SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
Baixar para ler offline
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2
CHATHAM HOUSE การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม
BROOKINGS  จีนในฐานะผู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก
G20G20
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2559
รัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่
ไม่ช่วยอะไรเลย?
มายาคติต่อการลงทุน
ของจีนในแอฟริกา
ตุรกีกาลังมุ่งตะวันออก
กับวิสัยทัศน์ “โลกที่นาร่วมกัน” ของจีนจีน
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
สวัสดีค่ะผู้อ่านทุกท่าน ในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมายังมีสถานการณ์ความเคลื่อนไหวทั่วโลก
เกิดขึ้นมากมายเช่นเคย โดยเฉพาะการประชุม G20 ประจาปี 2016 ระหว่างวันที่ 4—5 กันยายน
ที่จีนได้รับโอกาสให้เป็นเจ้าภาพครั้งแรก ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงภูมิทัศน์เศรษฐกิจการเมืองโลกที่
เปลี่ยนแปลงไป World Think Tank Monitor จึงมีความยินดีที่จะนาเสนอบทความที่วิเคราะห์ถึง
บทบาทของจีนในเวที G20 อีกทั้งยังถือเป็นโอกาสพิเศษที่เราจะได้เห็นบทวิเคราะห์ถึงลงประชามติ
และร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของไทยผ่านมุมมองของสถาบันคลังสมองชั้นนาอย่าง Chatham
House นอกจากนี้ สถาบันคลังสมองอื่นๆ ยังได้วิเคราะห์ถึงประเด็นระหว่างประเทศในอีก
หลากหลายแง่มุมทั้ง การลงทุนของจีนในแอฟริกา และนโยบายที่ตุรกีมีต่อโลกตะวันออก
ด้านสถาบันคลังปัญญาฯ ได้จัดการประชุมเวทียุทธศาสตร์ เรื่อง สถานการณ์และแนวโน้ม
ใหม่ของโลกกับการยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย ซึ่งการแลกเปลี่ยนจากการประชุมครั้งนี้ได้นามา
สู่แนวคิดอันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศในหลายประการ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
CHATHAM HOUSE รัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ ไม่ช่วยอะไรเลย? 1
BROOKINGS มายาคติต่อการลงทุนของจีนในแอฟริกา 3
BROOKINGS TSINGHUA G20 กับวิสัยทัศน์ “โลกที่นาร่วมกัน” ของจีน 6
CARNEGIE MIDDLE EAST CENTER ตุรกีกาลังมุ่งตะวันออก 8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลก 10
กับการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
CHATHAM HOUSE
รัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ ไม่ช่วยอะไรเลย?
ผลการลงประชามติเมื่อวันที่ 7 สิงหาคมที่
ผ่านมา ซึ่งประชาชนไทยเสียงข้างมากร้อยละ 61
เห็นชอบในร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ นับเป็น
ความสาเร็จครั้งสาคัญของคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ (NCPO) รัฐบาลไทยชุดปัจจุบันที่ปกครอง
ประเทศโดยการทารัฐประหารมาตั้งแต่เดือน พ.ค.
ปี 2014 แม้ก่อนหน้านั้นร่างรัฐธรรมนูญจะถูก
คัดค้านทั้งจากผู้นาพรรคการเมืองใหญ่ทั้งสองพรรค
คือ พรรคเพื่อไทย และพรรคประชาธิปปัตย์ก็ตาม
สาหรับผลในระยะสั้นที่จะเกิด ข้อยุติจาก
การลงประชามติในครั้งนี้จะช่วยลดความขัดแย้งด้าน
ทัศนคติและความไม่แน่นอนทางการเมืองลงได้
ระดับหนึ่ง เนื่องจากผลการตัดสินของประชาชน
เสียงข้างมากทาให้ขั้วการเมืองฝ่ายต่างๆ หมด
เหตุผลในการใช้หลักประชาธิปไตยแสดงจุดยืน
ต่อต้านการปฏิบัติงานของรัฐบาล คสช. นอกจากนี้
ยังช่วยให้แผนดาเนินงาน (Road Map) ซึ่งคาดว่าจะ
แล้วเสร็จภายในปี 2017 รุดหน้าต่อไปได้
แม้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่จะได้รับการ
เห็นชอบ แต่นั่นก็มิได้เป็นเครื่องยืนยันว่ารัฐบาล
คสช. จะได้รับการรับรองหรือการยอมรับจาก
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งตามไปด้วย โดยก่อนที่วัน
ลงประชามติจะมาถึง รัฐบาลได้ออกมาตรการห้าม
การจัดเวทีสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการอภิปรายเรื่อง
รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ตลอดทั้งยังจับกุมนัก
เคลื่อนไหวที่เห็นต่างไปกว่าร้อยคน การจากัดสิทธิที่
ผ่านมาเหล่านี้ก่อให้เกิดมุมมองในแง่ลบของ
ประชาชนมีต่อ คสช. อยู่ไม่น้อย และไม่น่าแปลกใจ
หากผลการลงประชามติในพื้นที่แต่ละภูมิภาคจะมี
ความหลากหลายเกิดขึ้นอย่างชัดเจน โดยเฉพาะ
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
จังหวัดในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวม 23 จังหวัดทั่ว
ประเทศที่ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งพร้อมใจกันออก
เสียงปฏิเสธร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
ในมุมมองของ Dr. Nigel Gould-Davies
ผู้เชี่ยวชาญด้านเอเชียของสถาบัน Chatham House
มีความเห็นว่ารัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่จะมอบ
บทบาทในการปกครองคืนสู่รัฐบาลที่มาจากการ
เลือกตั้ง แต่ในขณะเดียวกัน รัฐบาลภายใต้แนวทาง
ของรัฐธรรมนูญใหม่นี้ก็มีเสรีภาพในการบริหาร
จัดการจากัดลงกว่าที่เคยผ่านมา พรรคการเมืองใหญ่
จะลดบทบาทลงในขณะที่พรรคเล็กจะมีโอกาสมาก
ขึ้น นอกจากนี้ การปรับเปลี่ยนให้สมาชิกวุฒิสภามา
จากแต่งตั้งทั้งหมดมีอานาจเลือกนายกรัฐมนตรีและ
ผู้บริหารระดับสูงในหน่วยงานสาคัญยังถือเป็นการ
แทรกแซงทาให้ฝ่ายบริหารอ่อนแอลงซึ่งตรงกับ
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญที่มีจุดมุ่งหมายในการ
สร้างรัฐบาลผสมซึ่งมีเอกภาพไม่มากจนเกินไปเพื่อ
ลดการผูกขาดอานาจ
อย่างไรก็ดี แม้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่จะช่วย
ลดความไม่แน่นอนทางการเมืองได้ในระยะสั้น ทว่า
ในระยะยาว Dr. Nigel Gould-Davies สรุปว่าอนาคต
ของการเมืองไทยอาจต้องเผชิญกับความไม่แน่นอน
ใน 3 ประการ
ประการแรก รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ได้
กาหนดกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญจานวน 10
ฉบับ ซึ่งเป็นที่น่าพิจารณาว่าบทบัญญัติในกฎหมาย
เหล่านี้จะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงในทิศทางใด
ประการที่สอง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่จะ
ทาให้พรรคการเมืองที่มีอยู่เดิมจาเป็นต้องปรับตัว
ตลอดทั้งยังมีแนวโน้มว่าอาจมีการจัดตั้งพรรค
การเมืองนิยมกองทัพขึ้น
ประการที่สาม รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ไม่ได้
ถูกออกแบบมาเพื่อให้สร้างเสถียรภาพทางการเมือง
และสังคมได้ในระยะยาว ประกอบกับเมื่อเกิดปัญหา
ขึ้น ชนชั้นนายังคงมีแนวคิดในการสร้างกลไกใหม่
ขึ้นมาแก้ปัญหามากกว่าที่จะปรับตัวและรองรับการ
เปลี่ยนแปลง สาเหตุเหล่านี้จึงทาให้ประเทศไทยมี
รัฐธรรมนูญที่มีอายุเฉลี่ยเพียง 4.2 ปีต่อฉบับเท่านั้น
อนึ่ง แม้ คสช.จะมีภาพลักษณ์เชิงลบใน
สายตาโลกตะวันตกอยู่มากจากการใช้อานาจเผด็จ
การเร่งรัดปฏิรูประเบียบการเมืองของประเทศใหม่
ตลอดจนการพยายามกาจัดอิทธิพลของกลุ่มอานาจ
การเมืองเดิมอย่างอดีตนายกฯ ทักษิณ ชินวัตรและ
กลุ่มคนเสื้อแดงจนทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับ
ประเทศประชาธิปไตยในโลกตะวันตกทั้งสหรัฐฯ
อังกฤษและสหภาพยุโรปย่าแย่การลงอย่างต่อเนื่อง
อีกทั้งประชามติของไทยในเดือนสิงหาคมจะตกเป็นที่
วิพากษ์วิจารณ์จากประเทศเหล่านี้ค่อนข้างมาก แต่ก็
ยังถือเป็นสัญญาณที่ดีที่สะท้อนให้เห็นถึงบทบาท
พลเมืองที่เพิ่มขึ้นแม้จะยังอยู่ในวงจากัด และเป็นที่น่า
ติดตามว่าการเมืองของไทยหลังจากนี้จะเป็นอย่างไร
ต่อไป
เอกสารอ้างอิง
Nigel Gould-Davies. New Thai Constitution
Does Little to Reduce Uncertainty.
Chatham House. ออนไลน์ https://
www.chathamhouse.org/expert/comment/
new-thai-constitution-does-little-reduce-
uncertainty%20%20
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
BROOKINGS INSTITUTION
มายาคติต่อการลงทุนของจีนในแอฟริกา
สถาบัน Brookings ได้เผยแพร่งานวิจัย เรื่อง
Why is China investing in Africa? Evidence
from the firm level ขอ ง David Dollar ร่ว มกับ
Heiwai Tang และ Wenjie Chen ในงานวิจัยชิ้นนี้ได้
นาเสนอข้อมูลที่ทาให้เป็นภาพการลงทุนโดยตรงใน
ต่างประเทศ (outward direct investment: ODI) ของ
จีนในแอฟริกาได้อย่างชัดเจนขึ้น โดยใช้ข้อมูลที่ได้จาก
งานค้นคว้าเรื่องการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของ
จีนในทวีปแอฟริกาทั้งระดับมหภาคและจุลภาค
ข้อมูลแรก คือ เมื่อพิจารณาจากตัวเลขการ
ลงทุนโดยตรงของจีนในแต่ละประเทศในทวีปแอฟริกา
มันสามารถหักล้างความเชื่อที่ว่าแอฟริกาตกอยู่ใต้การ
ครอบงาของจีนได้ แท้จริงแล้ว การลงทุนโดยตรง
ของจีนในแอฟริกามีสัดส่วนเพียงประมาณร้อยละ
3 ของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศทั้งหมด
ในแอฟริกา และถึงแม้การลงทุนโดยตรงของจีนใน
แอฟริกาเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่สัดส่วนยังค่อนข้าง
น้อย ความอุดมสมบูรณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติเป็น
ตัวดึงดูดการลงทุนจากจีน ซึ่งคล้ายคลึงกับตะวันตกแต่
การลงทุนจากจีนก็ยังไม่มากเท่าการลงทุนจาก
ตะวันตกอยู่ดี ซึ่งเห็นได้ว่าทั้งจีนและตะวันตกสนใจ
ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ไม่
ต่างกัน แต่ข้อแตกต่างระหว่างจีนกับยุโรป ที่งานวิจัย
ชิ้นนี้ได้แสดงให้เห็น คือ จีนจะไม่สนใจสิทธิใน
ทรัพย์สินของประเทศที่เข้าไปลงทุน และไม่สนใจว่าจะ
ใช้การปกครองโดยยึดหลักนิติรัฐหรือไม่ ในขณะที่
ประเทศตะวันตกมีแนวโน้มที่จะอยู่ห่างๆ จากประเทศ
ที่มีการปกครองที่ไม่ค่อยดี การลงทุนของจีนใน
ประเทศที่มีการจัดการที่ดีและไม่ค่อยดีมีสัดส่วน
ใกล้เคียงกัน แต่มีแนวโน้มจะสูงกว่าในประเทศที่มี
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ธรรมาภิบาลที่อ่อนแอ(ประเทศที่การปกครองไม่ค่อย
เป็นไปตามหลักการประชาธิปไตยตะวันตก) ในขณะที่
ตะวันตกจะเน้นลงทุนในประเทศที่มีการปกครองที่ดี
เสียมากกว่า
ข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลที่
เกิดจากข้อตกลงใหญ่ๆ ในระดับมหภาค ซึ่งส่วนใหญ่
เป็นการลงทุนของรัฐวิสาหกิจจีนในโครงการ
ทรัพยากรธรรมชาติ ส่วนข้อมูลชุดที่สองที่ใช้ในวิจัย
ชิ้นนี้ คือ ข้อมูลบริษัทจีนทั้งหมดที่ลงทุนในแอฟริกา
ระหว่างปี 1998-20012 ซึ่งข้อมูลนี้เป็นข้อมูลระดับ
จุลภาคที่ได้จากกระทรวงพาณิชย์ของจีน (MOFCOM)
ข้อมูลชุดนี้แสดงให้เห็นภาพที่ถูกต้องและชัดเจนว่า
บริษัทเอกชนขนาดย่อยและขนาดกลางของจีนเข้าไป
ทาอะไรในแอฟริกา พบว่า บริษัทจีนเข้าไปลงทุนใน
ธุรกิจเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติค่อนข้างน้อย
ส่วนใหญ่จะเป็นการเข้าไปลงทุนในธุรกิจภาคการ
บริการรวมไปถึงในภาคการผลิตด้วย (ดูจากตาราง
ที่ 1) และเข้าไปทั่วทั้งทวีปแอฟริกา
ตารางที่ 1 แสดงสัดส่วนการลงทุนของจีนในแต่ละภาคธุรกิจ (Section) ในแอฟริกา
Sector ID Sector Description Number of Deals
Agricultural and Manufacturing
4 mineral products 319
14 base metals and articles of base metal 148
12 articles of stone, plaster, cement, etc. 96
15 machinery and mechanical appliances; electrical equipment; parts thereof. 76
10 textiles and textile articles 75
2 vegetable products 72
3 prepared foodstuffs; beverages, spirits and vinegar; tobacco 64
11 footwear, headgear, umbrellas, etc. 54
5 products of the chemical or allied industries 45
13 other manufacturing 45
1 live animals; animal products 41
16 vehicles, aircraft, vessels and associated transport equipment 40
8 wood and articles of wood. 35
6 plastics and articles thereof; rubber and articles thereof 22
17 miscellaneous manufactured articles 17
9 pulp of wood or of other fibrous cellulosic material 15
7 raw hides and skins, leather, etc. 9
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Service
21 business service 1053
20 wholesale and retail 693
24 import and export 539
18 construction, transportation, storage and postal services 392
22 finance 68
19 information transmission, computer services and software 14
23 social service 12
Mining
25 petroleum, water and electricity production and supply 45
ที่มา : China’s Ministry of Commerce Transaction-level ODI Data (1998-2012)
นอกจากนี้ งานชิ้นนี้ยังแสดงให้เห็นอีกว่า
จีนกระจายการลงทุนแบบ ODI อย่างไรในประเทศ
ต่างๆ และเลือกลงทุนในธุรกิจอย่างไร พบว่า สิ่งที่
ดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากจีนได้คือการมีเสถียรภาพ
ทางการเมืองของประเทศนั้นๆ โดยไม่สาคัญว่าจะต้อง
มีการปกครองโดยใช้หลักนิติรัฐหรือไม่ อีกทั้งยังพบ
หลักฐานอีกว่าการลงทุนแบบ ODI ของจีนนั้น
ขับเคลื่อนด้วยผลประโยชน์ไม่ต่างจากประเทศอื่นๆ
และการลงทุนของจีนในแอฟริกาที่มีทีท่าเหมือนจะ
ถดถอยลงในทุกภาคธุรกิจ ไม่ได้หมายความจีนจะ
ถอนการลงทุนออกไปจากภูมิภาคนี้ เพียงแต่เปลี่ยน
ยุทธศาสตร์การลงทุน ไปลงทุนในภาคธุรกิจที่ต้องใช้
ทักษะขั้นสูงและแรงงานมีทักษะ การลงทุนโดยตรงใน
ต่างประเทศของจีนตอนนี้แทบจะครอบงาธุรกิจภาค
บริการของประเทศที่ไปลงทุนซึ่งเป็นประเทศที่มี
ทรัพยากรทางธรรมชาติที่สมบูรณ์
สรุป
งานวิจัยชิ้นนี้ในแง่หนึ่งเป็นงานวิจัยที่ดี นาเสนอ
การลงทุนของจีนในแอฟริกาให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น
ว่า จีนนั้นไม่ได้ครอบงาแอฟริกาอย่างที่เราคิด สัดส่วน
การลงทุนของจีนใสแอฟริกาเป็นเพียงร้อยละ 3 ของ
การลงทุนจากต่างประเทศทั้งหมด อีกทั้งยังเห็นว่าจีน
เน้นการลงทุนในภาคส่วนธุรกิจการบริการและธุรกิจที่
ใช้ทักษะขั้นสูงมากกว่าจะเป็นธุรกิจด้านทรัพยากร
ธรรมชาติ แต่แน่นอนว่าจีนมักจะเลือกลงทุนใน
ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติค่อนข้างอุดมสมบูรณ์
ในขณะเดียวกัน ในงานวิจัยชิ้นนี้เรามักจะมองเห็นการ
สอดแทรกความคิดและมุมมองแบบตะวันตกอยู่มาก
โดยยกเรื่องหลักนิติรัฐ (rule of law) และความ
พยายามโยงไปว่าจีนนั้นไม่ได้สนใจเรื่องความเป็น
ประชาธิปไตยและสิทธิในทรัพย์สินของประเทศที่เข้า
ไปลงทุนสักเท่าไร
เอกสารอ้างอิง
David Dollar, Heiwai Tang and Wenjie Chen. Why
is China investing in Africa? Evidence
from the firm level. Brookings Institution.
ออนไลน์ https://www.brookings.edu/wp-
content/uploads/2016/06/Why-is-China-
investing-in-Africa.pdf
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
BROOKINGS TSINGHUA
G20 กับวิสัยทัศน์ “โลกที่นาร่วมกัน” ของจีน
ในบทความเรื่อง G-20 ushers in collective
leadership ของ Brookings เขียนโดย Cheng Li และ
Chen Weihua กล่าวว่าการประชุม G-20 2016 ที่จีน
เป็นเจ้าภาพจัดขึ้นเป็นครั้งแรก ระหว่างวันที่ 4—5
กันยายนที่ผ่านมา ณ เมืองหางโจว เป็นการประชุมที่
สะท้อนให้เห็นถึงภูมิทัศน์เศรษฐกิจการเมืองโลกที่
เปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นโลกที่เหล่าประเทศดาวรุ่ง
(emerging countries) จะร่วมมีอานาจบทบาทในการ
กาหนดชะตากรรมโลกมากขึ้น แต่ทั้งนี้ จะไม่ใช่เป็น
การก้าวขึ้นมาแทนที่อานาจเก่า แต่จะเป็นการนาพา
โลกไปร่วมกันระหว่างประเทศมหาอานาจเก่ากับ
มหาอานาจใหม่ (“It is not about one country replac-
ing another, but rather the collective leadership in
global governance”)
การประชุม G20 ครั้งนี้ถูกมองว่าเป็นการ
ประชุมที่ “สมดุล” กับดุลอานาจใหม่ของโลกมากกว่า
การกระชุม G7 ที่ในปีนี้จัดขึ้นที่ญี่ปุ่น เมื่อเดือน
พฤษภาคมที่ผ่านมา เพราะในขณะที่ G7 เป็น “คลับ”
ของประเทศพัฒนาแล้วเท่านั้น G20 รวมเข้ามาทั้ง
ประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศดาวรุ่งชั้นนาของโลก
เช่น BRICS และในหางโจวซัมมิทนี้เป็นครั้งแรกที่
ประธานกลุ่มประเทศกาลังพัฒนา G77 ซึ่งในปีนี้คือ
ไทยได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุม G20 ด้วย
นอกจากนี้ G20 ครั้งนี้ได้จัดขึ้นในยามที่
“กระแสต่อต้านโลกาภิวัตน์” แพร่สะพัดอยู่ในหลายส่วน
ของโลก โดยเฉพาะในยุโรปและอเมริกา ในสหภาพ
ยุโรปประสบทั้งกรณี Brexit และกระแสต้านผู้อพยพ
จากตะวันออกกลางมากขึ้นๆ แม้แต่ประเทศที่เคยเป็น
ตัวตั้งตัวตีว่าจะอ้าแขนรับอย่างเยอรมนี มาวันนี้เสียง
มหาชนก็เอียงไปในทางไม่รับเสียแล้ว ขณะที่อีกฟาก
หนึ่งของโลกตะวันตก ในสหรัฐอเมริกา กระแสต้าน
โลกาภิวัตน์ถูกกระพือขึ้นอย่างรุนแรงตลอดหลายเดือน
ที่ผ่านมาในการหาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดี ไม่
เพียงแต่ Donald Trump ตัวแทนพรรครีพับลิกัน
เท่านั้นที่ต่อต้านผู้อพยพ ต้านการรวมกลุ่มทาง
เศรษฐกิจ ฯลฯ แต่ทั้ง Trump และ Hillary Clinton
ตัวแทนพรรคเดโมแครตต่างก็ประกาศจุดยืนในการหา
เสียงว่าไม่เอาโครงการ TPP (Trans Pacific Partner-
ship) ข้อตกลงการค้าเสรีระหว่างสหรัฐกับประเทศรอบ
มหาสมุทรแปซิฟิก 11 ประเทศ ของรัฐบาลโอบามา
ภาพ: http://i.imgur.com/epM1Wyt.jpg
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
แต่ Cheng Li นักวิชาการจีนผู้เขียนบทความ
นี้มองว่ากระแสต้านโลกภิวัตน์จะเป็นแค่ของชั่วคราว
มากกว่า เพราะมาถึงวันนี้ โลกาภิวัตน์ได้กลายเป็น
ทิศทางความเปลี่ยนแปลงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ของโลก
ไปเสียแล้ว ที่ผ่านมา จีนก็เป็นผู้ได้รับประโยชน์จาก
โลกาภิวัตน์ไม่น้อยกว่าใคร เพราะโลกาภิวัตน์ทีเดียว
ที่ทาให้จีนกระโดดข้ามการสะสมทุนในประเทศได้ ไป
ใช้ทุนที่สะสมมาจากทั่วโลกในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ภายในประเทศ เปลี่ยนจากประเทศยากจนมาเป็น
ประเทศเศรษฐกิจอันดับสองของโลกได้ในประมาณ
40 ปี ดังนั้น จีนจะไม่ปฏิเสธโลกาภิวัตน์ และในระยะ
ยาวโลกก็ไม่ควรและไม่สามารถปฏิเสธโลกาภิวัตน์ได้
แทนที่แต่ละชาติจะพยายามผลักไสปิดกั้นโลกาภิ
วัตน์และกระโดดไปยึดเอานโยบายโดดเดี่ยว
(isolationism) มาเป็นหลักในการบริหารประเทศอีก
ครั้ง ควรร่วมกันแก้ไขจุดบกพร่องของโลกาภิวัตน์
และร่วมกันสร้างระบบโลกที่เป็นการนาร่วมกันของ
ชาติต่างๆ ให้กว้างขวางครอบคลุมที่สุดเท่าที่ทาได้
จะดีกว่า
เอกสารอ้างอิง
Cheng Li และ Chen Weihua. G-20 ushers in
collective leadership. Brookings Tsinghua.
ออนไลน์ https://www.brookings.edu/on-the-
record/g-20-ushers-in-collective-leadership/
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
CARNEGIE
MIDDLE EAST CENTER
ตุรกีกาลังมุ่งตะวันออก
ตุรกีเป็นประเทศที่ว่ากันว่าเป็นจุดที่
ตะวันออกมาพบกับตะวันตก ดินแดน 97 เปอร์เซ็นต์
ของตุรกีอยู่ในเอเชีย เพียง 3 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นที่จัด
ว่าอยู่ในเขตบอลข่านของยุโรป อย่างไรก็ตาม นับแต่
การสร้างชาติตุรกีสมัยใหม่โดยเคมาล อตาเติร์กเป็น
ต้นมา ตุรกีก็พยายามจะเป็นตะวันตกมาตลอด ทั้งใน
การปรับปรุงพัฒนาประเทศให้เป็นแบบตะวันตก แยก
ศาสนาออกจากรัฐ และดาเนินนโยบายใกล้ชิดเป็น
พันธมิตรกับตะวันตก จนถึงในช่วงทศวรรษ 2000
ประเทศตุรกีภายใต้การนาของพรรค AK ก็ยังคงทา
นโยบายต่างประเทศแบบ “มุ่งตะวันตก” พยายามเข้า
เป็นสมาชิกสหภาพยุโรปอย่างเต็มที่ แต่มาในปี 2016
โดยเฉพาะหลังการกบฏ 15 ก.ค. ที่ผ่านมา ตุรกี
ภายใต้พรรค AK วันนี้กาลังทาท่าจะหันหน้านโยบาย
ต่างประเทศมาสู่ตะวันออกแทน
Yildirim ผู้เขียนบทความเรื่อง Turkey’s
Impending Eastern Turn ของสถาบัน Carnegie
Middle East Center กล่าวว่ากบฏ 15 ก.ค. น่าจะ
เป็นความตั้งใจของรัฐบาลเอร์โดอานเองที่จะสร้าง
“ทางลัด” กระชับอานาจภายในประเทศและเปลี่ยนทิศ
นโยบายต่างประเทศออกจากตะวันตก เป็นตัวของ
ตัวเอง เป็นมหาอานาจในตะวันออกกลางได้มากขึ้น
การรัฐประหารที่ล้มเหลวนี้ได้ช่วยหันเหความสนใจ
ของสาธารณชนจากคดีทุจริตที่คนในรัฐบาลตกเป็น
เป้า นอกจากนั้น การกวาดล้างฝ่ายกบฏยังเป็น
โอกาสในการปฏิรูปกองทัพ ปลดนายพลมากถึง
ภาพ: http://www.turkishnews.com/en/content/wp-content/uploads/2009/11/ErdoganOnMinaret.jpg
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
45 เปอร์เซ็นต์ออก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นฝ่ายที่สนับสนุน
NATO เพื่อปรับทิศทางของกองทัพให้สอดรับกับ
นโยบายต่างประเทศใหม่และเพื่อเสถียรภาพของ
รัฐบาลเอง
ส่วนในทางต่างประเทศ ภายหลังการกบฏ
รัฐบาลก็ออกมาพูดในทานองว่าสหรัฐเป็นผู้อยู่
เบื้องหลังไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อมผ่านการ
สนับสนุนฟัตตุลเลาะฮ์ กุเลน ทาให้ชาวตุรกีส่วน
ใหญ่มองสหรัฐและตะวันตกว่าพยายามแทรกแซง
กิจการภายในประเทศ ว่าสหรัฐ “พยายามโค่นล้ม
เอร์โดอาน เพราะเขาทาให้ตุรกีเข้มแข็งมากเกินไป”
เป็นข้อกล่าวหาที่ทาให้กระแสในประเทศที่เคย
อยากจะเป็นตะวันตกมาตลอด หันออกจาก
ตะวันตกได้อย่างรวดเร็ว สิ่งเหล่านี้ Yildirim ผู้เขียน
บอกว่าเป็นเสมือน Fast-track ให้รัฐบาลเปลี่ยนโฉม
หน้าการเมือง-การต่างประเทศของตุรกีได้อย่าง
ฉับพลัน ตุรกีในวันข้างหน้าดูจะเดินไปสู่การเป็น
ประเทศที่อิสระ เป็นตัวของตัวเอง และสามารถเล่น
บทมหาอานาจในภูมิภาคตะวันออกกลางได้มาก
ยิ่งขึ้น รวมทั้งหันหน้าสู่ตะวันออก สู่เอเชียมาก
ยิ่งขึ้น
ตุรกีในวันนี้กาลังจะเป็น “เพื่อน” ใน
ตะวันออกกลางคนล่าสุดที่ตะวันตก ทั้งสหรัฐและ
ยุโรป กาลังจะสูญเสียไป อย่างเดียวกับที่เคย
สูญเสียอียิปต์สมัยประธานาธิบดีนัสเซอร์และ
อิหร่านในทศวรรษ 1970 มาแล้ว
เอกสารอ้างอิง
A. Kadir Yildirim. Turkey’s Impending Eastern
Turn. Carnegie Middle East Center.
ออนไลน์ http://carnegie-mec.org/
sada/64358.
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลก
กับการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
เมื่อวันพุธที่ 24 กันยายน 2559 สถาบันคลัง
ปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหา
วิทยาลัยรังสิต จัดเวทีระดมสมองเรื่องยุทธศาสตร์ครั้ง
ที่ 2 เรื่อง สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับ
การกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย โดย
ได้รับเกียรติจาก ศ.นพ.ประเวศ วะสี เป็นประธานและ
รศ.ดร. สมเกียรติ โอสถสภา อดีตอาจารย์ประจา
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ รศ.
ดร. ปณิ ธาน วัฒนายากร ที่ปรึกษารองนายก
รัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ
อาจารย์ประจาภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากร
และร่วมอภิปราย ได้แนวคิดและข้อเสนอเพื่อพัฒนา
ยุทธศาสตร์ชาติใน 3 ด้านหลักดังนี้
1. ยุทธศาสตร์ด้านการปฏิรูประบบบริหาร
ราชการภายในประเทศ ต้องมีการสร้างโครงสร้าง
การทางานร่วมกัน เพื่อ “ยกเครื่อง” การบริหารงาน
ของประเทศไทย ซึ่งที่ผ่านมาเป็นประเทศ “เครื่อง
หลุด” หน่วยงานภาคส่วนต่างๆ ทางานแยกกันไปตาม
ภารกิจเฉพาะด้านของตน เมื่อมีปัญหาที่ต้องแก้ หรือ
เรื่องที่ต้องผลักดันร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ จะ
ทาได้ยากมาก หากปราศจากอานาจพิเศษ เราจึงควร
สร้าง “โครงสร้างการทางานร่วมกัน” เพื่อมาร่วมกันทา
ยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว ทั้งภาครัฐ รัฐบาล ราชการ
เอกชน กองทัพ ประชาสังคม ท้องถิ่น ฯลฯ เป็น
โครงสร้างการทางานที่เชื่อมโยงกันจากส่วนบนถึง
ส่วนล่างของสังคม เพื่อกาหนดเป้าหมายของประเทศ
ให้เป็นไปในทางเดียวกัน
2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างคน หัวใจของ
ยุทธศาสตร์ชาตินั้นคือการสร้างคนรุ่นใหม่ให้เป็นคนมี
คุณภาพสอดรับกับความต้องการในระยะยาวของชาติ
และสังคมในระดับต่างๆ ซึ่งมีประเด็นสาคัญที่การ
ปฏิรูประบบการศึกษา การวางแผนผลิตคน และ
วางแผนการใช้กาลังคน
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3. ยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศ ควร
วางตัวให้เป็นประเทศอานาจขนาดกลาง (middle
power) วางท่าทีต่อมหาอานาจให้สมดุล ไม่เอียงข้าง
สหรัฐหรือจีนจนเกินไป ไม่ติดการวิเคราะห์โลกแบบ
ตะวันตก ฝึกมองแต่ละชาติจากมุมมองเขา เพิ่ม
ผู้เชี่ยวชาญที่รู้และเข้าอกเข้าใจฝ่ายอื่นๆ นอกจาก
ตะวันตก เช่น จีน โลกมุสลิมและโลกรัสเซีย ให้เข้ามา
อยู่ในวงการนักปฏิบัติ วงนักกาหนดนโยบาย เพื่อให้
ยุทธศาสตร์ต่างประเทศสมดุลขึ้น และที่สาคัญควร
เรียนรู้เพื่อนบ้านมากกว่านี้ รวมทั้งสร้างนักการทูต นัก
เจรจารุ่นใหม่ที่เก่งและสามารถอ่านสถานการณ์รอบตัว
ได้ทะลุปรุโปร่ง
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์
นางสาวปลายฟ้า บุนนาค
นายปาณัท ทองพ่วง
ภาพปก: http://www.chinausfocus.com/wp-content/uploads/2016/09/G20-bridge.jpg
ปีที่เผยแพร่: กันยายน 2559
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว
เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยแนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยKlangpanya
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 Klangpanya
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...Klangpanya
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่าKlangpanya
 
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560Klangpanya
 
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม USMAN WAJI
 
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558Klangpanya
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางUSMAN WAJI
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1Nopporn Thepsithar
 
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว  บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว USMAN WAJI
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน Taraya Srivilas
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนKlangpanya
 
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรเส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรpattarachat
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558Klangpanya
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...Klangpanya
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...Klangpanya
 

Mais procurados (19)

แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยแนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
 
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
 
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
 
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
 
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว  บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
 
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรเส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
 
งานธุรการ
งานธุรการงานธุรการ
งานธุรการ
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
 

Destaque

World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกKlangpanya
 
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559Klangpanya
 
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองKlangpanya
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยKlangpanya
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกKlangpanya
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559Klangpanya
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...Klangpanya
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์Klangpanya
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทยKlangpanya
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...Klangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...Klangpanya
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่Klangpanya
 

Destaque (20)

World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
 
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
 
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
 
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
 
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 

Semelhante a World Think Tank Monitors l กันยายน 2559

10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559Klangpanya
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...Klangpanya
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1BTNHO
 
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontierMegatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontierSongyos SRIJOHN
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี Klangpanya
 
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561Klangpanya
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางKlangpanya
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิมการผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิมKlangpanya
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 

Semelhante a World Think Tank Monitors l กันยายน 2559 (20)

10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontierMegatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
 
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
1111
11111111
1111
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิมการผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

Mais de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Mais de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

World Think Tank Monitors l กันยายน 2559

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 CHATHAM HOUSE การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม BROOKINGS  จีนในฐานะผู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก G20G20 ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2559 รัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ ไม่ช่วยอะไรเลย? มายาคติต่อการลงทุน ของจีนในแอฟริกา ตุรกีกาลังมุ่งตะวันออก กับวิสัยทัศน์ “โลกที่นาร่วมกัน” ของจีนจีน
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ สวัสดีค่ะผู้อ่านทุกท่าน ในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมายังมีสถานการณ์ความเคลื่อนไหวทั่วโลก เกิดขึ้นมากมายเช่นเคย โดยเฉพาะการประชุม G20 ประจาปี 2016 ระหว่างวันที่ 4—5 กันยายน ที่จีนได้รับโอกาสให้เป็นเจ้าภาพครั้งแรก ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงภูมิทัศน์เศรษฐกิจการเมืองโลกที่ เปลี่ยนแปลงไป World Think Tank Monitor จึงมีความยินดีที่จะนาเสนอบทความที่วิเคราะห์ถึง บทบาทของจีนในเวที G20 อีกทั้งยังถือเป็นโอกาสพิเศษที่เราจะได้เห็นบทวิเคราะห์ถึงลงประชามติ และร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของไทยผ่านมุมมองของสถาบันคลังสมองชั้นนาอย่าง Chatham House นอกจากนี้ สถาบันคลังสมองอื่นๆ ยังได้วิเคราะห์ถึงประเด็นระหว่างประเทศในอีก หลากหลายแง่มุมทั้ง การลงทุนของจีนในแอฟริกา และนโยบายที่ตุรกีมีต่อโลกตะวันออก ด้านสถาบันคลังปัญญาฯ ได้จัดการประชุมเวทียุทธศาสตร์ เรื่อง สถานการณ์และแนวโน้ม ใหม่ของโลกกับการยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย ซึ่งการแลกเปลี่ยนจากการประชุมครั้งนี้ได้นามา สู่แนวคิดอันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศในหลายประการ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ CHATHAM HOUSE รัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ ไม่ช่วยอะไรเลย? 1 BROOKINGS มายาคติต่อการลงทุนของจีนในแอฟริกา 3 BROOKINGS TSINGHUA G20 กับวิสัยทัศน์ “โลกที่นาร่วมกัน” ของจีน 6 CARNEGIE MIDDLE EAST CENTER ตุรกีกาลังมุ่งตะวันออก 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลก 10 กับการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต CHATHAM HOUSE รัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ ไม่ช่วยอะไรเลย? ผลการลงประชามติเมื่อวันที่ 7 สิงหาคมที่ ผ่านมา ซึ่งประชาชนไทยเสียงข้างมากร้อยละ 61 เห็นชอบในร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ นับเป็น ความสาเร็จครั้งสาคัญของคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ (NCPO) รัฐบาลไทยชุดปัจจุบันที่ปกครอง ประเทศโดยการทารัฐประหารมาตั้งแต่เดือน พ.ค. ปี 2014 แม้ก่อนหน้านั้นร่างรัฐธรรมนูญจะถูก คัดค้านทั้งจากผู้นาพรรคการเมืองใหญ่ทั้งสองพรรค คือ พรรคเพื่อไทย และพรรคประชาธิปปัตย์ก็ตาม สาหรับผลในระยะสั้นที่จะเกิด ข้อยุติจาก การลงประชามติในครั้งนี้จะช่วยลดความขัดแย้งด้าน ทัศนคติและความไม่แน่นอนทางการเมืองลงได้ ระดับหนึ่ง เนื่องจากผลการตัดสินของประชาชน เสียงข้างมากทาให้ขั้วการเมืองฝ่ายต่างๆ หมด เหตุผลในการใช้หลักประชาธิปไตยแสดงจุดยืน ต่อต้านการปฏิบัติงานของรัฐบาล คสช. นอกจากนี้ ยังช่วยให้แผนดาเนินงาน (Road Map) ซึ่งคาดว่าจะ แล้วเสร็จภายในปี 2017 รุดหน้าต่อไปได้ แม้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่จะได้รับการ เห็นชอบ แต่นั่นก็มิได้เป็นเครื่องยืนยันว่ารัฐบาล คสช. จะได้รับการรับรองหรือการยอมรับจาก ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งตามไปด้วย โดยก่อนที่วัน ลงประชามติจะมาถึง รัฐบาลได้ออกมาตรการห้าม การจัดเวทีสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการอภิปรายเรื่อง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ตลอดทั้งยังจับกุมนัก เคลื่อนไหวที่เห็นต่างไปกว่าร้อยคน การจากัดสิทธิที่ ผ่านมาเหล่านี้ก่อให้เกิดมุมมองในแง่ลบของ ประชาชนมีต่อ คสช. อยู่ไม่น้อย และไม่น่าแปลกใจ หากผลการลงประชามติในพื้นที่แต่ละภูมิภาคจะมี ความหลากหลายเกิดขึ้นอย่างชัดเจน โดยเฉพาะ
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จังหวัดในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวม 23 จังหวัดทั่ว ประเทศที่ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งพร้อมใจกันออก เสียงปฏิเสธร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ในมุมมองของ Dr. Nigel Gould-Davies ผู้เชี่ยวชาญด้านเอเชียของสถาบัน Chatham House มีความเห็นว่ารัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่จะมอบ บทบาทในการปกครองคืนสู่รัฐบาลที่มาจากการ เลือกตั้ง แต่ในขณะเดียวกัน รัฐบาลภายใต้แนวทาง ของรัฐธรรมนูญใหม่นี้ก็มีเสรีภาพในการบริหาร จัดการจากัดลงกว่าที่เคยผ่านมา พรรคการเมืองใหญ่ จะลดบทบาทลงในขณะที่พรรคเล็กจะมีโอกาสมาก ขึ้น นอกจากนี้ การปรับเปลี่ยนให้สมาชิกวุฒิสภามา จากแต่งตั้งทั้งหมดมีอานาจเลือกนายกรัฐมนตรีและ ผู้บริหารระดับสูงในหน่วยงานสาคัญยังถือเป็นการ แทรกแซงทาให้ฝ่ายบริหารอ่อนแอลงซึ่งตรงกับ เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญที่มีจุดมุ่งหมายในการ สร้างรัฐบาลผสมซึ่งมีเอกภาพไม่มากจนเกินไปเพื่อ ลดการผูกขาดอานาจ อย่างไรก็ดี แม้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่จะช่วย ลดความไม่แน่นอนทางการเมืองได้ในระยะสั้น ทว่า ในระยะยาว Dr. Nigel Gould-Davies สรุปว่าอนาคต ของการเมืองไทยอาจต้องเผชิญกับความไม่แน่นอน ใน 3 ประการ ประการแรก รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ได้ กาหนดกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญจานวน 10 ฉบับ ซึ่งเป็นที่น่าพิจารณาว่าบทบัญญัติในกฎหมาย เหล่านี้จะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงในทิศทางใด ประการที่สอง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่จะ ทาให้พรรคการเมืองที่มีอยู่เดิมจาเป็นต้องปรับตัว ตลอดทั้งยังมีแนวโน้มว่าอาจมีการจัดตั้งพรรค การเมืองนิยมกองทัพขึ้น ประการที่สาม รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ไม่ได้ ถูกออกแบบมาเพื่อให้สร้างเสถียรภาพทางการเมือง และสังคมได้ในระยะยาว ประกอบกับเมื่อเกิดปัญหา ขึ้น ชนชั้นนายังคงมีแนวคิดในการสร้างกลไกใหม่ ขึ้นมาแก้ปัญหามากกว่าที่จะปรับตัวและรองรับการ เปลี่ยนแปลง สาเหตุเหล่านี้จึงทาให้ประเทศไทยมี รัฐธรรมนูญที่มีอายุเฉลี่ยเพียง 4.2 ปีต่อฉบับเท่านั้น อนึ่ง แม้ คสช.จะมีภาพลักษณ์เชิงลบใน สายตาโลกตะวันตกอยู่มากจากการใช้อานาจเผด็จ การเร่งรัดปฏิรูประเบียบการเมืองของประเทศใหม่ ตลอดจนการพยายามกาจัดอิทธิพลของกลุ่มอานาจ การเมืองเดิมอย่างอดีตนายกฯ ทักษิณ ชินวัตรและ กลุ่มคนเสื้อแดงจนทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับ ประเทศประชาธิปไตยในโลกตะวันตกทั้งสหรัฐฯ อังกฤษและสหภาพยุโรปย่าแย่การลงอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งประชามติของไทยในเดือนสิงหาคมจะตกเป็นที่ วิพากษ์วิจารณ์จากประเทศเหล่านี้ค่อนข้างมาก แต่ก็ ยังถือเป็นสัญญาณที่ดีที่สะท้อนให้เห็นถึงบทบาท พลเมืองที่เพิ่มขึ้นแม้จะยังอยู่ในวงจากัด และเป็นที่น่า ติดตามว่าการเมืองของไทยหลังจากนี้จะเป็นอย่างไร ต่อไป เอกสารอ้างอิง Nigel Gould-Davies. New Thai Constitution Does Little to Reduce Uncertainty. Chatham House. ออนไลน์ https:// www.chathamhouse.org/expert/comment/ new-thai-constitution-does-little-reduce- uncertainty%20%20
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต BROOKINGS INSTITUTION มายาคติต่อการลงทุนของจีนในแอฟริกา สถาบัน Brookings ได้เผยแพร่งานวิจัย เรื่อง Why is China investing in Africa? Evidence from the firm level ขอ ง David Dollar ร่ว มกับ Heiwai Tang และ Wenjie Chen ในงานวิจัยชิ้นนี้ได้ นาเสนอข้อมูลที่ทาให้เป็นภาพการลงทุนโดยตรงใน ต่างประเทศ (outward direct investment: ODI) ของ จีนในแอฟริกาได้อย่างชัดเจนขึ้น โดยใช้ข้อมูลที่ได้จาก งานค้นคว้าเรื่องการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของ จีนในทวีปแอฟริกาทั้งระดับมหภาคและจุลภาค ข้อมูลแรก คือ เมื่อพิจารณาจากตัวเลขการ ลงทุนโดยตรงของจีนในแต่ละประเทศในทวีปแอฟริกา มันสามารถหักล้างความเชื่อที่ว่าแอฟริกาตกอยู่ใต้การ ครอบงาของจีนได้ แท้จริงแล้ว การลงทุนโดยตรง ของจีนในแอฟริกามีสัดส่วนเพียงประมาณร้อยละ 3 ของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศทั้งหมด ในแอฟริกา และถึงแม้การลงทุนโดยตรงของจีนใน แอฟริกาเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่สัดส่วนยังค่อนข้าง น้อย ความอุดมสมบูรณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติเป็น ตัวดึงดูดการลงทุนจากจีน ซึ่งคล้ายคลึงกับตะวันตกแต่ การลงทุนจากจีนก็ยังไม่มากเท่าการลงทุนจาก ตะวันตกอยู่ดี ซึ่งเห็นได้ว่าทั้งจีนและตะวันตกสนใจ ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ไม่ ต่างกัน แต่ข้อแตกต่างระหว่างจีนกับยุโรป ที่งานวิจัย ชิ้นนี้ได้แสดงให้เห็น คือ จีนจะไม่สนใจสิทธิใน ทรัพย์สินของประเทศที่เข้าไปลงทุน และไม่สนใจว่าจะ ใช้การปกครองโดยยึดหลักนิติรัฐหรือไม่ ในขณะที่ ประเทศตะวันตกมีแนวโน้มที่จะอยู่ห่างๆ จากประเทศ ที่มีการปกครองที่ไม่ค่อยดี การลงทุนของจีนใน ประเทศที่มีการจัดการที่ดีและไม่ค่อยดีมีสัดส่วน ใกล้เคียงกัน แต่มีแนวโน้มจะสูงกว่าในประเทศที่มี
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ธรรมาภิบาลที่อ่อนแอ(ประเทศที่การปกครองไม่ค่อย เป็นไปตามหลักการประชาธิปไตยตะวันตก) ในขณะที่ ตะวันตกจะเน้นลงทุนในประเทศที่มีการปกครองที่ดี เสียมากกว่า ข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลที่ เกิดจากข้อตกลงใหญ่ๆ ในระดับมหภาค ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นการลงทุนของรัฐวิสาหกิจจีนในโครงการ ทรัพยากรธรรมชาติ ส่วนข้อมูลชุดที่สองที่ใช้ในวิจัย ชิ้นนี้ คือ ข้อมูลบริษัทจีนทั้งหมดที่ลงทุนในแอฟริกา ระหว่างปี 1998-20012 ซึ่งข้อมูลนี้เป็นข้อมูลระดับ จุลภาคที่ได้จากกระทรวงพาณิชย์ของจีน (MOFCOM) ข้อมูลชุดนี้แสดงให้เห็นภาพที่ถูกต้องและชัดเจนว่า บริษัทเอกชนขนาดย่อยและขนาดกลางของจีนเข้าไป ทาอะไรในแอฟริกา พบว่า บริษัทจีนเข้าไปลงทุนใน ธุรกิจเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติค่อนข้างน้อย ส่วนใหญ่จะเป็นการเข้าไปลงทุนในธุรกิจภาคการ บริการรวมไปถึงในภาคการผลิตด้วย (ดูจากตาราง ที่ 1) และเข้าไปทั่วทั้งทวีปแอฟริกา ตารางที่ 1 แสดงสัดส่วนการลงทุนของจีนในแต่ละภาคธุรกิจ (Section) ในแอฟริกา Sector ID Sector Description Number of Deals Agricultural and Manufacturing 4 mineral products 319 14 base metals and articles of base metal 148 12 articles of stone, plaster, cement, etc. 96 15 machinery and mechanical appliances; electrical equipment; parts thereof. 76 10 textiles and textile articles 75 2 vegetable products 72 3 prepared foodstuffs; beverages, spirits and vinegar; tobacco 64 11 footwear, headgear, umbrellas, etc. 54 5 products of the chemical or allied industries 45 13 other manufacturing 45 1 live animals; animal products 41 16 vehicles, aircraft, vessels and associated transport equipment 40 8 wood and articles of wood. 35 6 plastics and articles thereof; rubber and articles thereof 22 17 miscellaneous manufactured articles 17 9 pulp of wood or of other fibrous cellulosic material 15 7 raw hides and skins, leather, etc. 9
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Service 21 business service 1053 20 wholesale and retail 693 24 import and export 539 18 construction, transportation, storage and postal services 392 22 finance 68 19 information transmission, computer services and software 14 23 social service 12 Mining 25 petroleum, water and electricity production and supply 45 ที่มา : China’s Ministry of Commerce Transaction-level ODI Data (1998-2012) นอกจากนี้ งานชิ้นนี้ยังแสดงให้เห็นอีกว่า จีนกระจายการลงทุนแบบ ODI อย่างไรในประเทศ ต่างๆ และเลือกลงทุนในธุรกิจอย่างไร พบว่า สิ่งที่ ดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากจีนได้คือการมีเสถียรภาพ ทางการเมืองของประเทศนั้นๆ โดยไม่สาคัญว่าจะต้อง มีการปกครองโดยใช้หลักนิติรัฐหรือไม่ อีกทั้งยังพบ หลักฐานอีกว่าการลงทุนแบบ ODI ของจีนนั้น ขับเคลื่อนด้วยผลประโยชน์ไม่ต่างจากประเทศอื่นๆ และการลงทุนของจีนในแอฟริกาที่มีทีท่าเหมือนจะ ถดถอยลงในทุกภาคธุรกิจ ไม่ได้หมายความจีนจะ ถอนการลงทุนออกไปจากภูมิภาคนี้ เพียงแต่เปลี่ยน ยุทธศาสตร์การลงทุน ไปลงทุนในภาคธุรกิจที่ต้องใช้ ทักษะขั้นสูงและแรงงานมีทักษะ การลงทุนโดยตรงใน ต่างประเทศของจีนตอนนี้แทบจะครอบงาธุรกิจภาค บริการของประเทศที่ไปลงทุนซึ่งเป็นประเทศที่มี ทรัพยากรทางธรรมชาติที่สมบูรณ์ สรุป งานวิจัยชิ้นนี้ในแง่หนึ่งเป็นงานวิจัยที่ดี นาเสนอ การลงทุนของจีนในแอฟริกาให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น ว่า จีนนั้นไม่ได้ครอบงาแอฟริกาอย่างที่เราคิด สัดส่วน การลงทุนของจีนใสแอฟริกาเป็นเพียงร้อยละ 3 ของ การลงทุนจากต่างประเทศทั้งหมด อีกทั้งยังเห็นว่าจีน เน้นการลงทุนในภาคส่วนธุรกิจการบริการและธุรกิจที่ ใช้ทักษะขั้นสูงมากกว่าจะเป็นธุรกิจด้านทรัพยากร ธรรมชาติ แต่แน่นอนว่าจีนมักจะเลือกลงทุนใน ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ ในขณะเดียวกัน ในงานวิจัยชิ้นนี้เรามักจะมองเห็นการ สอดแทรกความคิดและมุมมองแบบตะวันตกอยู่มาก โดยยกเรื่องหลักนิติรัฐ (rule of law) และความ พยายามโยงไปว่าจีนนั้นไม่ได้สนใจเรื่องความเป็น ประชาธิปไตยและสิทธิในทรัพย์สินของประเทศที่เข้า ไปลงทุนสักเท่าไร เอกสารอ้างอิง David Dollar, Heiwai Tang and Wenjie Chen. Why is China investing in Africa? Evidence from the firm level. Brookings Institution. ออนไลน์ https://www.brookings.edu/wp- content/uploads/2016/06/Why-is-China- investing-in-Africa.pdf
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต BROOKINGS TSINGHUA G20 กับวิสัยทัศน์ “โลกที่นาร่วมกัน” ของจีน ในบทความเรื่อง G-20 ushers in collective leadership ของ Brookings เขียนโดย Cheng Li และ Chen Weihua กล่าวว่าการประชุม G-20 2016 ที่จีน เป็นเจ้าภาพจัดขึ้นเป็นครั้งแรก ระหว่างวันที่ 4—5 กันยายนที่ผ่านมา ณ เมืองหางโจว เป็นการประชุมที่ สะท้อนให้เห็นถึงภูมิทัศน์เศรษฐกิจการเมืองโลกที่ เปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นโลกที่เหล่าประเทศดาวรุ่ง (emerging countries) จะร่วมมีอานาจบทบาทในการ กาหนดชะตากรรมโลกมากขึ้น แต่ทั้งนี้ จะไม่ใช่เป็น การก้าวขึ้นมาแทนที่อานาจเก่า แต่จะเป็นการนาพา โลกไปร่วมกันระหว่างประเทศมหาอานาจเก่ากับ มหาอานาจใหม่ (“It is not about one country replac- ing another, but rather the collective leadership in global governance”) การประชุม G20 ครั้งนี้ถูกมองว่าเป็นการ ประชุมที่ “สมดุล” กับดุลอานาจใหม่ของโลกมากกว่า การกระชุม G7 ที่ในปีนี้จัดขึ้นที่ญี่ปุ่น เมื่อเดือน พฤษภาคมที่ผ่านมา เพราะในขณะที่ G7 เป็น “คลับ” ของประเทศพัฒนาแล้วเท่านั้น G20 รวมเข้ามาทั้ง ประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศดาวรุ่งชั้นนาของโลก เช่น BRICS และในหางโจวซัมมิทนี้เป็นครั้งแรกที่ ประธานกลุ่มประเทศกาลังพัฒนา G77 ซึ่งในปีนี้คือ ไทยได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุม G20 ด้วย นอกจากนี้ G20 ครั้งนี้ได้จัดขึ้นในยามที่ “กระแสต่อต้านโลกาภิวัตน์” แพร่สะพัดอยู่ในหลายส่วน ของโลก โดยเฉพาะในยุโรปและอเมริกา ในสหภาพ ยุโรปประสบทั้งกรณี Brexit และกระแสต้านผู้อพยพ จากตะวันออกกลางมากขึ้นๆ แม้แต่ประเทศที่เคยเป็น ตัวตั้งตัวตีว่าจะอ้าแขนรับอย่างเยอรมนี มาวันนี้เสียง มหาชนก็เอียงไปในทางไม่รับเสียแล้ว ขณะที่อีกฟาก หนึ่งของโลกตะวันตก ในสหรัฐอเมริกา กระแสต้าน โลกาภิวัตน์ถูกกระพือขึ้นอย่างรุนแรงตลอดหลายเดือน ที่ผ่านมาในการหาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดี ไม่ เพียงแต่ Donald Trump ตัวแทนพรรครีพับลิกัน เท่านั้นที่ต่อต้านผู้อพยพ ต้านการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจ ฯลฯ แต่ทั้ง Trump และ Hillary Clinton ตัวแทนพรรคเดโมแครตต่างก็ประกาศจุดยืนในการหา เสียงว่าไม่เอาโครงการ TPP (Trans Pacific Partner- ship) ข้อตกลงการค้าเสรีระหว่างสหรัฐกับประเทศรอบ มหาสมุทรแปซิฟิก 11 ประเทศ ของรัฐบาลโอบามา ภาพ: http://i.imgur.com/epM1Wyt.jpg
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต แต่ Cheng Li นักวิชาการจีนผู้เขียนบทความ นี้มองว่ากระแสต้านโลกภิวัตน์จะเป็นแค่ของชั่วคราว มากกว่า เพราะมาถึงวันนี้ โลกาภิวัตน์ได้กลายเป็น ทิศทางความเปลี่ยนแปลงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ของโลก ไปเสียแล้ว ที่ผ่านมา จีนก็เป็นผู้ได้รับประโยชน์จาก โลกาภิวัตน์ไม่น้อยกว่าใคร เพราะโลกาภิวัตน์ทีเดียว ที่ทาให้จีนกระโดดข้ามการสะสมทุนในประเทศได้ ไป ใช้ทุนที่สะสมมาจากทั่วโลกในการพัฒนาเศรษฐกิจ ภายในประเทศ เปลี่ยนจากประเทศยากจนมาเป็น ประเทศเศรษฐกิจอันดับสองของโลกได้ในประมาณ 40 ปี ดังนั้น จีนจะไม่ปฏิเสธโลกาภิวัตน์ และในระยะ ยาวโลกก็ไม่ควรและไม่สามารถปฏิเสธโลกาภิวัตน์ได้ แทนที่แต่ละชาติจะพยายามผลักไสปิดกั้นโลกาภิ วัตน์และกระโดดไปยึดเอานโยบายโดดเดี่ยว (isolationism) มาเป็นหลักในการบริหารประเทศอีก ครั้ง ควรร่วมกันแก้ไขจุดบกพร่องของโลกาภิวัตน์ และร่วมกันสร้างระบบโลกที่เป็นการนาร่วมกันของ ชาติต่างๆ ให้กว้างขวางครอบคลุมที่สุดเท่าที่ทาได้ จะดีกว่า เอกสารอ้างอิง Cheng Li และ Chen Weihua. G-20 ushers in collective leadership. Brookings Tsinghua. ออนไลน์ https://www.brookings.edu/on-the- record/g-20-ushers-in-collective-leadership/
  • 11. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต CARNEGIE MIDDLE EAST CENTER ตุรกีกาลังมุ่งตะวันออก ตุรกีเป็นประเทศที่ว่ากันว่าเป็นจุดที่ ตะวันออกมาพบกับตะวันตก ดินแดน 97 เปอร์เซ็นต์ ของตุรกีอยู่ในเอเชีย เพียง 3 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นที่จัด ว่าอยู่ในเขตบอลข่านของยุโรป อย่างไรก็ตาม นับแต่ การสร้างชาติตุรกีสมัยใหม่โดยเคมาล อตาเติร์กเป็น ต้นมา ตุรกีก็พยายามจะเป็นตะวันตกมาตลอด ทั้งใน การปรับปรุงพัฒนาประเทศให้เป็นแบบตะวันตก แยก ศาสนาออกจากรัฐ และดาเนินนโยบายใกล้ชิดเป็น พันธมิตรกับตะวันตก จนถึงในช่วงทศวรรษ 2000 ประเทศตุรกีภายใต้การนาของพรรค AK ก็ยังคงทา นโยบายต่างประเทศแบบ “มุ่งตะวันตก” พยายามเข้า เป็นสมาชิกสหภาพยุโรปอย่างเต็มที่ แต่มาในปี 2016 โดยเฉพาะหลังการกบฏ 15 ก.ค. ที่ผ่านมา ตุรกี ภายใต้พรรค AK วันนี้กาลังทาท่าจะหันหน้านโยบาย ต่างประเทศมาสู่ตะวันออกแทน Yildirim ผู้เขียนบทความเรื่อง Turkey’s Impending Eastern Turn ของสถาบัน Carnegie Middle East Center กล่าวว่ากบฏ 15 ก.ค. น่าจะ เป็นความตั้งใจของรัฐบาลเอร์โดอานเองที่จะสร้าง “ทางลัด” กระชับอานาจภายในประเทศและเปลี่ยนทิศ นโยบายต่างประเทศออกจากตะวันตก เป็นตัวของ ตัวเอง เป็นมหาอานาจในตะวันออกกลางได้มากขึ้น การรัฐประหารที่ล้มเหลวนี้ได้ช่วยหันเหความสนใจ ของสาธารณชนจากคดีทุจริตที่คนในรัฐบาลตกเป็น เป้า นอกจากนั้น การกวาดล้างฝ่ายกบฏยังเป็น โอกาสในการปฏิรูปกองทัพ ปลดนายพลมากถึง ภาพ: http://www.turkishnews.com/en/content/wp-content/uploads/2009/11/ErdoganOnMinaret.jpg
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 45 เปอร์เซ็นต์ออก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นฝ่ายที่สนับสนุน NATO เพื่อปรับทิศทางของกองทัพให้สอดรับกับ นโยบายต่างประเทศใหม่และเพื่อเสถียรภาพของ รัฐบาลเอง ส่วนในทางต่างประเทศ ภายหลังการกบฏ รัฐบาลก็ออกมาพูดในทานองว่าสหรัฐเป็นผู้อยู่ เบื้องหลังไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อมผ่านการ สนับสนุนฟัตตุลเลาะฮ์ กุเลน ทาให้ชาวตุรกีส่วน ใหญ่มองสหรัฐและตะวันตกว่าพยายามแทรกแซง กิจการภายในประเทศ ว่าสหรัฐ “พยายามโค่นล้ม เอร์โดอาน เพราะเขาทาให้ตุรกีเข้มแข็งมากเกินไป” เป็นข้อกล่าวหาที่ทาให้กระแสในประเทศที่เคย อยากจะเป็นตะวันตกมาตลอด หันออกจาก ตะวันตกได้อย่างรวดเร็ว สิ่งเหล่านี้ Yildirim ผู้เขียน บอกว่าเป็นเสมือน Fast-track ให้รัฐบาลเปลี่ยนโฉม หน้าการเมือง-การต่างประเทศของตุรกีได้อย่าง ฉับพลัน ตุรกีในวันข้างหน้าดูจะเดินไปสู่การเป็น ประเทศที่อิสระ เป็นตัวของตัวเอง และสามารถเล่น บทมหาอานาจในภูมิภาคตะวันออกกลางได้มาก ยิ่งขึ้น รวมทั้งหันหน้าสู่ตะวันออก สู่เอเชียมาก ยิ่งขึ้น ตุรกีในวันนี้กาลังจะเป็น “เพื่อน” ใน ตะวันออกกลางคนล่าสุดที่ตะวันตก ทั้งสหรัฐและ ยุโรป กาลังจะสูญเสียไป อย่างเดียวกับที่เคย สูญเสียอียิปต์สมัยประธานาธิบดีนัสเซอร์และ อิหร่านในทศวรรษ 1970 มาแล้ว เอกสารอ้างอิง A. Kadir Yildirim. Turkey’s Impending Eastern Turn. Carnegie Middle East Center. ออนไลน์ http://carnegie-mec.org/ sada/64358.
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลก กับการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย เมื่อวันพุธที่ 24 กันยายน 2559 สถาบันคลัง ปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหา วิทยาลัยรังสิต จัดเวทีระดมสมองเรื่องยุทธศาสตร์ครั้ง ที่ 2 เรื่อง สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับ การกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย โดย ได้รับเกียรติจาก ศ.นพ.ประเวศ วะสี เป็นประธานและ รศ.ดร. สมเกียรติ โอสถสภา อดีตอาจารย์ประจา คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ รศ. ดร. ปณิ ธาน วัฒนายากร ที่ปรึกษารองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ อาจารย์ประจาภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากร และร่วมอภิปราย ได้แนวคิดและข้อเสนอเพื่อพัฒนา ยุทธศาสตร์ชาติใน 3 ด้านหลักดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์ด้านการปฏิรูประบบบริหาร ราชการภายในประเทศ ต้องมีการสร้างโครงสร้าง การทางานร่วมกัน เพื่อ “ยกเครื่อง” การบริหารงาน ของประเทศไทย ซึ่งที่ผ่านมาเป็นประเทศ “เครื่อง หลุด” หน่วยงานภาคส่วนต่างๆ ทางานแยกกันไปตาม ภารกิจเฉพาะด้านของตน เมื่อมีปัญหาที่ต้องแก้ หรือ เรื่องที่ต้องผลักดันร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ จะ ทาได้ยากมาก หากปราศจากอานาจพิเศษ เราจึงควร สร้าง “โครงสร้างการทางานร่วมกัน” เพื่อมาร่วมกันทา ยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว ทั้งภาครัฐ รัฐบาล ราชการ เอกชน กองทัพ ประชาสังคม ท้องถิ่น ฯลฯ เป็น โครงสร้างการทางานที่เชื่อมโยงกันจากส่วนบนถึง ส่วนล่างของสังคม เพื่อกาหนดเป้าหมายของประเทศ ให้เป็นไปในทางเดียวกัน 2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างคน หัวใจของ ยุทธศาสตร์ชาตินั้นคือการสร้างคนรุ่นใหม่ให้เป็นคนมี คุณภาพสอดรับกับความต้องการในระยะยาวของชาติ และสังคมในระดับต่างๆ ซึ่งมีประเด็นสาคัญที่การ ปฏิรูประบบการศึกษา การวางแผนผลิตคน และ วางแผนการใช้กาลังคน
  • 14. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3. ยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศ ควร วางตัวให้เป็นประเทศอานาจขนาดกลาง (middle power) วางท่าทีต่อมหาอานาจให้สมดุล ไม่เอียงข้าง สหรัฐหรือจีนจนเกินไป ไม่ติดการวิเคราะห์โลกแบบ ตะวันตก ฝึกมองแต่ละชาติจากมุมมองเขา เพิ่ม ผู้เชี่ยวชาญที่รู้และเข้าอกเข้าใจฝ่ายอื่นๆ นอกจาก ตะวันตก เช่น จีน โลกมุสลิมและโลกรัสเซีย ให้เข้ามา อยู่ในวงการนักปฏิบัติ วงนักกาหนดนโยบาย เพื่อให้ ยุทธศาสตร์ต่างประเทศสมดุลขึ้น และที่สาคัญควร เรียนรู้เพื่อนบ้านมากกว่านี้ รวมทั้งสร้างนักการทูต นัก เจรจารุ่นใหม่ที่เก่งและสามารถอ่านสถานการณ์รอบตัว ได้ทะลุปรุโปร่ง
  • 15. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์ นางสาวปลายฟ้า บุนนาค นายปาณัท ทองพ่วง ภาพปก: http://www.chinausfocus.com/wp-content/uploads/2016/09/G20-bridge.jpg ปีที่เผยแพร่: กันยายน 2559 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064