SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
1
บทที่ 1
บทนำำ
1. ที่มำและควำมสำำคัญของปัญหำ
ปัจจุบันจำกกำรสอบถำมครูผู้สอนในรำยวิชำต่ำงๆ ของ
นักเรียนในระดับชั้นปวช. 2.3 พบว่ำนักเรียนส่วนใหญ่มักจะส่ง
งำน / กำรบ้ำนไม่ตรงเวลำที่ครูผู้สอนกำำหนด หรือบำงคนก็ไม่ส่ง
งำน / หรือกำรบ้ำนเลย ซึ่งทำำให้ครูผู้สอนไม่สำมำรถวัดควำมรู้
หรือติดตำมควำมก้ำวหน้ำของนักเรียนได้ ซึ่งในบำงรำยวิชำอำจมี
ผลต่อคะแนนเก็บของนักเรียนด้วย ดังนั้น ผู้วิจัยซึ่งในฐำนะที่เป็น
ทั้งครูผู้สอนและครูประจำำวิชำเห็นควำมสำำคัญของปัญหำดังกล่ำว
จึงได้ทำำกำรวิจัยเพื่อศึกษำพฤติกรรมของนักเรียนในระดับชั้นปวช.
2/3 วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน เพื่อนำำมำเป็นข้อมูลในกำรแก้
ปัญหำของนักเรียนในเรื่องกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ในครั้งต่อไป
2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษำพฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน ของนักเรียนในระดับชั้น
ปวช. 2/3 สำขำภำษำต่ำงประเทศ
2. เพื่อแจกแจงข้อมูล / สำเหตุ กำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ของ
นักเรียนสำขำภำษำต่ำงประเทศ
3. เพื่อวิเครำะห์หำแนวทำงกำรพัฒนำพฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน
ในครั้งต่อไป
ท ำ ง เ ลื อ ก ที่ ค ำ ด ว่ ำ จ ะ แ ก้ ปั ญ ห ำ
จัดทำำแบบสอบถำมเพื่อศึกษำพฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน /
กำรบ้ำน ของนักเรียนชั้นปวช. 2/3 เพื่อนำำผลจำกกำรวิจัยมำเก็บ
เป็นข้อมูลเพื่อนำำไปแก้ไขปัญหำในกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ปรับ
วิธีกำรเรียนกำรสอน รวมทั้งเพื่อให้นักเรียนเห็นควำมสำำคัญของ
กำรส่งงำน / กำรบ้ำน
จุดมุ่งหมำย
1. เพื่อศึกษำสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ของนัก
เรียนชั้นปวช. 2/3
2. เพื่อรวบรวมข้อมูลสำำหรับกำรแก้ปัญหำกำรไม่ส่งงำน
/ กำรบ้ำนของนักเรียน
ตัวแปรที่ศึกษำ
2
1. แบบสอบถำมเพื่อศึกษำพฤติกรรมชองนักเรียนชั้นปวช.
2/3 วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน ในเรื่องกำรไม่ส่งงำน /
กำรบ้ำน
2. ระดับคะแนนเฉลี่ยของแบบสอบถำม
กรอบแนวคิดในกำรวิจัย
กำรวิจัยครั้งนี้เป็นกำรศึกษำพฤติกรรมไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน
ของนักเรียนในระดับชั้น ปวช. 2/3 ผู้วิจัยได้จัด
ทำำแบบสอบถำมเพื่อศึกษำสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำนของ
นักเรียนจำำนวน 15 ข้อ โดยให้นักเรียนเรียงลำำดับสำเหตุกำรไม่ส่ง
งำน / กำรบ้ำนตำมลำำดับที่มำกที่สุดจนถึงน้อยที่สุดจำกลำำดับ 1 –
15 และได้ทำำกำรนำำผลของแต่ละสำเหตุ มำหำค่ำ ร้อยละ แล้วนำำ
ข้อมูลมำวิเครำะห์และหำข้อสรุปพร้อมทั้งนำำเสนอในรูปของตำรำง
ประกอบคำำบรรยำย เพื่อศึกษำพฤติกรรมต่ำงๆ ของนักเรียนในกำร
ไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน
3. ขอบเขตของกำรวิจัย
ในกำรศึกษำวิจัยครั้งนี้เป็นกำรสร้ำงแบบสอบถำมเพื่อศึกษำ
พฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำนของนักเรียนชั้นปวช. 2/3
วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน โดยใช้ข้อควำมที่ได้จำกกำรสังเกต
และคำดว่ำจะเป็นสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน จำำนวน 15
ข้อ
4. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1. ทรำบพฤติกรรมและสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน
ของนักเรียนระดับชั้นปวช. 2/3
2. ได้ข้อมูลหรือแนวทำงในกำรแก้ปัญหำกำรเรียนกำรสอน
กำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน
3
บทที่ 2
เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในกำรดำำเนินกำรวิจัย เรื่อง ศึกษำพฤติกรรมกำรไม่ส่ง
งำน / กำรบ้ำนของนักเรียนชั้นปวช. 2/3
สำขำภำษำต่ำงประเทศ วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน จังหวัด
หนองคำย มีเอกสำรที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
พฤติกรรม หมำยถึง กิริยำอำกำรต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นกับมนุษย์หรือที่
มนุษย์ได้แสดง หรือปฏิกิริยำที่เกิดขึ้นกับมนุษย์เมื่อได้เผชิญกับสิ่ง
เร้ำ พฤติกรรมต่ำง ๆ ที่กล่ำวมำแล้ว อำจจะจำำแนกออกได้เป็น 2
ลักษณะ คือ
1. พฤติกรรมที่ไม่สำมำรถควบคุมได้เรียกว่ำ เป็นปฏิกิริยำสะท้อน
เช่น กำรสะดุ้งเมื่อถูกเข็มแทง กำร สิ่งมำกระทบกับสำยตำฯลฯ
2.พฤติกรรมที่สำมำรถควบคุมและจัดระเบียบได้เนื่องจำกมนุษย์มี
สติปัญญำและอำรมณ์(EMOTION) เมื่อมีสิ่งเร้ำมำกระทบสติปัญญำ
หรือำรมณ์ จะเป็นตัวตัดสินว่ำควรจะปล่อยกิริยำใดออกไป
ถ้ำสติปัญญำควบคุมกำรปล่อยกิริยำ เรำเรียกว่ำเป็นกำรกระทำำตำม
ควำมคิดหรือ ทำำด้วยสมอง แต่ถ้ำอำรมณ์ควบคุมเรียกว่ำ เป็นกำร
ทำำตำมอำรมณ์หรือปล่อยตำมใจนักจิตวิทยำส่วนใหญ่เชื่อว่ำ
อำรมณ์มีอิทธิพลหรือพลังมำกกว่ำสติปัญญำ ทั้งนี้เพรำะมนุษย์ทุก
คนยังมีควำมโลภ ควำมโกรธ ควำมหลงทำำให้พฤติกรรมส่วนใหญ่
เป็นไปตำมควำมรู้สึกและอำรมณ์เป็นพื้นฐำน
รูปแบบพฤติกรรมของมนุษย์ แบ่งได้เป็น 2 อย่ำงคือ
1. พฤติกรรมเปิดเผยหรือพฤติกรรมภำยนอก (Overt Behavior)
เป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกมำ
4
2. พฤติกรรมปกปิดหรือพฤติกรรมภำยใน (Covert Behavior)
เป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงแล้ว แต่ผู้อื่นไม่สำมำรถมองเห็นได้
สังเกตได้โดยตรงจนกว่ำบุคคลนั้นจะเป็นผู้บอกหรือแสดงบำงอย่ำง
เพื่อให้คนอื่นรับรู้ได้ เช่น ควำมคิด อำรมณ์ กำรรับรู้
ประเภทของพฤติกรรมมนุษย์
นักจิตวิทยำแบ่งพฤติกรรมมนุษย์ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. พฤติกรรมที่มีมำแต่กำำเนิด ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่มีกำรเรียนรู้มำก่อน
ได้แก่ ปฏิกิริยำสะท้อนกลับ (REFLECT ACTION) เช่นกำรกระ
พริบตำ และสัญชำตญำณ (INSTINCT) เช่นควำมกลัว
ก ำ ร เ อ ำ ตั ว ร อ ด เ ป็ น ต้ น
2. พฤติกรรมที่เกิดจำกอิทธิพลของกลุ่ม ได้แก่ พฤติกรรมที่เกิดจำก
กำร ที่บุคคลติดต่อสังสรรค์และมีควำมสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม
ดังนั้น กำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์ให้เหมำะสมกับสิ่ง
แวดล้อมแบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะคือ
1. กำรปรับเปลี่ยนทำงด้ำนของสรีระร่ำงกำย เช่น กำรปรับปรุง
บุ ค ลิ ก ภ ำ พ ก ำ ร แ ต่ ง ก ำ ย ก ำ ร พู ด
2. กำรปรับเปลี่ยนทำงด้ำนอำรมณ์และควำมรู้สึกนึกคิด ให้มีควำม
สัมพันธภำพที่ดีกับบุคคลอื่น ปรับอำรมณ์ควำมรู้สึกให้สอดคล้องกับ
บุ ค ค ล อื่ น รู้ จั ก ก ำ ร ย อ ม รั บ ผิ ด
3. กำรปรับเปลี่ยนทำงด้ำนสติปัญญำ เช่น กำรศึกษำค้นคว้ำเพื่อ
ให้มีควำมรู้ที่ทันสมัย ทันเหตุกำรณ์ กำรมีควำมคิดเห็นคล้อยตำม
ค ว ำ ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ค น ส่ ว น ใ ห ญ่
4. กำรปรับเปลี่ยนอุดมคติ หมำยถึง กำรสำมำรถปรับเปลี่ยนหลัก
กำร แนวทำงบำงส่วนบำงตอนเพื่อให้เข้ำกับสังคมส่วนใหญ่ได้
โดยพิจำรณำจำกควำมจำำเป็น และเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุ
เป้ำหมำย เป็นประโยชน์แก่ตนเอง เพื่อสวัสดิภำพของตนเองและ
ของกลุ่ม
กำรศึกษำเกี่ยวกับกำรเกิดของพฤติกรรมมนุษย์
มนุษย์ได้พยำยำมที่จะศึกษำกำรเกิดพฤติกรรมของมนุษย์ด้วย
ตนเอง เพื่อประโยชน์ในกำรที่จะทำำให้กำรอยู่ร่วมกันในสังคมเป็น
ไปด้วยดี และมีควำมสุข จึงทำำให้เกิดมีควำมเชื่อหลักกำรและทฤษฎี
ต่ำงๆ เกิดขึ้นอย่ำงมำกมำย จำกบรรดำผู้รู้และนักกำรศึกษำทั้ง
หลำยที่พยำยำมหำหลักเกณฑ์มำเพื่ออธิบำยพฤติกรรมของมนุษย์
ซึ่งสำมำรถรวบรวมทัศนะต่ำงๆ เป็นหมวดหมู่ได้ 3 ประเภท
5
1. พฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้นจากแรงผลักดันภายในตัวของ
มนุษย์
2. พฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้นจากแรงผลักดันของสิ่งแวดล้อม
3. พฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้นจากทั้งแรงผลักดันภายในตัวมนุษย์
และสิ่งแวดล้อม
1. พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากแรงผลักดันภายในตัวมนุษย์
แรงผลักดันที่ทำาให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมาก็คือ ความ
ต้องการ ซึ่งความต้องการนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
ความต้องการทางร่างกาย และความต้องการทางจิตใจ
1.1 ความต้องการทางด้านร่างกาย เป็นแรงผลักดันที่อยู่ใน
ระดับพื้นฐานที่สุด แต่มีพลังอำานาจสูงสุด เพราะเป็นแรงผลักดันที่จะ
ทำาให้ชีวิตอยู่รอด มนุษย์จะต่อสู้ดิ้นรนทุกวิถีทางเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่ง
ที่จะมาบำา บัดความต้องการทางร่างกาย ทำา ให้มนุษย์แสดง
พฤติกรรมต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นทั้งทางที่ดีที่ถูกต้องหรือทางที่ไม่ถูก
ต้ อ ง ก็ ไ ด้
ความต้องการทางร่างกายที่จะทำาให้ชีวิตอยู่รอด ได้แก่ ความ
ต้องการอาหาร นำ้า อากาศ อุณหภูมิที่พอเหมาะ การพักผ่อน การ
ขับถ่าย การสืบพันธุ์ ความปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ การ
ตอบสนองความต้องการทางร่างกาย อันทำา ให้มนุษย์แสดง
พฤติกรรมออกมานั้น สามารถกระทำาได้ 2 ระดับ คือ 1.1.1 กิริยา
ส ะ ท้อ น เป็นการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ที่เป็นไปได้โดย
ธรรมชาติ เช่น เมื่อร่างกายมีอุณหภูมิสูงกว่าปกติร่างกายก็จะขับ
เหงื่อออกมาเป็นการลดอุณหภูมิให้อยู่ในระดับพอเหมาะ
1.1.2 พฤติกรรมเจตนา เป็นการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ต่อ
สิ่งเร้าโดยความตั้งใจหรือความพอใจของตนเองเช่นเมื่อรู้สึกตัวว่า
ร้ อ น ก็ จ ะ ไ ป อ า บ นำ้า ห รื อ เ ปิ ด พั ด ล ม เ ป็ น ต้ น
1.2 ความต้องการทางจิตใจ เป็นแรงผลักดันที่อยู่ในระดับสูง
ขึ้นกว่าความต้องการทางร่างกาย
แต่มีพลังอำานาจน้อยกว่า เพราะความต้องการทางจิตใจนี้ ไม่ใช่
ความต้องการที่เป็นความตายของชีวิต
จะเป็นความต้องการที่มาช่วยสร้างเสริมให้ชีวิตมีความสุขความ
สบายยิ่งขึ้นเท่านั้น มีนักจิตวิทยาหลายคนได้อธิบายถึงแรงผลักดัน
ภายในร่างกาย อันมีผลทำาให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมต่างๆ ดังนี้
1. ซิก มัน ด์ ฟ ร อ ย ด์ (Sigmund Freud) นักจิตวิทยาชาว
ออสเตรีย ได้วิเคราะห์จิตมนุษย์ออกเป็นองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ อิด
(Id) อีโก้ (Ego) และซุปเปอร์อีโก้ (Super Ego) ส่วนทั้งสามนี้
6
ประกอบเป็นโครงสร้างทางจิต (ศรีราชา เจริญพานิช, 2526 : 13)
อิด เป็นสัญชาตญาณในตัวมนุษย์ จะอยู่ในรูปของพลังงานที่คอย
ผลักดันให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมต่างๆ พลังงานนี้มีสองส่วนคือ
ส่วนหนึ่งจะผลักดันให้มีชีวิตอยู่รอด เรียกว่า สัญญาณชีวิต และอีก
ส่วนหนึ่งจะผลักดันให้ชีวิตดับ เรียกว่า สัญญาณความตาย อิดเป็น
ส่วนของจิตที่คนเราไม่รู้สึก เป็นจิตใต้สำานึก แรงผลักดันนี้จึงมีอยู่
โดยที่คนเราไม่รู้สึกตัว เป็นแรงผลักดันไร้สำานึก อิดจะผลักดันให้จิต
อีกส่วนหนึ่งซึ่งเป็นส่วนใหญ่และส่วนที่รู้ตัว ที่เรียกว่า อีโก้ กระทำา
ในสิ่งต่างๆ ตามที่อิดต้องการ ทั้งส่วนที่เป็นสัญญาณชีวิต และส่วน
ที่เป็นสัญญาณความตาย จึงเป็นตัวตอบสนองความต้องการของอิด
ส่วนของจิตที่ทำาหน้าที่ควบคุมสัญชาตญาณเหล่านี้คือ ซุปเปอร์อีโก้
หรือ มโนธรรมที่มีอยู่ในจิตของแต่ละบุคคล เป็นความรู้สึกผิดชอบ
ชั่วดี เป็นผลเกิดจากการอบรมสั่งสอนของสังคม ทำาให้อิดและอีโก้มี
พฤติกรรมอยู่ทางที่ถูกที่ควรเป็นที่ยอมรับของสังคม แรงผลักดัน
ของอิดจะทำาให้เกิดความตึงเครียด อีโก้จะต้องพยายามตอบสนอง
ความต้องการของอิดเพื่อลดความตึงเครียด แต่ความต้องการของ
อิดบางอย่าง อีโก้ก็ไม่อาจทำาตามเพราะไปขัดกับมโนธรรมใน
ซุปเปอร์อีโก้ จึงทำาให้เกิดความตึงเครียด และความวิตกกังวลใจ
เกิดขึ้น ความวิตกกังวลนี้จึงเป็นแรงผลักดันพฤติกรรมอีกแรงหนึ่ง
เพื่อปกป้องตนเองให้รอดนั้น ความวิตกกังวล อีโก้จึงต้องพัฒนา
พฤติกรรมป้องกันที่เรียกว่า “กลไกป้องกัน” ซึ่งเป็นไปโดยไม่รู้สึก
ตั ว ตั ว อ ย่ า ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ป้ อ ง กั น ไ ด้ แ ก่
1. การเก็บกด (Repression) คือการที่อีโก้จะพยายามเก็บความ
รู้สึกที่เป็นความปรารถนาที่สังคมไม่ยอมรับต่างๆเช่นความอิจฉาพ่อ
แม่พี่น้องของตนเอง ซึ่งถ้าแสดงออกมาก็จะถูกสั่งตำา หนิ
2. การถอดแบบ (Identification) เป็นการยอมรับในสิ่งที่อิดเกิด
ความอิจฉาและนำาเอาพฤติกรรมของสิ่งนั้นมาเป็นแบบแผนในการ
แสดงพฤติกรรมของตนเอง ซึ่งทำาให้ความวิตกกังวลหมดไปได้
3. การยึดแน่น (Fixation) เป็นการยึดแน่นในพฤติกรรมที่ตน
ต้องการ แต่ไม่ได้รับการตอบสนองตั้งแต่ตอนวัยเด็ก จนเติบโตเป็น
ผู้ใหญ่ ก็จะแสดงพฤติกรรมต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งตอบสนอง
ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร
4. การแสดงพฤติกรรมตรงข้าม (Reaction Formation) คือ การ
แสดงที่ตรงข้ามกับความต้องการของอิดที่ไม่เป็นที่ยอมรับของสังคม
เช่น ผู้หญิงอิจฉาแม่ แต่แสดงพฤติกรรมเป็นห่วงหรือเอาอกเอาใจ
ตลอดเวลา
7
5. การตำาหนิผู้อื่น (Projection) เป็นการคิดว่า ผู้อื่นมีลักษณะไม่ดี
เพื่อกลบเกลื่อนลักษณะที่มีในตนเอง เพื่อตนเองจะได้เกิดความ
ส บ า ย ใ จ
6. การถดถอย (Regression) เป็นการแสดงพฤติกรรมที่ถดถอย
ไปสู่วัยเด็ก
7. พฤติกรรมเบี่ยงเบน (Sublination) เป็นการแสดงพฤติกรรม
อย่างอื่นเพื่อทดแทนพฤติกรรมที่ตนต้องการ แต่ไม่สามารถ
แสดงออกได้ เช่น ความต้องการทางเพศ ความก้าวร้าวก็แสดงออก
ในรูปการเขียนกลอนการร้องเพลงการทำา งานหนักเป็นต้น
8. การทดแทน (Displacement) คือ การแสดงความปรารถนากับ
อีกบุคคลหนึ่งหรือสิ่งหนึ่งเพื่อเป็นการทดแทน เช่น ถูกนายจ้างดุด่า
ก็ไประบายกับลูกเมียที่บ้าน ขาดแม่ก็อาจจะหลงรักใครเหมือนกับ
รั ก แ ม่ ข อ ง ต น
2. อับราฮัม มาสโลว์ (Abrahum Maslow) เป็นนักจิตวิทยา
ในกลุ่มมนุษยนิยม (Humanism)
ซึ่งนักจิตวิทยากลุ่มนี้ มีความเชื่อว่า มนุษย์มิใช่ทาสของแรงผลักดัน
ต่างๆ เช่น ความหิวกระหายเท่านั้น แต่มนุษย์ยังเกิดมาพร้อม
ศักยภาพของความเป็นมนุษย์ต่างๆ เช่น ความอยากรู้ ความ
สร้างสรรค์ และความต้องการที่จะพัฒนาตนเองจนเต็มขีดความ
สามารถ มาสโลว์ได้เน้นให้เห็นถึงความต้องการให้แต่ละคน ใน
การพัฒนาศักยภาพของตนให้เป็นจริงขึ้นมามากเป็นพิเศษ เขาเห็น
ว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมด้วยความต้องการ 5 อย่างซึ่งเรียงตามลำาดับ
ค ว า ม สำา คั ญ ม า ก น้ อ ย ก่ อ น ห ลั ง ไ ด้ ดั ง นี้
2.1 ความต้องการทางสรีระ หรือร่างกาย ซึ่งเป็นความต้องการ
ขั้ น แ ร ก สุ ด
2.2 ความต้องการสวัสดิภาพ หรือความปลอดภัยทั้งปวง จะเกิด
ขึ้นเมื่อความต้องการทางสรีระได้รับการตอบสนองแล้ว
2.3 ความต้องการความรัก เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นจากการ
ที่บุคคลมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในรูปแบบต่างๆ เช่นพ่อแม่กับ
ลู ก ส า มี กั บ ภ ร ร ย า เ พื่ อ น กั บ เ พื่ อ น เ ป็ น ต้ น
2.4 ความต้องการความนิยมนับถือในตนเอง เป็นขั้นที่คนเรา
ต้องการยอมรับ ความพอใจและความภูมิใจในตนเอง
2.5 ความต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เป็นความต้องการ
ขั้นสูงสุดของมนุษย์ เนื่องจากมนุษย์สามารถตอบสนองความ
ต้องการในเรื่องปากท้อง ความปลอดภัย ความรักเรื่องศักดิ์ศรีได้
อย่างเพียงพอแล้ว จึงมุ่งพัฒนาศักยภาพของตนเองให้เจริญ
งอกงามมากที่สุด มนุษย์อยากจะศึกษาเพราะ
8
อยากรู้อย่างแท้จริงอยากทำาเพราะใจรักเป็นต้น จากการจัดระเบียบ
ความต้องการของมนุษย์ตามแนวความเชื่อของมาสโลว์ ชี้ให้เห็น
ว่า ความต้องการ ทางสรีระยังเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานที่สุด
ของมนุษย์และเมื่อความต้องการในขั้นนี้ได้รับการตอบสนองแล้วก็
จะเกิดความต้องการในระดับสูงต่อไป 3. ความเชื่อในพระพุทธ
ศาสนา เชื่อว่า แรงผลักดันพฤติกรรมของมนุษย์อันเป็นผลมาจาก
แรงผลักดันในตัวมนุษย์นั้น คือ ความอยากซึ่งเรียกว่า ตัณหา ซึ่ง
แบ่งออกได้เป็น 3 อย่าง
คือ 3.1 กามตัณหา คือ ความอยากในสิ่งที่น่าใคร่ น่าปรารถนา น่า
พอใจ ในรูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส
3.2 ภวตัณหา คือ ความอยากจะเป็นในสิ่งต่างๆ เช่น เป็นเศรษฐี
ของประเทศ
3.3 วิภวตัณหา คือ ความอยากพ้นจากสิ่งที่ไม่พึงปรารถนาต่างๆ
จากตัณหาทั้ง 3 อย่างนี้ จะทำาให้มนุษย์เกิดความยึดมั่นในความ
อยากเหล่านั้น และความอยากก็จะเป็นตัวผลักดันให้มนุษย์กระทำา
ทุกสิ่งทุกอย่าง เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่จะสนองความอยากเหล่านั้น
หรือเพื่อให้ความอยากเหล่านั้นบรรลุความมุ่งหวังที่ตั้งเอาไว้
การวิจัย คือ การศึกษาค้นคว้า อย่างเป็นระบบระเบียบ เพื่อแสวงหา
คำาตอบสำาหรับปัญหา หรือคำาตอการวิจัยที่กำาหนด เพื่อแสวงหา
ความรู้ใหม่ วิธีการทำางานใหม่ ๆ ซึ่งการทำาให้เกิดความก้าวหน้า
ทางวิชาการหรือเกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ ด้วยกระบวนการ
วิทยาศาสตร์ ที่มีการวางแผนล่วงหน้าอย่างมีระบบทุกขั้นตอนการ
ดำาเนินงาน เพื่อให้ผลการศึกษาถูกต้องและเชื่อถือได้ และขาดไม่
ได้คือการเผยแพร่งานวิจัยเพื่อให้มีการนำาผลการวิจัยไปใช้
ประโยชน์หรือแก้ปัญหาต่อไป การวิจัยหรืองานที่เป็นการวิจัย
ต้องประกอบด้วยลักษณะสำาคัญ 3 ประการ
1. เป็นกระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงหรือ
ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ
2. เป็นกระบวนการหรือการกระทำาที่มีระบบ
ระเบียบ
3. เป็นการกระทำาที่มีจุดประสงค์ที่แน่นอน
9
บทที่ 3
วิธีดำำเนินกำรวิจัย
กำรดำำเนินกำรวิจัยเพื่อศึกษำพฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ผู้
วิจัยได้ดำำเนินกำรวิจัยตำมขั้นตอนดำำเนินกำรศึกษำ ดังนี้
1.ประชำกร ประชำกรที่ใช้ในกำรศึกษำ คือนักเรียนวิทยำลัย
เทคโนโลยีอำเซียน
ที่กำำลังศึกษำอยู่ในระดับชั้นปวช. 2/3 สำขำภำษำต่ำงประเทศ
ในภำคเรียนที่ 2 ประจำำปีกำรศึกษำ 2557 จำำนวนนักเรียนจำำนวน
45 คน
2. เครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำ เป็นแบบสอบถำมเพื่อศึกษำ
พฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำนของนักเรียนในระดับชั้นปวช.
2/3 จำำนวน 15 ข้อ
3. วิธีดำำเนินกำรวิจัย
ระยะเวลำในกำรดำำเนินงำน
พฤศจิกำยน 2557 - มีนำคม 2558
วัน เดือน ปี กิจกรรม หมำยเหตุ
พฤศจิกำยน
2557
- ศึกษำ สังเกต สภำพปัญหำ
และวิเครำะห์ปัญหำ
ธันวำคม
2557
- เขียนเค้ำโครงงำนวิจัยในชั้น
เรียน
- ศึกษำเอกสำรกำรสร้ำง
แบบสอบถำม
-ออกแบบและสร้ำง
แบบสอบถำมที่จะใช้ใน งำน
10
วิจัย
มกรำคม
2558
- นักเรียนทำำแบบสอบถำม บันทึก
ข้อมูล
กุมภำพันธ์
2558
- เก็บรวบรวมข้อมูลและ
วิเครำะห์ข้อมูล
บันทึก
ข้อมูล
มีนำคม
2558
- สรุปและอภิปรำยผล
- จัดทำำรูปเล่มรำยงำนผลกำร
วิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
1. แบบสอบถำม
4. ขั้นตอนกำรดำำเนินกำร
ในกำรดำำเนินกำรศึกษำวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษำพฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน/กำรบ้ำน ของนักเรียนโดยใช้
แบบสอบถำมเพื่อหำสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน ผู้วิจัยได้วำงแผนกำร
ดำำเนินกำรศึกษำ สร้ำงแบบสอบถำม โดยใช้ข้อควำมจำกกำร
สังเกตและคำดว่ำจะเป็นสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน และ
ได้ดำำเนินกำรซึ่งมีรำยละเอียดเป็นขั้นตอนดังนี้
1. ขั้นวิเครำะห์ (Analysis)
1.1 วิเครำะห์ข้อมูลพื้นฐำนของผู้เรียน กำรวิเครำะห์ผู้
เรียนได้กำำหนดไว้ดังนี้
ประชำกร คือนักเรียนชั้นปวช. 2/3 สำขำภำษำต่ำงประเทศ
วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน จำำนวน 45 คน ภำคเรียนที่ 2 /
2557
1.2 วิเครำะห์สำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ของ
นักเรียน โดยกำรหำค่ำร้อยละ
2. ขั้นออกแบบ (Design)
ผู้วิจัยดำำเนินกำรสร้ำงแบบสอบถำมเพื่อวัดพฤติกรรมกำรไม่
ส่งงำน/ กำรบ้ำน ของนักเรียน โดยมีลำำดับขั้นตอนกำรสร้ำงดังนี้
ศึกษำเทคนิคกำรสร้ำงแบบสอบถำมจำกเอกสำรต่ำงๆ
สร้ำงแบบสอบถำมเพื่อวัดพฤติกรรมของนักเรียนเพื่อหำสำเหตุใน
กำรไม่ส่งงำน/กำรบ้ำนของนักเรียนในระดับชั้นปวช. 2/3 จำำนวน
15 ข้อ โดยให้นักเรียนใส่หมำยเลขลำำดับสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน
จำกลำำดับมำกที่สุด (1) ไปจนถึงลำำดับน้อยที่สุด (15)
11
นำำแบบวัดเจตคติที่สร้ำงขึ้นเสนอต่อที่ปรึกษำงำนวิจัย เพื่อตรวจ
สอบแก้ไข นำำแบบวัดเจตคติมำปรับปรุงแก้ไขก่อนนำำไปใช้จริง
3. ขั้นดำำเนินกำร
ในกำรวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้มีกำรดำำเนินกำรดังนี้
3.1 นำำแบบสอบถำมเพื่อศึกษำพฤติกรรม กำรไม่ส่งงำน /
กำรบ้ำน ของนักเรียนชั้น จำำนวน 45 คน เพื่อหำสำเหตุของกำรไม่
ส่งงำน และทำำกำรบันทึกคะแนน
3.2 ดำำเนินกำรหำค่ำร้อยละของแต่ละข้อสำเหตุ
5. ขั้นวิเครำะห์ข้อมูล
4.1 วิเครำะห์ข้อมูล
- วิเครำะห์ผลจำกคะแนนที่ได้จำกกำรทำำแบบสอบถำม
เพื่อศึกษำพฤติกรรม
4.2 สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
4.2.1 กำรหำค่ำร้อยละ
ค่ำร้อยละ = ∑x × 100
N
เมื่อ X = คะแนนที่ได้
N = จำำนวนนักเรียนทั้งหมด
บทที่ 4
ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล
จำกกำรศึกษำวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำ
พฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน/กำรบ้ำนของนักเรียนระดับชั้นปวช. 2/3
เพื่อนำำผลกำรวิจัยมำเก็บเป็นข้อมูลเพื่อหำสำเหตุ และนำำไปแก้ไข
ปัญหำในกำรเรียนกำรสอนและเพื่อให้นักเรียนเห็นควำมสำำคัญของ
กำรส่งงำนและกำรบ้ำน โดยใช้แบบสอบถำมเพื่อศึกษำพฤติกรรม
จำำนวน 15 ข้อ โดยกลุ่มตัวอย่ำงซึ่งเป็นนักเรียนชั้นปวช.
2/3 ภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2557 จำำนวน 45 คน โดย
สำมำรถวิเครำะห์ผลได้ดังนี้
5.1 ผลกำรประเมินแบบสอบถำมของนักเรียนในเรื่องกำรไม่
ส่งงำน / กำรบ้ำน เกี่ยวกับกำรหำสำเหตุที่ไม่ส่งงำน กำรบ้ำนของ
นักเรียนชั้นปวช. 2/3 วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน จังหวัด
หนองคำย
12
ตำรำง 1 ผลกำรประเมินแบบสอบถำมของนักเรียน
ถึงสำเหตุที่ผู้เรียนไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน
สำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ลำำดับ
ที่
ร้อยละ
1. กำรบ้ำนหรือวิชำเรียนมำกเกินไป 1-2 65.85
2. แบบฝึกหัดยำกทำำไม่ได้ 8-11 17.07
3. ทำำภำรกิจอย่ำงอื่นจนลืมทำำกำรบ้ำน 12-14 14.63
4. เวลำน้อย 8 14.63
5. สนใจสื่อสังคมหรือเทคโนโลยีกำรสื่อสำร
มำกเกินไป
9 12.20
6. ไม่เข้ำใจคำำสั่งกำรทำำแบบฝึกหัดใน
รำยวิชำภำษำอังกฤษ
3-4 41.46
7. ไม่ได้นำำสมุดมำ 5 14.63
8. เบื่อหน่ำยไม่อยำกทำำ 8-11 17.07
9. ช่วยเหลืองำนผู้ปกครอง 8-11 17.07
10. หนังสือหำยหรือฝำกไว้กับเพื่อน 8-11 17.07
11. ลืมทำำ 12-14 14.63
12. ไม่มีคนคอยให้คำำปรึกษำ 15 4.88
13. เตรียมตัวสอบเก็บคะแนนวิชำอื่น 5 23.51
14. ทำำงำนพิเศษ ( Part – Time) 6-7 19.51
15. ทำำกิจกรรมของโรงเรียน 6-7 19.51
จำกตำรำงที่ 1 แสดงให้เห็นว่ำกำรตอบแบบสอบถำมของ
นักเรียนในเรื่องสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน โดยทำำกำร
เรียงลำำดับจำกสำเหตุที่นักเรียนที่นักเรียนคิดว่ำเป็นสำำเหตุที่สำำคัญ
ที่สุดจนถึงสำเหตุที่น้อยที่สุด ตำมลำำดับ 1 – 15 ดังต่อไปนี้
กำรบ้ำนหรือวิชำเรียนมำกเกินไป อยู่ในลำำดับที่ 1 – 2 คิดเป็น
ร้อยละ 65.85 ( 27 คน )
สนใจสื่อสังคมหรือเทคโนโลยีกำรสื่อสำรมำกเกินไป อยู่ในลำำดับที่
3 คิดเป็นร้อยละ 12.20 ( 5 คน)
แบบฝึกหัดยำกทำำไม่ได้ อยู่ในลำำดับที่ 8-11 คิดเป็น
ร้อยละ 17.07 ( 7 คน )
ไม่ได้นำำสมุดมำ อยู่ในลำำดับที่ 5 คิดเป็น
ร้อยละ 14.63 ( 6 คน )
13
ไม่เข้าใจคำาสั่งการทำาแบบฝึกหัดในรายวิชาภาษาอังกฤษ อยู่
ในลำาดับที่ 3 – 4
คิดเป็นร้อยละ 41.46
( 17 คน )
ทำาภารกิจอย่างอื่นจนลืมทำาการบ้าน อยู่ในลำาดับที่ 12-14 คิด
เป็นร้อยละ 14.63 ( 6 คน )
เบื่อหน่าย ไม่อยากทำา อยู่ในลำาดับที่ 8-11 คิดเป็นร้อยละ
17.07 ( 7 คน )
หนังสือหายหรือฝากไว้กับเพื่อน อยู่ในลำาดับที่ 8-11 คิดเป็น
ร้อยละ 17.07 ( 7 คน )
ลืมทำา อยู่ในลำาดับที่ 10 คิดเป็นร้อยละ
14.63 ( 6 คน )
ไม่มีคนคอยให้คำาปรึกษา อยู่ในลำาดับที่ 15 คิดเป็น
ร้อยละ 4.88 ( 2 คน )
ทำางานพิเศษ (Part – Time) อยู่ในลำาดับที่ 6-7 คิดเป็น
ร้อยละ 19.51 ( 8 คน )
ช่วยเหลืองานผู้ปกครอง อยู่ในลำาดับที่ 8-11 คิดเป็น
ร้อยละ 17.07 ( 7 คน )
เวลาน้อย อยู่ในลำาดับที่ 14 คิดเป็นร้อยละ
14.63 ( 6 คน )
ทำากิจกรรมของโรงเรียน อยู่ในลำาดับที่ 6-7 คิดเป็น
ร้อยละ 19.51 ( 8 คน )
เตรียมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น อยู่ในลำาดับที่ 5 คิด
เป็นร้อยละ 23.51 (12 คน )
บทที่ 5
14
สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรม
การไม่ส่งงาน / การบ้านของนักเรียนชั้นปวช. 2/3 สาขาภาษา
ต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน แสดงให้เห็นว่า สาเหตุ
ของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ลำาดับที่ 1 คือ การให้การบ้านหรือ
วิชาเรียนมากเกินไป และไม่เข้าใจคำาสั่งการทำาแบบฝึกหัดใน
รายวิชาภาษาอังกฤษ โดยคิดจากนักเรียน 45 คน ที่เลือกเป็น
สาเหตุอันดับที่ 1 และ 2 จำานวน 27 คน คิดเป็น ร้อยละ 65.85
และลำาดับที่ 3-4 จำานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 41.46
อภิปรายผลการศึกษา
จากการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน
/ การบ้าน ของนักเรียนระดับชั้นปวช. 2/3 สาขาภาษาต่าง
ประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน ในครั้งนี้สามารถ
อภิปรายผลได้ดังนี้
1. พบว่าแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน /
การบ้าน ของนักเรียนระดับชั้นปวช. 2/3 วิทยาลัย
เทคโนโลยีอาเซียน ได้ทำาให้ทราบถึงสาเหตุที่สำาคัญมาก
ที่สุด จนถึงสาเหตุที่น้อยที่สุด ในการไม่ส่งงาน / การบ้าน
คือ การบ้านหรือวิชาเรียนมากเกินไป ไม่เข้าใจคำาสั่งการ
ทำาแบบฝึกหัดในรายวิชาภาษาอังกฤษ ไม่ได้นำาสมุดมา
ไม่น่าสนใจ เบื่อหน่าย ไม่อยากทำา หนังสือหาย ลืมทำา
ไม่มีคนคอยให้คำาปรึกษา ช่วยเหลืองานผู้ปกครอง
ทำางานพิเศษ (Part – Time) เวลาน้อย ทำากิจกรรม
โรงเรียน และเตรียมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น
ข้อเสนอแนะการวิจัย
1. ในการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่ง
งาน / การบ้าน ของนักเรียนชั้นปวช. 2/3 อาจจัดทำากับ
นักเรียนทั้งระดับชั้นปวช. สาขาภาษาต่างประเทศ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน เพื่อเป็นการศึกษาในภาพ
รวม เพราะการวิจัยครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นเพียง
นักเรียนในระดับชั้นปวช. 2/3 เท่านั้น ซึ่งอาจจะได้ผล
การวิจัยที่แตกต่างกันก็เป็นไปได้
15
2. ในการวิจัยครั้งต่อไปอาจเจาะจงทำาการวิจัยกลุ่มนักเรียน
ในระดับชั้นอื่นๆ ต่อไป และอาจแยกหัวข้อเป็นรายวิชา
ต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ระเอียดขึ้น ซึ่งจะได้นำาผลการ
ทดลองที่ได้ไปแก้ไขปัญหาในการไม่ส่งงาน / การบ้าน
ของนักเรียนต่อไป
ตารางการทำาวิจัยในชั้นเรียน
วัน เดือน ปี กิจกรรม หมายเหตุ
พฤศจิกายน
2557
- ศึกษา สังเกต สภาพปัญหา
และวิเคราะห์ปัญหา
ธันวาคม
2557
- เขียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้น
เรียน
- ศึกษาเอกสารการสร้าง
แบบสอบถาม
-ออกแบบและสร้าง
แบบสอบถามที่จะใช้ในงานวิจัย
มกราคม
2558
- นักเรียนทำาแบบสอบถาม บันทึกข้อมูล
กุมภาพันธ์
2558
- เก็บรวบรวมข้อมูลและ
วิเคราะห์ข้อมูล
บันทึกข้อมูล
มีนาคม
2558
- สรุปและอภิปรายผล
- จัดทำารูปเล่มรายงานผลการ
วิจัย
ตาราง 1 ผลการประเมินแบบสอบของนักเรียนถึง
สาเหตุที่ผู้เรียนไม่ส่งงาน / การบ้าน
สาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ลำาดับ
ที่
ร้อยละ
1. การบ้านหรือวิชาเรียนมากเกินไป 1-2 65.85
2. แบบฝึกหัดยากทำาไม่ได้ 8-11 17.07
3. ทำาภารกิจอย่างอื่นจนลืมทำาการบ้าน 12-14 14.63
4. เวลาน้อย 8 14.63
5. สนใจสื่อสังคมหรือเทคโนโลยีการสื่อสาร
มากเกินไป
9 12.20
16
6. ไม่เข้าใจคำาสั่งการทำาแบบฝึกหัดใน
รายวิชาภาษาอังกฤษ
3-4 41.46
7. ไม่ได้นำาสมุดมา 5 14.63
8. เบื่อหน่ายไม่อยากทำา 8-11 17.07
9. ช่วยเหลืองานผู้ปกครอง 8-11 17.07
10. หนังสือหายหรือฝากไว้กับเพื่อน 8-11 17.07
11. ลืมทำา 12-14 14.63
12. ไม่มีคนคอยให้คำาปรึกษา 15 4.88
13. เตรียมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น 5 23.51
14. ทำางานพิเศษ ( Part – Time) 6-7 19.51
15. ทำากิจกรรมของโรงเรียน 6-7 19.51
ข้ อ คิ ด เ ห็ น แ ล ะ เ ส น อ แ น ะ ทั่ ว ไ ป
- อยากให้มีรายวิชาเรียนที่น้อยลง
- อยากได้การบ้านแบบพอดีๆไม่น้อยไม่มากเกินไป
- อยากให้มีงานและการบ้านน้อยๆ
- อยากได้การบ้านน้อยๆ วันละ 1 อย่าง
- อยากให้การบ้านพอสมควรกับเวลา
- อยากเรียนอย่างเดียวไม่มีการบ้าน
- การบ้านไม่ยากเกินไป
- อยากได้การบ้านวันละ 1 วิชา
- อยากให้มีการบ้านสัปดาห์ละ 1 วิชา
- ควรให้เวลาในการทำาการบ้านและลดการบ้านลง
- ไม่อยากมีการบ้าน ให้สอนแล้วให้ นักเรียนจดใน
กระดานแล้วเอาไปอ่านเตรียมสอบแทน
- อยากให้มีการบ้านง่าย ๆ และน้อยๆ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เพศศึกษา
เพศศึกษาเพศศึกษา
เพศศึกษา
duesdee tawon
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
guest5660a9a
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
tassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
tassanee chaicharoen
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
apiromrut
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
guestabb00
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
tassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
suchinmam
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
tassanee chaicharoen
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
New Nan
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
พัน พัน
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
tassanee chaicharoen
 

Mais procurados (20)

เพศศึกษา
เพศศึกษาเพศศึกษา
เพศศึกษา
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 

Destaque (7)

Double consonants in Katakana
Double consonants in KatakanaDouble consonants in Katakana
Double consonants in Katakana
 
Katakana quiz 2
Katakana quiz 2Katakana quiz 2
Katakana quiz 2
 
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่นโครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
 
Eng016
Eng016Eng016
Eng016
 
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 

Semelhante a วิจัยในชั้นเรียน

จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
kungcomedu
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
krubuatoom
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Sasipron Tosuk
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
tassanee chaicharoen
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
supap6259
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
tassanee chaicharoen
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์
Sarid Tojaroon
 

Semelhante a วิจัยในชั้นเรียน (20)

51105
5110551105
51105
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
Isstrain
IsstrainIsstrain
Isstrain
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
04chap2
04chap204chap2
04chap2
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 

วิจัยในชั้นเรียน

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนำำ 1. ที่มำและควำมสำำคัญของปัญหำ ปัจจุบันจำกกำรสอบถำมครูผู้สอนในรำยวิชำต่ำงๆ ของ นักเรียนในระดับชั้นปวช. 2.3 พบว่ำนักเรียนส่วนใหญ่มักจะส่ง งำน / กำรบ้ำนไม่ตรงเวลำที่ครูผู้สอนกำำหนด หรือบำงคนก็ไม่ส่ง งำน / หรือกำรบ้ำนเลย ซึ่งทำำให้ครูผู้สอนไม่สำมำรถวัดควำมรู้ หรือติดตำมควำมก้ำวหน้ำของนักเรียนได้ ซึ่งในบำงรำยวิชำอำจมี ผลต่อคะแนนเก็บของนักเรียนด้วย ดังนั้น ผู้วิจัยซึ่งในฐำนะที่เป็น ทั้งครูผู้สอนและครูประจำำวิชำเห็นควำมสำำคัญของปัญหำดังกล่ำว จึงได้ทำำกำรวิจัยเพื่อศึกษำพฤติกรรมของนักเรียนในระดับชั้นปวช. 2/3 วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน เพื่อนำำมำเป็นข้อมูลในกำรแก้ ปัญหำของนักเรียนในเรื่องกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ในครั้งต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษำพฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน ของนักเรียนในระดับชั้น ปวช. 2/3 สำขำภำษำต่ำงประเทศ 2. เพื่อแจกแจงข้อมูล / สำเหตุ กำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ของ นักเรียนสำขำภำษำต่ำงประเทศ 3. เพื่อวิเครำะห์หำแนวทำงกำรพัฒนำพฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน ในครั้งต่อไป ท ำ ง เ ลื อ ก ที่ ค ำ ด ว่ ำ จ ะ แ ก้ ปั ญ ห ำ จัดทำำแบบสอบถำมเพื่อศึกษำพฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ของนักเรียนชั้นปวช. 2/3 เพื่อนำำผลจำกกำรวิจัยมำเก็บ เป็นข้อมูลเพื่อนำำไปแก้ไขปัญหำในกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ปรับ วิธีกำรเรียนกำรสอน รวมทั้งเพื่อให้นักเรียนเห็นควำมสำำคัญของ กำรส่งงำน / กำรบ้ำน จุดมุ่งหมำย 1. เพื่อศึกษำสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ของนัก เรียนชั้นปวช. 2/3 2. เพื่อรวบรวมข้อมูลสำำหรับกำรแก้ปัญหำกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำนของนักเรียน ตัวแปรที่ศึกษำ
  • 2. 2 1. แบบสอบถำมเพื่อศึกษำพฤติกรรมชองนักเรียนชั้นปวช. 2/3 วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน ในเรื่องกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน 2. ระดับคะแนนเฉลี่ยของแบบสอบถำม กรอบแนวคิดในกำรวิจัย กำรวิจัยครั้งนี้เป็นกำรศึกษำพฤติกรรมไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ของนักเรียนในระดับชั้น ปวช. 2/3 ผู้วิจัยได้จัด ทำำแบบสอบถำมเพื่อศึกษำสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำนของ นักเรียนจำำนวน 15 ข้อ โดยให้นักเรียนเรียงลำำดับสำเหตุกำรไม่ส่ง งำน / กำรบ้ำนตำมลำำดับที่มำกที่สุดจนถึงน้อยที่สุดจำกลำำดับ 1 – 15 และได้ทำำกำรนำำผลของแต่ละสำเหตุ มำหำค่ำ ร้อยละ แล้วนำำ ข้อมูลมำวิเครำะห์และหำข้อสรุปพร้อมทั้งนำำเสนอในรูปของตำรำง ประกอบคำำบรรยำย เพื่อศึกษำพฤติกรรมต่ำงๆ ของนักเรียนในกำร ไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน 3. ขอบเขตของกำรวิจัย ในกำรศึกษำวิจัยครั้งนี้เป็นกำรสร้ำงแบบสอบถำมเพื่อศึกษำ พฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำนของนักเรียนชั้นปวช. 2/3 วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน โดยใช้ข้อควำมที่ได้จำกกำรสังเกต และคำดว่ำจะเป็นสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน จำำนวน 15 ข้อ 4. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. ทรำบพฤติกรรมและสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ของนักเรียนระดับชั้นปวช. 2/3 2. ได้ข้อมูลหรือแนวทำงในกำรแก้ปัญหำกำรเรียนกำรสอน กำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน
  • 3. 3 บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในกำรดำำเนินกำรวิจัย เรื่อง ศึกษำพฤติกรรมกำรไม่ส่ง งำน / กำรบ้ำนของนักเรียนชั้นปวช. 2/3 สำขำภำษำต่ำงประเทศ วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน จังหวัด หนองคำย มีเอกสำรที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ พฤติกรรม หมำยถึง กิริยำอำกำรต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นกับมนุษย์หรือที่ มนุษย์ได้แสดง หรือปฏิกิริยำที่เกิดขึ้นกับมนุษย์เมื่อได้เผชิญกับสิ่ง เร้ำ พฤติกรรมต่ำง ๆ ที่กล่ำวมำแล้ว อำจจะจำำแนกออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. พฤติกรรมที่ไม่สำมำรถควบคุมได้เรียกว่ำ เป็นปฏิกิริยำสะท้อน เช่น กำรสะดุ้งเมื่อถูกเข็มแทง กำร สิ่งมำกระทบกับสำยตำฯลฯ 2.พฤติกรรมที่สำมำรถควบคุมและจัดระเบียบได้เนื่องจำกมนุษย์มี สติปัญญำและอำรมณ์(EMOTION) เมื่อมีสิ่งเร้ำมำกระทบสติปัญญำ หรือำรมณ์ จะเป็นตัวตัดสินว่ำควรจะปล่อยกิริยำใดออกไป ถ้ำสติปัญญำควบคุมกำรปล่อยกิริยำ เรำเรียกว่ำเป็นกำรกระทำำตำม ควำมคิดหรือ ทำำด้วยสมอง แต่ถ้ำอำรมณ์ควบคุมเรียกว่ำ เป็นกำร ทำำตำมอำรมณ์หรือปล่อยตำมใจนักจิตวิทยำส่วนใหญ่เชื่อว่ำ อำรมณ์มีอิทธิพลหรือพลังมำกกว่ำสติปัญญำ ทั้งนี้เพรำะมนุษย์ทุก คนยังมีควำมโลภ ควำมโกรธ ควำมหลงทำำให้พฤติกรรมส่วนใหญ่ เป็นไปตำมควำมรู้สึกและอำรมณ์เป็นพื้นฐำน รูปแบบพฤติกรรมของมนุษย์ แบ่งได้เป็น 2 อย่ำงคือ 1. พฤติกรรมเปิดเผยหรือพฤติกรรมภำยนอก (Overt Behavior) เป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกมำ
  • 4. 4 2. พฤติกรรมปกปิดหรือพฤติกรรมภำยใน (Covert Behavior) เป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงแล้ว แต่ผู้อื่นไม่สำมำรถมองเห็นได้ สังเกตได้โดยตรงจนกว่ำบุคคลนั้นจะเป็นผู้บอกหรือแสดงบำงอย่ำง เพื่อให้คนอื่นรับรู้ได้ เช่น ควำมคิด อำรมณ์ กำรรับรู้ ประเภทของพฤติกรรมมนุษย์ นักจิตวิทยำแบ่งพฤติกรรมมนุษย์ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. พฤติกรรมที่มีมำแต่กำำเนิด ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่มีกำรเรียนรู้มำก่อน ได้แก่ ปฏิกิริยำสะท้อนกลับ (REFLECT ACTION) เช่นกำรกระ พริบตำ และสัญชำตญำณ (INSTINCT) เช่นควำมกลัว ก ำ ร เ อ ำ ตั ว ร อ ด เ ป็ น ต้ น 2. พฤติกรรมที่เกิดจำกอิทธิพลของกลุ่ม ได้แก่ พฤติกรรมที่เกิดจำก กำร ที่บุคคลติดต่อสังสรรค์และมีควำมสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม ดังนั้น กำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์ให้เหมำะสมกับสิ่ง แวดล้อมแบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะคือ 1. กำรปรับเปลี่ยนทำงด้ำนของสรีระร่ำงกำย เช่น กำรปรับปรุง บุ ค ลิ ก ภ ำ พ ก ำ ร แ ต่ ง ก ำ ย ก ำ ร พู ด 2. กำรปรับเปลี่ยนทำงด้ำนอำรมณ์และควำมรู้สึกนึกคิด ให้มีควำม สัมพันธภำพที่ดีกับบุคคลอื่น ปรับอำรมณ์ควำมรู้สึกให้สอดคล้องกับ บุ ค ค ล อื่ น รู้ จั ก ก ำ ร ย อ ม รั บ ผิ ด 3. กำรปรับเปลี่ยนทำงด้ำนสติปัญญำ เช่น กำรศึกษำค้นคว้ำเพื่อ ให้มีควำมรู้ที่ทันสมัย ทันเหตุกำรณ์ กำรมีควำมคิดเห็นคล้อยตำม ค ว ำ ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ค น ส่ ว น ใ ห ญ่ 4. กำรปรับเปลี่ยนอุดมคติ หมำยถึง กำรสำมำรถปรับเปลี่ยนหลัก กำร แนวทำงบำงส่วนบำงตอนเพื่อให้เข้ำกับสังคมส่วนใหญ่ได้ โดยพิจำรณำจำกควำมจำำเป็น และเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุ เป้ำหมำย เป็นประโยชน์แก่ตนเอง เพื่อสวัสดิภำพของตนเองและ ของกลุ่ม กำรศึกษำเกี่ยวกับกำรเกิดของพฤติกรรมมนุษย์ มนุษย์ได้พยำยำมที่จะศึกษำกำรเกิดพฤติกรรมของมนุษย์ด้วย ตนเอง เพื่อประโยชน์ในกำรที่จะทำำให้กำรอยู่ร่วมกันในสังคมเป็น ไปด้วยดี และมีควำมสุข จึงทำำให้เกิดมีควำมเชื่อหลักกำรและทฤษฎี ต่ำงๆ เกิดขึ้นอย่ำงมำกมำย จำกบรรดำผู้รู้และนักกำรศึกษำทั้ง หลำยที่พยำยำมหำหลักเกณฑ์มำเพื่ออธิบำยพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งสำมำรถรวบรวมทัศนะต่ำงๆ เป็นหมวดหมู่ได้ 3 ประเภท
  • 5. 5 1. พฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้นจากแรงผลักดันภายในตัวของ มนุษย์ 2. พฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้นจากแรงผลักดันของสิ่งแวดล้อม 3. พฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้นจากทั้งแรงผลักดันภายในตัวมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม 1. พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากแรงผลักดันภายในตัวมนุษย์ แรงผลักดันที่ทำาให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมาก็คือ ความ ต้องการ ซึ่งความต้องการนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ความต้องการทางร่างกาย และความต้องการทางจิตใจ 1.1 ความต้องการทางด้านร่างกาย เป็นแรงผลักดันที่อยู่ใน ระดับพื้นฐานที่สุด แต่มีพลังอำานาจสูงสุด เพราะเป็นแรงผลักดันที่จะ ทำาให้ชีวิตอยู่รอด มนุษย์จะต่อสู้ดิ้นรนทุกวิถีทางเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่ง ที่จะมาบำา บัดความต้องการทางร่างกาย ทำา ให้มนุษย์แสดง พฤติกรรมต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นทั้งทางที่ดีที่ถูกต้องหรือทางที่ไม่ถูก ต้ อ ง ก็ ไ ด้ ความต้องการทางร่างกายที่จะทำาให้ชีวิตอยู่รอด ได้แก่ ความ ต้องการอาหาร นำ้า อากาศ อุณหภูมิที่พอเหมาะ การพักผ่อน การ ขับถ่าย การสืบพันธุ์ ความปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ การ ตอบสนองความต้องการทางร่างกาย อันทำา ให้มนุษย์แสดง พฤติกรรมออกมานั้น สามารถกระทำาได้ 2 ระดับ คือ 1.1.1 กิริยา ส ะ ท้อ น เป็นการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ที่เป็นไปได้โดย ธรรมชาติ เช่น เมื่อร่างกายมีอุณหภูมิสูงกว่าปกติร่างกายก็จะขับ เหงื่อออกมาเป็นการลดอุณหภูมิให้อยู่ในระดับพอเหมาะ 1.1.2 พฤติกรรมเจตนา เป็นการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ต่อ สิ่งเร้าโดยความตั้งใจหรือความพอใจของตนเองเช่นเมื่อรู้สึกตัวว่า ร้ อ น ก็ จ ะ ไ ป อ า บ นำ้า ห รื อ เ ปิ ด พั ด ล ม เ ป็ น ต้ น 1.2 ความต้องการทางจิตใจ เป็นแรงผลักดันที่อยู่ในระดับสูง ขึ้นกว่าความต้องการทางร่างกาย แต่มีพลังอำานาจน้อยกว่า เพราะความต้องการทางจิตใจนี้ ไม่ใช่ ความต้องการที่เป็นความตายของชีวิต จะเป็นความต้องการที่มาช่วยสร้างเสริมให้ชีวิตมีความสุขความ สบายยิ่งขึ้นเท่านั้น มีนักจิตวิทยาหลายคนได้อธิบายถึงแรงผลักดัน ภายในร่างกาย อันมีผลทำาให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมต่างๆ ดังนี้ 1. ซิก มัน ด์ ฟ ร อ ย ด์ (Sigmund Freud) นักจิตวิทยาชาว ออสเตรีย ได้วิเคราะห์จิตมนุษย์ออกเป็นองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ อิด (Id) อีโก้ (Ego) และซุปเปอร์อีโก้ (Super Ego) ส่วนทั้งสามนี้
  • 6. 6 ประกอบเป็นโครงสร้างทางจิต (ศรีราชา เจริญพานิช, 2526 : 13) อิด เป็นสัญชาตญาณในตัวมนุษย์ จะอยู่ในรูปของพลังงานที่คอย ผลักดันให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมต่างๆ พลังงานนี้มีสองส่วนคือ ส่วนหนึ่งจะผลักดันให้มีชีวิตอยู่รอด เรียกว่า สัญญาณชีวิต และอีก ส่วนหนึ่งจะผลักดันให้ชีวิตดับ เรียกว่า สัญญาณความตาย อิดเป็น ส่วนของจิตที่คนเราไม่รู้สึก เป็นจิตใต้สำานึก แรงผลักดันนี้จึงมีอยู่ โดยที่คนเราไม่รู้สึกตัว เป็นแรงผลักดันไร้สำานึก อิดจะผลักดันให้จิต อีกส่วนหนึ่งซึ่งเป็นส่วนใหญ่และส่วนที่รู้ตัว ที่เรียกว่า อีโก้ กระทำา ในสิ่งต่างๆ ตามที่อิดต้องการ ทั้งส่วนที่เป็นสัญญาณชีวิต และส่วน ที่เป็นสัญญาณความตาย จึงเป็นตัวตอบสนองความต้องการของอิด ส่วนของจิตที่ทำาหน้าที่ควบคุมสัญชาตญาณเหล่านี้คือ ซุปเปอร์อีโก้ หรือ มโนธรรมที่มีอยู่ในจิตของแต่ละบุคคล เป็นความรู้สึกผิดชอบ ชั่วดี เป็นผลเกิดจากการอบรมสั่งสอนของสังคม ทำาให้อิดและอีโก้มี พฤติกรรมอยู่ทางที่ถูกที่ควรเป็นที่ยอมรับของสังคม แรงผลักดัน ของอิดจะทำาให้เกิดความตึงเครียด อีโก้จะต้องพยายามตอบสนอง ความต้องการของอิดเพื่อลดความตึงเครียด แต่ความต้องการของ อิดบางอย่าง อีโก้ก็ไม่อาจทำาตามเพราะไปขัดกับมโนธรรมใน ซุปเปอร์อีโก้ จึงทำาให้เกิดความตึงเครียด และความวิตกกังวลใจ เกิดขึ้น ความวิตกกังวลนี้จึงเป็นแรงผลักดันพฤติกรรมอีกแรงหนึ่ง เพื่อปกป้องตนเองให้รอดนั้น ความวิตกกังวล อีโก้จึงต้องพัฒนา พฤติกรรมป้องกันที่เรียกว่า “กลไกป้องกัน” ซึ่งเป็นไปโดยไม่รู้สึก ตั ว ตั ว อ ย่ า ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ป้ อ ง กั น ไ ด้ แ ก่ 1. การเก็บกด (Repression) คือการที่อีโก้จะพยายามเก็บความ รู้สึกที่เป็นความปรารถนาที่สังคมไม่ยอมรับต่างๆเช่นความอิจฉาพ่อ แม่พี่น้องของตนเอง ซึ่งถ้าแสดงออกมาก็จะถูกสั่งตำา หนิ 2. การถอดแบบ (Identification) เป็นการยอมรับในสิ่งที่อิดเกิด ความอิจฉาและนำาเอาพฤติกรรมของสิ่งนั้นมาเป็นแบบแผนในการ แสดงพฤติกรรมของตนเอง ซึ่งทำาให้ความวิตกกังวลหมดไปได้ 3. การยึดแน่น (Fixation) เป็นการยึดแน่นในพฤติกรรมที่ตน ต้องการ แต่ไม่ได้รับการตอบสนองตั้งแต่ตอนวัยเด็ก จนเติบโตเป็น ผู้ใหญ่ ก็จะแสดงพฤติกรรมต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งตอบสนอง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร 4. การแสดงพฤติกรรมตรงข้าม (Reaction Formation) คือ การ แสดงที่ตรงข้ามกับความต้องการของอิดที่ไม่เป็นที่ยอมรับของสังคม เช่น ผู้หญิงอิจฉาแม่ แต่แสดงพฤติกรรมเป็นห่วงหรือเอาอกเอาใจ ตลอดเวลา
  • 7. 7 5. การตำาหนิผู้อื่น (Projection) เป็นการคิดว่า ผู้อื่นมีลักษณะไม่ดี เพื่อกลบเกลื่อนลักษณะที่มีในตนเอง เพื่อตนเองจะได้เกิดความ ส บ า ย ใ จ 6. การถดถอย (Regression) เป็นการแสดงพฤติกรรมที่ถดถอย ไปสู่วัยเด็ก 7. พฤติกรรมเบี่ยงเบน (Sublination) เป็นการแสดงพฤติกรรม อย่างอื่นเพื่อทดแทนพฤติกรรมที่ตนต้องการ แต่ไม่สามารถ แสดงออกได้ เช่น ความต้องการทางเพศ ความก้าวร้าวก็แสดงออก ในรูปการเขียนกลอนการร้องเพลงการทำา งานหนักเป็นต้น 8. การทดแทน (Displacement) คือ การแสดงความปรารถนากับ อีกบุคคลหนึ่งหรือสิ่งหนึ่งเพื่อเป็นการทดแทน เช่น ถูกนายจ้างดุด่า ก็ไประบายกับลูกเมียที่บ้าน ขาดแม่ก็อาจจะหลงรักใครเหมือนกับ รั ก แ ม่ ข อ ง ต น 2. อับราฮัม มาสโลว์ (Abrahum Maslow) เป็นนักจิตวิทยา ในกลุ่มมนุษยนิยม (Humanism) ซึ่งนักจิตวิทยากลุ่มนี้ มีความเชื่อว่า มนุษย์มิใช่ทาสของแรงผลักดัน ต่างๆ เช่น ความหิวกระหายเท่านั้น แต่มนุษย์ยังเกิดมาพร้อม ศักยภาพของความเป็นมนุษย์ต่างๆ เช่น ความอยากรู้ ความ สร้างสรรค์ และความต้องการที่จะพัฒนาตนเองจนเต็มขีดความ สามารถ มาสโลว์ได้เน้นให้เห็นถึงความต้องการให้แต่ละคน ใน การพัฒนาศักยภาพของตนให้เป็นจริงขึ้นมามากเป็นพิเศษ เขาเห็น ว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมด้วยความต้องการ 5 อย่างซึ่งเรียงตามลำาดับ ค ว า ม สำา คั ญ ม า ก น้ อ ย ก่ อ น ห ลั ง ไ ด้ ดั ง นี้ 2.1 ความต้องการทางสรีระ หรือร่างกาย ซึ่งเป็นความต้องการ ขั้ น แ ร ก สุ ด 2.2 ความต้องการสวัสดิภาพ หรือความปลอดภัยทั้งปวง จะเกิด ขึ้นเมื่อความต้องการทางสรีระได้รับการตอบสนองแล้ว 2.3 ความต้องการความรัก เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นจากการ ที่บุคคลมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในรูปแบบต่างๆ เช่นพ่อแม่กับ ลู ก ส า มี กั บ ภ ร ร ย า เ พื่ อ น กั บ เ พื่ อ น เ ป็ น ต้ น 2.4 ความต้องการความนิยมนับถือในตนเอง เป็นขั้นที่คนเรา ต้องการยอมรับ ความพอใจและความภูมิใจในตนเอง 2.5 ความต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เป็นความต้องการ ขั้นสูงสุดของมนุษย์ เนื่องจากมนุษย์สามารถตอบสนองความ ต้องการในเรื่องปากท้อง ความปลอดภัย ความรักเรื่องศักดิ์ศรีได้ อย่างเพียงพอแล้ว จึงมุ่งพัฒนาศักยภาพของตนเองให้เจริญ งอกงามมากที่สุด มนุษย์อยากจะศึกษาเพราะ
  • 8. 8 อยากรู้อย่างแท้จริงอยากทำาเพราะใจรักเป็นต้น จากการจัดระเบียบ ความต้องการของมนุษย์ตามแนวความเชื่อของมาสโลว์ ชี้ให้เห็น ว่า ความต้องการ ทางสรีระยังเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานที่สุด ของมนุษย์และเมื่อความต้องการในขั้นนี้ได้รับการตอบสนองแล้วก็ จะเกิดความต้องการในระดับสูงต่อไป 3. ความเชื่อในพระพุทธ ศาสนา เชื่อว่า แรงผลักดันพฤติกรรมของมนุษย์อันเป็นผลมาจาก แรงผลักดันในตัวมนุษย์นั้น คือ ความอยากซึ่งเรียกว่า ตัณหา ซึ่ง แบ่งออกได้เป็น 3 อย่าง คือ 3.1 กามตัณหา คือ ความอยากในสิ่งที่น่าใคร่ น่าปรารถนา น่า พอใจ ในรูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส 3.2 ภวตัณหา คือ ความอยากจะเป็นในสิ่งต่างๆ เช่น เป็นเศรษฐี ของประเทศ 3.3 วิภวตัณหา คือ ความอยากพ้นจากสิ่งที่ไม่พึงปรารถนาต่างๆ จากตัณหาทั้ง 3 อย่างนี้ จะทำาให้มนุษย์เกิดความยึดมั่นในความ อยากเหล่านั้น และความอยากก็จะเป็นตัวผลักดันให้มนุษย์กระทำา ทุกสิ่งทุกอย่าง เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่จะสนองความอยากเหล่านั้น หรือเพื่อให้ความอยากเหล่านั้นบรรลุความมุ่งหวังที่ตั้งเอาไว้ การวิจัย คือ การศึกษาค้นคว้า อย่างเป็นระบบระเบียบ เพื่อแสวงหา คำาตอบสำาหรับปัญหา หรือคำาตอการวิจัยที่กำาหนด เพื่อแสวงหา ความรู้ใหม่ วิธีการทำางานใหม่ ๆ ซึ่งการทำาให้เกิดความก้าวหน้า ทางวิชาการหรือเกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ ด้วยกระบวนการ วิทยาศาสตร์ ที่มีการวางแผนล่วงหน้าอย่างมีระบบทุกขั้นตอนการ ดำาเนินงาน เพื่อให้ผลการศึกษาถูกต้องและเชื่อถือได้ และขาดไม่ ได้คือการเผยแพร่งานวิจัยเพื่อให้มีการนำาผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์หรือแก้ปัญหาต่อไป การวิจัยหรืองานที่เป็นการวิจัย ต้องประกอบด้วยลักษณะสำาคัญ 3 ประการ 1. เป็นกระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงหรือ ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ 2. เป็นกระบวนการหรือการกระทำาที่มีระบบ ระเบียบ 3. เป็นการกระทำาที่มีจุดประสงค์ที่แน่นอน
  • 9. 9 บทที่ 3 วิธีดำำเนินกำรวิจัย กำรดำำเนินกำรวิจัยเพื่อศึกษำพฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ผู้ วิจัยได้ดำำเนินกำรวิจัยตำมขั้นตอนดำำเนินกำรศึกษำ ดังนี้ 1.ประชำกร ประชำกรที่ใช้ในกำรศึกษำ คือนักเรียนวิทยำลัย เทคโนโลยีอำเซียน ที่กำำลังศึกษำอยู่ในระดับชั้นปวช. 2/3 สำขำภำษำต่ำงประเทศ ในภำคเรียนที่ 2 ประจำำปีกำรศึกษำ 2557 จำำนวนนักเรียนจำำนวน 45 คน 2. เครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำ เป็นแบบสอบถำมเพื่อศึกษำ พฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำนของนักเรียนในระดับชั้นปวช. 2/3 จำำนวน 15 ข้อ 3. วิธีดำำเนินกำรวิจัย ระยะเวลำในกำรดำำเนินงำน พฤศจิกำยน 2557 - มีนำคม 2558 วัน เดือน ปี กิจกรรม หมำยเหตุ พฤศจิกำยน 2557 - ศึกษำ สังเกต สภำพปัญหำ และวิเครำะห์ปัญหำ ธันวำคม 2557 - เขียนเค้ำโครงงำนวิจัยในชั้น เรียน - ศึกษำเอกสำรกำรสร้ำง แบบสอบถำม -ออกแบบและสร้ำง แบบสอบถำมที่จะใช้ใน งำน
  • 10. 10 วิจัย มกรำคม 2558 - นักเรียนทำำแบบสอบถำม บันทึก ข้อมูล กุมภำพันธ์ 2558 - เก็บรวบรวมข้อมูลและ วิเครำะห์ข้อมูล บันทึก ข้อมูล มีนำคม 2558 - สรุปและอภิปรำยผล - จัดทำำรูปเล่มรำยงำนผลกำร วิจัย เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย 1. แบบสอบถำม 4. ขั้นตอนกำรดำำเนินกำร ในกำรดำำเนินกำรศึกษำวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษำพฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน/กำรบ้ำน ของนักเรียนโดยใช้ แบบสอบถำมเพื่อหำสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน ผู้วิจัยได้วำงแผนกำร ดำำเนินกำรศึกษำ สร้ำงแบบสอบถำม โดยใช้ข้อควำมจำกกำร สังเกตและคำดว่ำจะเป็นสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน และ ได้ดำำเนินกำรซึ่งมีรำยละเอียดเป็นขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นวิเครำะห์ (Analysis) 1.1 วิเครำะห์ข้อมูลพื้นฐำนของผู้เรียน กำรวิเครำะห์ผู้ เรียนได้กำำหนดไว้ดังนี้ ประชำกร คือนักเรียนชั้นปวช. 2/3 สำขำภำษำต่ำงประเทศ วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน จำำนวน 45 คน ภำคเรียนที่ 2 / 2557 1.2 วิเครำะห์สำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ของ นักเรียน โดยกำรหำค่ำร้อยละ 2. ขั้นออกแบบ (Design) ผู้วิจัยดำำเนินกำรสร้ำงแบบสอบถำมเพื่อวัดพฤติกรรมกำรไม่ ส่งงำน/ กำรบ้ำน ของนักเรียน โดยมีลำำดับขั้นตอนกำรสร้ำงดังนี้ ศึกษำเทคนิคกำรสร้ำงแบบสอบถำมจำกเอกสำรต่ำงๆ สร้ำงแบบสอบถำมเพื่อวัดพฤติกรรมของนักเรียนเพื่อหำสำเหตุใน กำรไม่ส่งงำน/กำรบ้ำนของนักเรียนในระดับชั้นปวช. 2/3 จำำนวน 15 ข้อ โดยให้นักเรียนใส่หมำยเลขลำำดับสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน จำกลำำดับมำกที่สุด (1) ไปจนถึงลำำดับน้อยที่สุด (15)
  • 11. 11 นำำแบบวัดเจตคติที่สร้ำงขึ้นเสนอต่อที่ปรึกษำงำนวิจัย เพื่อตรวจ สอบแก้ไข นำำแบบวัดเจตคติมำปรับปรุงแก้ไขก่อนนำำไปใช้จริง 3. ขั้นดำำเนินกำร ในกำรวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้มีกำรดำำเนินกำรดังนี้ 3.1 นำำแบบสอบถำมเพื่อศึกษำพฤติกรรม กำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ของนักเรียนชั้น จำำนวน 45 คน เพื่อหำสำเหตุของกำรไม่ ส่งงำน และทำำกำรบันทึกคะแนน 3.2 ดำำเนินกำรหำค่ำร้อยละของแต่ละข้อสำเหตุ 5. ขั้นวิเครำะห์ข้อมูล 4.1 วิเครำะห์ข้อมูล - วิเครำะห์ผลจำกคะแนนที่ได้จำกกำรทำำแบบสอบถำม เพื่อศึกษำพฤติกรรม 4.2 สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล 4.2.1 กำรหำค่ำร้อยละ ค่ำร้อยละ = ∑x × 100 N เมื่อ X = คะแนนที่ได้ N = จำำนวนนักเรียนทั้งหมด บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล จำกกำรศึกษำวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำ พฤติกรรมกำรไม่ส่งงำน/กำรบ้ำนของนักเรียนระดับชั้นปวช. 2/3 เพื่อนำำผลกำรวิจัยมำเก็บเป็นข้อมูลเพื่อหำสำเหตุ และนำำไปแก้ไข ปัญหำในกำรเรียนกำรสอนและเพื่อให้นักเรียนเห็นควำมสำำคัญของ กำรส่งงำนและกำรบ้ำน โดยใช้แบบสอบถำมเพื่อศึกษำพฤติกรรม จำำนวน 15 ข้อ โดยกลุ่มตัวอย่ำงซึ่งเป็นนักเรียนชั้นปวช. 2/3 ภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2557 จำำนวน 45 คน โดย สำมำรถวิเครำะห์ผลได้ดังนี้ 5.1 ผลกำรประเมินแบบสอบถำมของนักเรียนในเรื่องกำรไม่ ส่งงำน / กำรบ้ำน เกี่ยวกับกำรหำสำเหตุที่ไม่ส่งงำน กำรบ้ำนของ นักเรียนชั้นปวช. 2/3 วิทยำลัยเทคโนโลยีอำเซียน จังหวัด หนองคำย
  • 12. 12 ตำรำง 1 ผลกำรประเมินแบบสอบถำมของนักเรียน ถึงสำเหตุที่ผู้เรียนไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน สำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน ลำำดับ ที่ ร้อยละ 1. กำรบ้ำนหรือวิชำเรียนมำกเกินไป 1-2 65.85 2. แบบฝึกหัดยำกทำำไม่ได้ 8-11 17.07 3. ทำำภำรกิจอย่ำงอื่นจนลืมทำำกำรบ้ำน 12-14 14.63 4. เวลำน้อย 8 14.63 5. สนใจสื่อสังคมหรือเทคโนโลยีกำรสื่อสำร มำกเกินไป 9 12.20 6. ไม่เข้ำใจคำำสั่งกำรทำำแบบฝึกหัดใน รำยวิชำภำษำอังกฤษ 3-4 41.46 7. ไม่ได้นำำสมุดมำ 5 14.63 8. เบื่อหน่ำยไม่อยำกทำำ 8-11 17.07 9. ช่วยเหลืองำนผู้ปกครอง 8-11 17.07 10. หนังสือหำยหรือฝำกไว้กับเพื่อน 8-11 17.07 11. ลืมทำำ 12-14 14.63 12. ไม่มีคนคอยให้คำำปรึกษำ 15 4.88 13. เตรียมตัวสอบเก็บคะแนนวิชำอื่น 5 23.51 14. ทำำงำนพิเศษ ( Part – Time) 6-7 19.51 15. ทำำกิจกรรมของโรงเรียน 6-7 19.51 จำกตำรำงที่ 1 แสดงให้เห็นว่ำกำรตอบแบบสอบถำมของ นักเรียนในเรื่องสำเหตุของกำรไม่ส่งงำน / กำรบ้ำน โดยทำำกำร เรียงลำำดับจำกสำเหตุที่นักเรียนที่นักเรียนคิดว่ำเป็นสำำเหตุที่สำำคัญ ที่สุดจนถึงสำเหตุที่น้อยที่สุด ตำมลำำดับ 1 – 15 ดังต่อไปนี้ กำรบ้ำนหรือวิชำเรียนมำกเกินไป อยู่ในลำำดับที่ 1 – 2 คิดเป็น ร้อยละ 65.85 ( 27 คน ) สนใจสื่อสังคมหรือเทคโนโลยีกำรสื่อสำรมำกเกินไป อยู่ในลำำดับที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 12.20 ( 5 คน) แบบฝึกหัดยำกทำำไม่ได้ อยู่ในลำำดับที่ 8-11 คิดเป็น ร้อยละ 17.07 ( 7 คน ) ไม่ได้นำำสมุดมำ อยู่ในลำำดับที่ 5 คิดเป็น ร้อยละ 14.63 ( 6 คน )
  • 13. 13 ไม่เข้าใจคำาสั่งการทำาแบบฝึกหัดในรายวิชาภาษาอังกฤษ อยู่ ในลำาดับที่ 3 – 4 คิดเป็นร้อยละ 41.46 ( 17 คน ) ทำาภารกิจอย่างอื่นจนลืมทำาการบ้าน อยู่ในลำาดับที่ 12-14 คิด เป็นร้อยละ 14.63 ( 6 คน ) เบื่อหน่าย ไม่อยากทำา อยู่ในลำาดับที่ 8-11 คิดเป็นร้อยละ 17.07 ( 7 คน ) หนังสือหายหรือฝากไว้กับเพื่อน อยู่ในลำาดับที่ 8-11 คิดเป็น ร้อยละ 17.07 ( 7 คน ) ลืมทำา อยู่ในลำาดับที่ 10 คิดเป็นร้อยละ 14.63 ( 6 คน ) ไม่มีคนคอยให้คำาปรึกษา อยู่ในลำาดับที่ 15 คิดเป็น ร้อยละ 4.88 ( 2 คน ) ทำางานพิเศษ (Part – Time) อยู่ในลำาดับที่ 6-7 คิดเป็น ร้อยละ 19.51 ( 8 คน ) ช่วยเหลืองานผู้ปกครอง อยู่ในลำาดับที่ 8-11 คิดเป็น ร้อยละ 17.07 ( 7 คน ) เวลาน้อย อยู่ในลำาดับที่ 14 คิดเป็นร้อยละ 14.63 ( 6 คน ) ทำากิจกรรมของโรงเรียน อยู่ในลำาดับที่ 6-7 คิดเป็น ร้อยละ 19.51 ( 8 คน ) เตรียมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น อยู่ในลำาดับที่ 5 คิด เป็นร้อยละ 23.51 (12 คน ) บทที่ 5
  • 14. 14 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรม การไม่ส่งงาน / การบ้านของนักเรียนชั้นปวช. 2/3 สาขาภาษา ต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน แสดงให้เห็นว่า สาเหตุ ของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ลำาดับที่ 1 คือ การให้การบ้านหรือ วิชาเรียนมากเกินไป และไม่เข้าใจคำาสั่งการทำาแบบฝึกหัดใน รายวิชาภาษาอังกฤษ โดยคิดจากนักเรียน 45 คน ที่เลือกเป็น สาเหตุอันดับที่ 1 และ 2 จำานวน 27 คน คิดเป็น ร้อยละ 65.85 และลำาดับที่ 3-4 จำานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 41.46 อภิปรายผลการศึกษา จากการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักเรียนระดับชั้นปวช. 2/3 สาขาภาษาต่าง ประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน ในครั้งนี้สามารถ อภิปรายผลได้ดังนี้ 1. พบว่าแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักเรียนระดับชั้นปวช. 2/3 วิทยาลัย เทคโนโลยีอาเซียน ได้ทำาให้ทราบถึงสาเหตุที่สำาคัญมาก ที่สุด จนถึงสาเหตุที่น้อยที่สุด ในการไม่ส่งงาน / การบ้าน คือ การบ้านหรือวิชาเรียนมากเกินไป ไม่เข้าใจคำาสั่งการ ทำาแบบฝึกหัดในรายวิชาภาษาอังกฤษ ไม่ได้นำาสมุดมา ไม่น่าสนใจ เบื่อหน่าย ไม่อยากทำา หนังสือหาย ลืมทำา ไม่มีคนคอยให้คำาปรึกษา ช่วยเหลืองานผู้ปกครอง ทำางานพิเศษ (Part – Time) เวลาน้อย ทำากิจกรรม โรงเรียน และเตรียมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น ข้อเสนอแนะการวิจัย 1. ในการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่ง งาน / การบ้าน ของนักเรียนชั้นปวช. 2/3 อาจจัดทำากับ นักเรียนทั้งระดับชั้นปวช. สาขาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน เพื่อเป็นการศึกษาในภาพ รวม เพราะการวิจัยครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นเพียง นักเรียนในระดับชั้นปวช. 2/3 เท่านั้น ซึ่งอาจจะได้ผล การวิจัยที่แตกต่างกันก็เป็นไปได้
  • 15. 15 2. ในการวิจัยครั้งต่อไปอาจเจาะจงทำาการวิจัยกลุ่มนักเรียน ในระดับชั้นอื่นๆ ต่อไป และอาจแยกหัวข้อเป็นรายวิชา ต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ระเอียดขึ้น ซึ่งจะได้นำาผลการ ทดลองที่ได้ไปแก้ไขปัญหาในการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักเรียนต่อไป ตารางการทำาวิจัยในชั้นเรียน วัน เดือน ปี กิจกรรม หมายเหตุ พฤศจิกายน 2557 - ศึกษา สังเกต สภาพปัญหา และวิเคราะห์ปัญหา ธันวาคม 2557 - เขียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้น เรียน - ศึกษาเอกสารการสร้าง แบบสอบถาม -ออกแบบและสร้าง แบบสอบถามที่จะใช้ในงานวิจัย มกราคม 2558 - นักเรียนทำาแบบสอบถาม บันทึกข้อมูล กุมภาพันธ์ 2558 - เก็บรวบรวมข้อมูลและ วิเคราะห์ข้อมูล บันทึกข้อมูล มีนาคม 2558 - สรุปและอภิปรายผล - จัดทำารูปเล่มรายงานผลการ วิจัย ตาราง 1 ผลการประเมินแบบสอบของนักเรียนถึง สาเหตุที่ผู้เรียนไม่ส่งงาน / การบ้าน สาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ลำาดับ ที่ ร้อยละ 1. การบ้านหรือวิชาเรียนมากเกินไป 1-2 65.85 2. แบบฝึกหัดยากทำาไม่ได้ 8-11 17.07 3. ทำาภารกิจอย่างอื่นจนลืมทำาการบ้าน 12-14 14.63 4. เวลาน้อย 8 14.63 5. สนใจสื่อสังคมหรือเทคโนโลยีการสื่อสาร มากเกินไป 9 12.20
  • 16. 16 6. ไม่เข้าใจคำาสั่งการทำาแบบฝึกหัดใน รายวิชาภาษาอังกฤษ 3-4 41.46 7. ไม่ได้นำาสมุดมา 5 14.63 8. เบื่อหน่ายไม่อยากทำา 8-11 17.07 9. ช่วยเหลืองานผู้ปกครอง 8-11 17.07 10. หนังสือหายหรือฝากไว้กับเพื่อน 8-11 17.07 11. ลืมทำา 12-14 14.63 12. ไม่มีคนคอยให้คำาปรึกษา 15 4.88 13. เตรียมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น 5 23.51 14. ทำางานพิเศษ ( Part – Time) 6-7 19.51 15. ทำากิจกรรมของโรงเรียน 6-7 19.51 ข้ อ คิ ด เ ห็ น แ ล ะ เ ส น อ แ น ะ ทั่ ว ไ ป - อยากให้มีรายวิชาเรียนที่น้อยลง - อยากได้การบ้านแบบพอดีๆไม่น้อยไม่มากเกินไป - อยากให้มีงานและการบ้านน้อยๆ - อยากได้การบ้านน้อยๆ วันละ 1 อย่าง - อยากให้การบ้านพอสมควรกับเวลา - อยากเรียนอย่างเดียวไม่มีการบ้าน - การบ้านไม่ยากเกินไป - อยากได้การบ้านวันละ 1 วิชา - อยากให้มีการบ้านสัปดาห์ละ 1 วิชา - ควรให้เวลาในการทำาการบ้านและลดการบ้านลง - ไม่อยากมีการบ้าน ให้สอนแล้วให้ นักเรียนจดใน กระดานแล้วเอาไปอ่านเตรียมสอบแทน - อยากให้มีการบ้านง่าย ๆ และน้อยๆ