธิภาพตามแนวทางการ
รักษา
ข้อมูลที่ต้องการ:
ตัวตั้ง >> A = จานวนผู้ป่วยนอกโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (HN) ที่ใช้ยา
metformin เป็นยาชนิดเดียวหรือร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้าตาล และมีผล
lab ล่าสุดย้อนหลัง 6 เดือน eGFR > 30 ml/min/1.73 m2
ตัวหาร >> B = จานวนผู้ป่วยนอกโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ทั้งหมดและมีผล
lab ล่าสุดย้อนหลัง 6 เดือน eGFR > 30 ml/min/1.73 m2
สูตรในการคานวณตัวชี้วัด: (A/B) X100
54
ตัวชี้วัดที่ 12
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ใช้ยา metformin เป็นยาชนิดเดียว
หรือร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้าตาล โดยไม่มีข้อห้ามใช้
ตัวชี้วัดที่ 15
ร้อยละผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรังที่ได้รับยา inhaled corticosteroid
กลุ่มตัวชี้วัด: การใช้ยาในผู้ป่วยตามกลุ่มโรคหืด
นิยาม คาอธิบาย ความหมายของตัวชี้วัด:
1) ผู้ป่วยนอกโรคหืด หมายถึง ผู้ป่วยที่มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอก และระบุโรค
ตาม ICD-10 J45.0-J45.9, J46
2) ยา Inhaled corticosteroid หมายถึง ยากลุ่ม corticosteroids ที่ใช้ลดการ
อักเสบของระบบทางเดินหายใจในรูปแบบสูดพ่นที่เป็นยาเดี่ยวหรือยาผสมกับ
long-acting beta2-agonist
วัตถุประสงค์ของการมีตัวชี้วัด : การใช้ยาที่มีประสิทธิผลในการป้องกันการกาเริบ
55
ข้อมูลที่ต้องการ:
ตัวตั้ง >> A = จานวนผู้ป่วยนอกโรคหืดที่ได้รับยา inhaled
corticosteroid (HN)
ตัวหาร >> B = จานวนผู้ป่วยนอกโรคหืดทั้งหมด (HN)
สูตรในการคานวณตัวชี้วัด: (A/B) X100
56
ตัวชี้วัดที่ 15
ร้อยละผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรังที่ได้รับยา inhaled corticosteroid
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนมีความตระหนักรู้ต่อคาว่า “การใช้ยาอย่างสมเหตุผล”
มีความเข้าใจที่ถูกต้องต่อยาที่ใช้
เกิดความร่วมมือในการใช้ยา
สามารถใช้ยาเหล่านั้น ได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย
57
Rdu

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
Rofus Yakoh
 

Mais procurados (20)

สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 

Destaque

Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
dentyomaraj
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
sivapong klongpanich
 

Destaque (12)

Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
 
Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
 
Antibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use ProgramAntibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use Program
 
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายกการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
 
Rock the Technical Interview
Rock the Technical InterviewRock the Technical Interview
Rock the Technical Interview
 
หมอครอบครัว ระบบยาชุมชน
หมอครอบครัว  ระบบยาชุมชนหมอครอบครัว  ระบบยาชุมชน
หมอครอบครัว ระบบยาชุมชน
 
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
Rational drug use
Rational  drug  useRational  drug  use
Rational drug use
 
Rational drug use
Rational drug useRational drug use
Rational drug use
 

Semelhante a Rdu

ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
vveerapong
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
Apichat kon
 

Semelhante a Rdu (20)

Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
 
Piyapan
PiyapanPiyapan
Piyapan
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด
 

Rdu