SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
Baixar para ler offline
ฤาโลกเสรี
จะถึงกาลล่มสลาย
ฤาโลก
ตะวันตก
ทอดทิ้งซีเรีย
One Belt One Road
ในสายตา
ยูเรเซีย
ปี ที่ 3 ฉบับที่ 3
World
Think Tank
Monitor
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
World Think Tank Monitor ฉบับนี้ประกอบไปด้วย 1) เรื่อง One Belt One Road ในสายตา
ของภูมิภาคยูเรเซีย จากเวทีเสวนาของ World Economic Forum 2016 2) บทวิเคราะห์ถึงการ
ถดถอยของระเบียบโลกแบบเสรีนิยม จากสถาบัน Brookings ของสหรัฐอเมริกา และ 3) การวิจารณ์
บทบาทของตะวันตกในสงครามซีเรีย จากสถาบันการระหว่างประเทศแห่งนอร์เวย์
นอกจากนี้ จากที่ในช่วงที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาฯ ได้จัดเวทียุทธศาสตร์ อันเป็นเวทีระดม
สมองของผู้ทรงคุณวุฒิและบุคคลสาคัญในภาครัฐ ธุรกิจ วิชาการ กองทัพ ในประเด็นต่างๆ ที่มี
ความสาคัญต่อเส้นทางการพัฒนาประเทศของไทย และความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับโลก มาอย่าง
ต่อเนื่อง ใน World Think Tank Monitor ฉบับนี้ จึงได้นาเสนอเนื้อหาบางส่วน จากเวทียุทธศาสตร์
ครั้งที่ 5 เรื่อง โอกาสของไทยกับยุทธศาสตร์ Belt and Road ของจีน และเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 6
เรื่อง หลั่นล้า อีโคโนมี กับการสร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งยั่งยืน ที่จัดขึ้นในเดือนมีนาคมและ
เมษายน มาไว้ ณ ที่นี้ด้วย เชิญติดตามได้เลยค่ะ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
WORLD ECONOMIC FORUM 2016
One Belt One Road ในสายตายูเรเซีย 1
BROOKINGS INSTITUTION
ฤาโลกเสรีจะถึงกาลล่มสลาย 5
NORWEGIAN INSTITUTE OF INTERNATIONAL AFFAIRS
ฤาโลกตะวันตกได้ทอดทิ้งซีเรีย 8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 5 เรื่อง โอกาสของไทยกับยุทธศาสตร์ Belt and Road ของจีน 11
เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 6 เรื่อง หลั่นล้า อีโคโนมี กับการสร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งยั่งยืน 13
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
World Economic Forum 2016
One Belt One Road Belt & Road หรือ
New Silk Road เป็น “ความริเริ่ม” ของจีนที่จะ
กระตุ้นการค้าระหว่างทวีปเอเชีย ยุโรป และ
แอฟริกา เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจจีนและโลก ด้วย
การสร้าง ฟื้ น และพัฒนา “เส้นทางสายไหม”
ทางบกและทางทะเล ด้วยการพัฒนาเส้นทาง
คมนาคมขนส่งเชื่อมร้อยดินแดนเหล่านี้ขึ้นมา
ใหม่ ประกาศแผนอย่างเป็ นทางการโดย
ประธานาธิบดีสีจิ้นผิง ตั้งแต่ปี 2013 เป็นต้นมา
OBOR ถือได้ว่าเป็นมหายุทธศาสตร์ของ
จีนที่จะมีผลต่อโลกและไทยอย่างแน่นอน เพราะ
กินพื้นที่กว่าร้อยละ 55 ของ GDP โลกและ
ครอบคลุมร้อยละ 75 ของแหล่งพลังงานสารอง
ที่รู้จักกันในโลก ในประเทศไทยเองมีการพูดถึง
เรื่อง OBOR กันอยู่บ้างในหมู่ภาคธุรกิจ ภาครัฐ
และวงวิชาการถึงโอกาสผลกระทบและท่าทีของ
ไทยต่อมหาโครงการนี้ แม้ว่าไทยจะไม่ได้อยู่ใน
เส้นทาง OBOR โดยตรง
อย่างไรก็ดี ภูมิภาคหนึ่งที่ OBOR ผ่าน
โดยตรงมากที่สุดก็คือเอเชียกลาง หรือกว้างขึ้น
อีกหน่อยคือ “ยูเรเซีย” ดินแดนที่อยู่ระหว่าง
ยุโรปกับเอเชีย ซึ่งได้แก่ กลุ่มประเทศสถานแห่ง
เอเชียกลางและคอเคซัส World Think Tank
Monitor ฉบับนี้จะพาไปฟังความเห็นของคน
“ยูเรเซีย” หรือผู้ที่ทากิจการเกี่ยวข้องอยู่ในยูเร
เซีย ต่อ OBOR ซึ่งสรุปจากเวทีเรื่อง Eurasia
One Belt One Road ในสายตายูเรเซีย
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
and the Modern Silk Road ที่จัดขึ้นเป็นส่วน
หนึ่งของ World Economic Forum 2016 ที่
เมือง Davos ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
วงเสวนานี้ มี Kishore Mahbubani
อธิการ Lee Kuan Yew school of public policy
เป็นผู้ดาเนินรายการ มีผู้ร่วมเสวนาดังนี้ Giorgi
Kvirikashvili นายกรัฐมนตรีจอร์เจีย (ประเทศใน
คอเคซัส) Alexander Machkevitch ประธาน
กรรมการบริหารของ Eurasian Resource Group
จากลักเซมเบิร์กซึ่งทาธุรกิจอยู่ในเอเชียกลาง
(กลุ่มบริษัทระดับโลกที่ดาเนินกิจการด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน และเหมืองแร่ ซึ่ง
รัฐบาลคาซัคสถานมีหุ้นส่วน 40 เปอร์เซ็นต์ และ
เครือข่ายธุรกิจของกลุ่มนี้สร้างรายได้ร้อยละ 4
ของ GDP แก่คาซัคสถาน) Andrey Kostin
ประธานธนาคาร VTB กลุ่มธนาคารและธุรกิจ
การเงินชั้นนาของรัสเซีย และ Sultan Ahmed bin
Sulayem ประธาน DP world กลุ่มบริษัทดาเนิน
กิจการท่าเรือและโลจิสติกส์ระดับโลก ซึ่งมี
ศูนย์กลางอยู่ที่ดูไบ
ผู้ร่วมการเสวนาต่างมอง OBOR ในเชิง
บวกว่าเป็นโอกาสอันยิ่งใหญ่ทางเศรษฐกิจของ
ประเทศต่างๆ ที่อยู่บนเส้นทาง Andrey Kostin
ประธานธนาคาร VTB จากรัสเซียมองว่า ทิศ
ทางการพัฒนาโลกในยุคนี้ที่ประสบความสาเร็จ
คือการพัฒนาภายในภูมิภาค (Regional devel-
opment approach to the world) มากกว่าการ
พัฒนาระดับโลก (Global) ข้อตกลงพหุภาคี
ระดับโลกต่างๆ เช่น WTO แม้ดูเผินๆ จะมี
ประเทศใหม่เข้าเป็นสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่
การเจรจาพหุภาคีภายในนั้นก็มีแต่ล้มเหลว
ติดขัด ยากจะประสบความสาเร็จ มีทั้งการคว่า
บาตรสมาชิก ในขณะที่การเจรจาภายในภูมิภาค
และองค์กรระดับภูมิภาคกลับเติบโตและประสบ
ความสาเร็จกว่า เช่น AIIB Silk Road fund
สาหรับ OBOR เองก็น่าจะประสบความสาเร็จ
ในส่วนของรัสเซีย รัสเซียเองก็ตระหนักว่าการ
เติบโตของตนต้องผูกตัวเองเข้ากับเอเชียให้แน่น
แฟ้ นขึ้น ซึ่งรัสเซียก็กาลังดาเนินการอยู่ผ่าน
วิธีการต่างๆ เช่น การสร้ างกรอบ EEU
(Eurasian Economic Union) ก า ร เ ข้ า ร่ ว ม
OBOR ก็เป็นหนึ่งในวิธีเหล่านั้น
ขณ ะ ที่ Sultan Ahmed bin Sulayem
ประธาน DP World ให้เหตุผลที่เขามอง OBOR
เป็นโอกาสว่า การขนส่งโดยรถไฟจากจีนสู่ยุโรป
ใช้เวลา 12 วัน ขณะที่ทางเรือใช้เวลา 42 วัน
และค่ารถไฟก็ถูกลงเรื่อยๆ เพราะมี overcapac-
ity (oversupply) ในธุรกิจขนส่งทางรถไฟ มีการ
แข่งขันมาก ราคาจึงต่าลงมาก ฉะนั้น OBOR ซึ่ง
มากับการขนส่งทางบกข้ามทวีปจึงเป็นโอกาส
อย่างยิ่ง โดยเฉพาะการที่โครงการนี้มากับ
แนวคิดการเชื่อมต่อการค้าทั้งทางเรือ ราง ถนน
และอากาศ มองจากสายตาของผู้ประกอบการ
ด้านลอจิสติกส์ยักษ์ใหญ่ของโลกแล้วจึงเป็น
โอกาสอย่างยิ่ง
ต่อคาถามว่าชาวยูเรเซียมองความท้าทาย
ของโครงการ OBOR ว่าคืออะไร นายกรัฐมนตรี
จอร์เจียเห็นว่าคือความตกต่าของราคาน้ามันใน
ตลาดโลกในช่วงหลายปีมานี้ เพราะพลังงานเป็น
สินค้าส่งออกหลักและเป็นเสาหลักของเศรษฐกิจ
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ยูเรเซีย โดยเฉพาะเมื่อจะมีโครงการ OBOR เข้า
มา แต่ในจังหวะนี้ราคาพลังงานกลับมาตกต่า ยูเร
เซียอาจไม่ได้ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจเท่าที่ควร
ส่วนประธานกรรมการบริหารของ Eurasian Re-
source Group เห็นว่าความท้าทายคือการที่
ประเทศต่างๆ ในยูเรเซีย ซึ่งล้วนมีระบอบ
การเมืองแบบเผด็จการมาตั้งแต่ได้รับเอกราชหลัง
โซเวียตล่มสลายทั้งสิ้น ทาให้ในประเทศเหล่านี้ รัฐ
เป็นใหญ่แทบจะครอบคลุมทุกสิ่งในรัฐ ในยามที่มี
OBOR เขาเห็นว่าประเทศเหล่านี้ต้องลดอานาจรัฐ
เพิ่มอานาจตลาดให้เข้ามานาเศรษฐกิจแทนรัฐมาก
ขึ้น ด้วยการ privatize รัฐวิสาหกิจ
ส่วน ประธาน DP World กล่าวว่า ความ
ท้าทายของ OBOR ในมุมมองของเขาคือการทา
ให้ระยะเวลาขนส่งน้อยที่สุด เพราะข้อได้เปรียบ
ของ OBOR ต่อการขนส่งทางเรือคือเวลาที่สั้น
กว่า เพราะฉะนั้น เวลาจึงสาคัญ ทุกวันนี้สินค้า
ต่างๆ ต้องการเร็ว ดังนั้น จึงต้องประสานระเบียบ
ทางศุลกากรและชายแดนให้เป็นหนึ่งเดียวกันใน
ภูมิภาค เพื่อร่นระยะเวลาที่ติดอยู่ตรงชายแดนแต่
ละประเทศลงให้ขนของผ่านได้โดยเร็วที่สุด
ข้อแนะนาในอุดมคติ คือควรมีใบอนุญาตเดียวที่
เป็นที่เข้าใจและผ่านได้ทุกด่าน (ซึ่งมีแล้วในกลุ่ม
ประเทศอ่าวเปอร์เซีย) และควรทา pre-clearing
จัดการเรื่องเอกสารและขั้นตอนด้านระเบียบ
ต่างๆ ให้เรียบร้อยล่วงหน้าก่อนตู้สินค้าจะมาถึง
รวมทั้งให้เปลี่ยนจากการกระดาษมาเป็ น
อิเล็กทรอนิกส์ในเรื่องที่เกี่ยวของกับเอกสารลอจิ
สติกส์ทั้งหมด เพราะในท้ายที่สุด เมื่อพูดถึงทาง
สายไหม เมื่อพูดถึงลอจิสติกส์ ทุกอย่างอยู่ที่
ประสิทธิภาพและความรวดเร็ว คาโฆษณาของ
เส้นทางสายนี้คือการลดต้นทุนการขนส่ง (แข่งกับ
การขนส่งทางทะเลที่เป็นอยู่) ทุกครั้งที่ขบวน
สินค้าต้องหยุด ต้องล่าช้าไป นั่นหมายถึงต้นทุน
การขนส่งที่เพิ่มขึ้นทั้งสิ้น
ต่อประเด็นที่ว่า OBOR จะนามาซึ่งการ
แข่งขันจนถึงขั้นก่อความตึงเครียดในภูมิภาค
หรือไม่เพราะใน OBOR ก็มีหลายเส้นทาง และ
ในยูเรเซียเองก็มีหลายโครงการการรวมกลุ่มใน
ภูมิภาค เช่น EEU ที่นาโดยรัสเซีย ผู้ร่วมเสวนา
ทั้งหมดเห็นตรงกันว่าจะทาให้เกิดการแข่งขัน
ประเทศต่างๆ อาจจะแข่งขันกันเอง และเส้นทาง
สายต่างๆ ของ OBOR อาจจะแข่งขันกัน ว่าใคร
จะเป็นเส้นหลักและใครจะเป็นเส้นรองที่เป็น
ทางผ่านของการคมนาคมขนส่งระหว่างยุโรปกับ
เอเชีย แต่คงไม่ถึงกับกลายเป็นความขัดแย้งใน
ภูมิภาค ส่วนใหญ่เห็นว่าการแข่งขันจะเป็นโอกาส
ในการพัฒนาของยูเรเซียมากกว่า ทาให้แต่ละ
ประเทศต้องพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจของตนให้
มีประสิทธิภาพขึ้น เครือข่ายหลายเส้นทางที่เกิด
จาก OBOR จะเป็นโอกาสให้ภูมิภาคและดินแดน
ต่างๆ เชื่อมโยงกันมากขึ้ น ประเทศที่ไม่มี
ทางออกทางทะเล เช่นประเทศในเอเชียกลางก็จะ
อาศัยทางรถไฟมาออกทะเลที่อิหร่านได้ และการ
เชื่อมโยงจาก OBOR จะทาให้ประเทศในภูมิภาค
นี้มีผลประโยชน์ร่วมกันมากขึ้น อย่างน้อยในด้าน
การช่วยกันรักษาเส้นทางการขนส่งให้สะดวก ให้
ปลอดภัย จากภัยต่างๆ เช่น การก่อการร้าย เป็น
ต้น
ความเห็นของยูเรเซียที่สะท้อนจากเวที
เสวนาที่ดาวอสนี้ เมื่อชั่งน้าหนักแล้ว ทุกคนต่าง
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เห็นว่า OBOR เป็นโอกาสมากกว่าความท้าทาย
ของภูมิภาค ผู้นาแห่งยูเรเซียต่างมอง OBOR
ด้วยความหวังและมองว่าเป็นอนาคต ต่อคาถาม
ว่าจีนมีวาระในการทา OBOR หรือการเข้าไปใน
เอเชียกลางมากกว่าเรื่องเศรษฐกิจหรือไม่
Kishore Mahbubani กล่าวว่าแน่นอนว่ามีทั้งเรื่อง
เศรษฐกิจและภูมิรัฐศาสตร์ อย่างไรก็ตาม
ส่วนตัวคิดว่าสิ่งที่น่าสนใจคือจีนมีความอดทนสูง
จีนรอได้เสมอ อะไรที่เป็นข้อจากัด เป็นอุปสรรค
ต่อจีน หรืออะไรที่จีนยังไม่ได้เป็น ยังไม่มีในวันนี้
1 0 -2 0 ปี จี น ร อ ไ ด้ เ พ ร า ะ ถึ ง วั น นั้ น
สภาพแวดล้อมต่างๆ ในโลกหรือในภูมิภาคก็
เปลี่ยนไปแล้ว การมองจีนจึงต้องมองในระยะยาว
เอกสารอ้างอิง
Davos 2016 - Eurasia and the Modern
Silk Road. World Economic Forum 2016.
ออนไลน์ https://www.youtube.com/watch?
v=E8Nqs_8JLis&t=188s
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
BROOKINGS INSTITUTION
สถาบัน Brookings ได้เผยแพร่รายงาน
เรื่อง The twilight of the liberal world order
โดย Robert Kagan รายงานดังกล่าวได้พูดถึง
ระเบียบโลก (World Order) แบบเสรีนิยม ที่
สหรัฐเป็นผู้สร้างขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2
สิ้นสุดลง แต่ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ ระเบียบโลกแบบ
เสรีนิยมกาลังถูกท้าทายจากทั้งภายในและ
ภายนอก ภายนอกนั้ น เกิดจากความ
ทะเยอทะยานของประเทศมหาอานาจอื่นและ
มหาอานาจขนาดกลางที่รู้สึกไม่พอใจในสถานะ
ของตน เช่น จีน รัสเซีย อิหร่าน เกาหลีเหนือ
หรือแม้กระทั่งขบวนการรัฐอิสลาม (ISIS) ที่
อยากจะก้าวขึ้นมาเป็นมหาอานาจปกครอง
ภูมิภาคของตน และอาจถึงขั้นที่อยากจะล้ม
ระเบียบโลกเดิม ส่วนความท้าทายจากภายใน
คือความสั่นคลอนระหว่างสหรัฐและพันธมิตร
ปัจจุบันพันธมิตรของสหรัฐเริ่มเกิดความสงสัยใน
ท่าทีของสหรัฐ พยายามมองหาความมั่นใจจาก
สหรัฐ และต้องการให้สหรัฐมี commitment ที่จะ
ยังเล่นบทบาทในฐานะผู้ค้าประกันหลักของ
ระเบียบโลกเสรีนิยมไว้ เพื่อรักษาผลประโยชน์
ของกลุ่มตน
จีนและรัสเซียเป็นประเทศมหาอานาจที่
เป็นความท้าทายสาคัญที่สุดสาหรับสหรัฐ จีน
เติบโตขึ้นเรื่อยๆ ขยายอานาจทั้งทางการเมือง
ฤาโลกเสรีจะถึงกาลล่มสลาย
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เศรษฐกิจ และการทหาร แต่หากจะเผชิญหน้ากับ
สหรัฐโดยตรงก็อาจต้องคิดหน้าคิดหลังให้ดี เพราะ
สหรัฐยังเข้มแข็งอยู่มาก และจีนเองก็ยังมีความท้า
ทายจาก 3 กลุ่มอานาจใหญ่ คือ ประเทศมหาอานาจ
ระดับโลก มหาอานาจในภูมิภาค เช่น เกาหลีใต้
อินเดีย ญี่ปุ่ น และกลุ่มประเทศเล็กแต่มีศักยภาพ
เช่น เวียดนามและออสเตรเลีย
อย่างไรก็ตาม ช่วงไม่กี่ปี มานี้ ระเบียบโลก
แบบเสรีนิยมเริ่มอ่อนแอและแตกหักที่แกนกลาง
เป็นผลอันเนื่องมาจากหลายปัจจัย เช่น ภาวะ
เศรษฐกิจตกต่า ลัทธิชาตินิยมและชนเผ่านิยม
(tribalism) กลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง พรรค
การเมืองที่ไม่ตอบสนองความต้องการของประชาชน
ประชาชนสูญเสียความเชื่อมั่นในรัฐบาล ในระบบ
ทุนนิยม และในระบอบประชาธิปไตย
หนึ่งในวิกฤตที่สหรัฐกาลังเผชิญ คือชาว
อเมริกันเกิดความสงสัยว่าทาไมพวกเขาต้องแบกรับ
ความผิดชอบที่ต้องรักษาระเบียบโลกเอาไว้เช่นนี้ ใน
เมื่อผลประโยชน์ที่ชาวอเมริกันได้รับไม่ได้เห็น
ชัดเจน และสหรัฐต้องเป็นผู้ที่เสียสละตัวเองใน
ขณะที่ประเทศอื่นๆ ได้รับผลประโยชน์ไป
หลังการเลือกตั้งอเมริกาครั้งล่าสุด ดอนัลด์
ทรัมป์ เป็นฝ่ายชนะการเลือกตั้ง และที่เขาชนะการ
เลือกตั้ง ส่วนหนึ่งอาจมีสาเหตุมาจากนโยบาย
“America First” ที่ชูการคิดถึงผลประโยชน์ของ
อเมริกาเป็นหลัก ลดภาระและบทบาทของสหรัฐใน
โลก เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าสหรัฐไม่ได้สนับสนุน
โครงสร้างพันธมิตรระหว่างประเทศอีกต่อไป ไม่ได้
ปฏิเสธอิทธิพลของมหาอานาจอื่นและมหาอานาจ
ระดับภูมิภาค รวมถึงไม่ได้พยายามที่จะรักษา
ระเบียบโลกแบบเสรีนิยมอีกต่อไป ซึ่งผู้เขียนมอง
ว่า การลดบทบาทในโลกของสหรัฐ มีแนวโน้มที่จะ
ทาให้โลกหวนคืนสู่ความไม่มีเสถียรภาพ กระตุ้น
ให้มหาอานาจอื่นที่ต้องการท้าทายระเบียบโลก เช่น
จีน รัสเซีย หรืออิหร่าน มีแนวโน้มก้าวร้าวมากขึ้น
พันธมิตรของสหรัฐอาจรู้สึกหมดหนทางช่วยเหลือ
และสูญเสียความเชื่อมั่นในโลกเสรี ซึ่งสถานการณ์
นี้เป็นโอกาสให้มหาอานาจอื่นๆ ก้าวขึ้นมาสร้าง
ระเบียบโลกใหม่ให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของ
ตนเอง
ผู้เขียนเตือนทรัมป์ ว่า ประวัติศาสตร์บอกเรา
ว่าประเทศมหาอานาจอื่นในโลกที่ต้องการจะท้า
ทายระเบียบโลกเดิม ไม่เคยพอใจในสถานะของตน
และเรียกร้องสิ่งที่ตนต้องการตลอดเวลา และความ
คับข้องใจเหล่านี้ไม่ค่อยได้รับการแก้ไข เช่น
เยอรมนีรู้สึกไม่พอใจในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ และ
รัสเซียไม่ได้ต้องการที่จะขยายอิทธิพลแค่ยูเครน
แต่ต้องการขยายไปถึงกลุ่มประเทศริมทะเลบอล
ติก และคาบสมุทรบอลข่านด้วย และการที่จะให้
ความต้องการเหล่านี้สิ้นสุดลงมีเพียงทางเดียว คือ
ประเทศเหล่านั้นต้องรู้สึกว่าตนเองได้เพียงพอแล้ว
เช่น สหรัฐอเมริกาที่รู้สึกว่าตนเองเพียงพอแล้ว
ผู้เขียนได้วิเคราะห์มุมมองทางการเมือง
ระหว่างประเทศของทรัมป์ ไว้ว่า ทรัมป์ มองกลุ่ม
มุสลิมที่มีแนวคิดสุดโต่งว่าเป็นภัยอย่างยิ่งต่อ
ประเทศของตน และไม่ได้มองว่าภัยคุกคามหลัก
ของประเทศมาจากการแข่งขันกันของประเทศ
มหาอานาจ แต่ในมุมมองของผู้เขียน ความท้าทาย
ทั้งสองแบบเป็นสิ่งที่ทรัมป์ ต้องเผชิญไปพร้อมกัน
ซึ่งภัยคุกคามจากการก่อการร้ายเป็นสิ่งที่จัดการได้
ง่ายกว่า หากเทียบกับการจัดการกับการเผชิญหน้า
และแข่งขันกันของประเทศมหาอานาจต่างๆ
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
พิจารณาจากประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา การที่จะ
ทาให้ประเทศมหาอานาจทุกฝ่ ายพอใจเป็นสิ่งที่
จัดการได้ยากมาก และหากจัดการไม่ดีจะก่อให้เกิด
ความเสียหายได้สูงมาก เช่น สงครามโลกครั้งที่ 1
และ 2
ผู้เขียนเสนอว่าทางที่ดีที่สุดที่จะหลีกเลี่ยงการ
ปะทะกันระหว่างมหาอานาจ คือการทาให้สถานะ
ของสหรัฐชัดเจน และสหรัฐต้องยินดีที่จะแข่งขันกับ
ประเทศมหาอานาจอื่นในบางด้าน เช่น เศรษฐกิจ
แนวคิด และการเมือง หรือแม้แต่ทางการทหาร
ระเบียบโลกแบบเสรีนิยมเอื้อต่อการแข่งขันดังกล่าว
แม้จีนและรัสเซียจะไม่ได้เป็นเสรีนิยมก็ยังสามารถ
แข่งขันได้ดี เช่น ในด้านเศรษฐกิจ จีนสามารถแข่ง
กับสหรัฐได้อย่างสูสี
ผู้เขียนสรุปว่า ตอนนี้ถึงแม้ว่าจะมีการ
วิจารณ์ถึงความถดถอยของสหรัฐ และการสั่นคลอน
ของระเบียบโลกแบบเสรีนิยมอย่างเป็นวงกว้าง แต่
อานาจทางการทหารของสหรัฐ (ผู้เขียนมองว่าเป็น
อานาจสาคัญในการรักษาความสมดุลของระเบียบ
โลก) ก็ยังมีมากที่สุด ยากที่ประเทศอื่นๆ จะต่อกร
ได้ และหากโลกปราศจากอานาจทางการทหารของ
สหรัฐ ที่เป็นกาลังหลักในการรักษาสมดุลอานาจใจ
ภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก อาจทาให้เกิดการแข่งขัน
อานาจทางการทหารอย่างเสรีของมหาอานาจระดับ
ภูมิภาค และอาจจะส่งผลให้ระบบระเบียบโลกชะงัก
ลงได้ นอกจากนี้ เขายังชี้ว่า 4 ปีหลังจากนี้จะเป็นจุด
เปลี่ยนที่สาคัญ หากรัฐบาลสหรัฐชุดต่อจากทรัมป์
ยังดาเนินนโยบายแบบเดียวกับทรัมป์ ปกป้ อง
เฉพาะผลประโยชน์ของสหรัฐ เน้นการจัดการกับ
ปัญหาการก่อการร้าย และไม่ให้ความสาคัญกับ
พันธมิตรของตน การล่มสลายของระเบียบโลกเสรี
นิยมที่ทุกคนพูดถึงก็คงอยู่ไม่ไกล
เอกสารอ้างอิง
Robert Kagan. The twilight of the liberal
world order. Brookings. ออนไลน์ https://
www.brookings.edu/research/the-twilight-of-
the-liberal-world-order/
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ภาพลักษณ์หนึ่งที่โลกตะวันตกได้แสดงให้
เห็นมาตลอดคือการเข้าไปแทรกแซงกิจการภายใน
ของประเทศอื่นโดยอ้างถึงความจาเป็ นด้าน
มนุษยธรรม ซึ่งหลายครั้งนามาสู่ข้อถกเถียงว่าการ
แทรกแซงเหล่านั้นเป็นไปเพื่อมนุษยธรรมจริง
หรือไม่ หรือแม้ว่าจะมีเป้ าหมายเพื่อมนุษยธรรม
จริงก็ตามที การแทรกแซงนั้นจะช่วยแก้ปัญหาได้
จริงหรือ แม้จะมีอยู่หลายกรณีด้วยกันที่เป็นที่กังขา
ถึงความเหมาะสมที่ชาติตะวันตกโดยเฉพาะสหรัฐ
จะเข้าแทรกแซงประเทศอื่นๆ แต่เมื่อใดที่เกิด
วิกฤติการณ์ร้ายแรงขึ้นโลกก็มักถามหาบทบาทของ
ชาติตะวันตกเสมอ
สาหรับกรณีสงครามกลางเมืองในซีเรียก็
เช่นเดียวกัน มีความรู้สึกที่เกิดขึ้นมากมายว่าโลก
(ตะวันตก) ได้ทอดทิ้งให้ชาวซีเรียต้องเผชิญกับ
ชะตากรรมเพียงลาพัง แม้จะมีความพยายามจาก
โลกตะวันตกที่อ้างว่าเป็นไปเพื่อยุติความรุนแรงที่
เกิดขึ้นแต่ก็ไม่เป็นผลมากนัก ซึ่งความล้มเหลวตรง
นี้เมื่อพูดอย่างเป็นธรรมแล้วต้องแบ่งออกเป็นสอง
กรณีด้วยกัน คือช่วงก่อนที่รัสเซียจะส่งทหารเข้ามา
ฤาโลกตะวันตกได้ทอดทิ้งซีเรีย
Norwegian Institute
of International Affairs
ซากปรักหักพังของโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเมือง Idlib ซึ่งอยู่ภายใต้การสนับสนุนขององค์การแพทย์ไร้พรมแดน
(MSF) ซึ่งองค์การแพทย์ไร้พรมแดนได้ยืนยันผลการสอบสวนที่ชี้ว่ากองทัพอากาศรัสเซียและซีเรียอยู่เบื้องหลัง
การถล่มโรงพยาบาลดังกล่าว
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ช่วยเหลือรัฐบาลซีเรียและภายหลังจากที่รัสเซียได้
ส่งทหารเข้ามาแล้ว ซึ่งสถานการณ์ของสงครามช่วง
ก่อนและหลังการเข้าแทรกแซงของรัสเซียนั้นเรียก
ได้ว่ามีความต่างอย่างมากและส่งผลต่อท่าทีที่ควร
มีต่อสงครามอีกด้วย
ก่อนที่รัสเซียจะเข้าร่วมสงครามอย่างเต็มตัว
นั้น อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นความผิดพลาดที่สมควร
ถูกประณามของโลกตะวันตกที่ไม่สามารถเลือก
หนทางที่ถูกต้องเพื่อยุติสงครามโดยเร็ว ความ
เชื่อมั่นในวิถีทางทางการทูตมากเกินไปทาให้พวก
เขาเชื่อว่าจะสามารถยุติปัญหาได้บนโต๊ะเจรจา ซึ่ง
ไม่สอดคล้องบริบทของเหตุการณ์ในพื้นที่ซึ่งตึง
เครียดเกินกว่าวิถีทางการทูตหรือการเมืองจะมี
พลังพอที่จะยุติปัญหาได้ และโลกตะวันตกก็ยังไม่
มีความเด็ดขาดที่จะสนับสนุนฝ่ายต่อต้านรัฐบาล
อย่างเต็มที่ หรือไม่ก็เลี่ยงการเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับ
สงครามเสียตั้งแต่แรก เนื่องจากยังคาดคะเน
เหตุการณ์ดีเกินไปว่าจะมีทางออกที่ทุกฝ่ าย
สามารถตกลงร่วมกันได้ โดยพวกเขาคาดว่า
ท้ายที่สุดฝ่ายต่อต้านรัฐบาลจะเป็นผู้ชนะ และ บัช
ชาร อัล-อัซซาด ประธานาธิบดีคนปัจจุบันจะก้าว
ลงจากตาแหน่งหรือไม่ก็ลี้ภัยทางการเมืองไปยัง
ต่างประเทศ ซึ่งนี่เป็นการคาดคะเนที่ผิดจาก
ข้อเท็จจริงของสงครามครั้งนี้ซึ่งเป็นสงครามที่
ขัดแย้งกันอย่างรุนแรงและแตกหักอย่างสุดขั้ว นั่น
ย่อมไม่ใช่เรื่องแปลกที่ บัชชาร เองจะเกรงว่าหาก
ตนสิ้นอานาจลงแล้วย่อมเสี่ยงที่จะถูกเอาชีวิต
เช่นเดียวกับ กัดดาฟี ย์ แห่งลิเบียซึ่งท้ายที่สุดแล้ว
ต้องจบชีวิตลงอย่างน่าอดสู นี่จึงไม่ใช่เพียงการสู้
เพื่อรักษาตาแหน่งทางเมือง หากแต่เป็นการสู้เพื่อ
รักษาชีวิตของเขาเองและตลอดจนคนที่อยู่รอบ
ข้าง ฉะนั้นไม่มีทางที่บัชชารจะยอมถอยได้โดยง่าย
ด้วยเหตุนี้สงครามจึงยืดเยื้อ ไม่มีฝ่ายใดยอมแพ้
และยังคงมีประชาชนถูกลูกหลงจากสงครามเป็น
จานวนมาก หากโลกตะวันตกเลือกที่จะเข้ามา
แทรกแซงด้วยการกาหนดให้ซีเรียเป็นเขตห้ามบิน
แล้วย่อมสามารถปกป้องชีวิตของประชาชนผู้มิใช่คู่
สงครามได้จานวนมาก เพราะการทิ้งระเบิดทาง
อากาศจากกองทัพซีเรียคือสาเหตุร้ายแรงที่สุดที่
ทาให้ประชาชนต้องเสียชีวิต
แต่เมื่อรัสเซียเข้ามาเป็นผู้เล่นสาคัญของ
สงครามแล้วการประกาศเขตห้ามบินย่อมหมายถึง
การประกาศตัวเป็นศัตรูกับรัสเซียโดยอ้อม และ
อาจพัฒนาเป็นความขัดแย้งโดยตรงที่ส่งผลร้าย
และแผ่ขยายกว้างออกไปนอกซีเรียได้อีกด้วย
ฉะนั้นการเลี่ยงปะทะกับรัสเซียจึงเป็นเรื่องที่เข้าใจ
ได้ว่าทาไมโลกตะวันตกจะเลือกเดินเช่นนี้
กล่าวโดยสรุปแล้ว การที่โลกตะวันตกเลือก
ไม่สนับสนุนฝ่ายต่อต้านรัฐบาลซีเรียอย่างเต็มที่
เสียแต่แรกและขณะเดียวกันก็ไม่ถอนตัวจากความ
ขัดแย้งนี้ทีเดียว ทาให้สงครามกลางเมืองครั้งนี้
ยืดเยื้อและมีผู้บริสุทธิ์เสียชีวิตเป็นจานวนมาก
เนื่องจากทั้งสองฝ่ายมีสรรพกาลังไม่ต่างกันนัก ทา
ให้ไม่มีใครเอาชนะใครได้อย่างเบ็ดเสร็จ การ
ตัดสินใจที่ไม่เด็ดขาดนี้สมควรที่จะถูกกล่าว
ประณาม แต่ภายหลังจากรัสเซียเข้ามาแทรกแซง
แล้วก็เป็นเรื่องที่เลี่ยงไม่ได้ที่ประเทศโลกตะวันตก
ต้องจากัดบทบาทของตัวเองลงเพื่อเลี่ยงการปะทะ
กับรัสเซียซึ่งอาจก่อให้เกิดสงครามครั้งใหม่ที่
รุนแรงกว่าสงครามกลางเมืองซีเรียด้วยซ้าไป
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
อ้างอิง
Lars Christie, Has the West betrayed
Syria? Assessing the trade-off between geo-
politics and morality. the Norwegian Institute
of International Affairs. ออนไลน์ http://
www.nupi.no/en/Events/2017/The-conflict-
in-Syria-Great-Power-Politics-and-
Humanitarian-Consequences.
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 5
“โอกาสของไทยกับยุทธศาสตร์ Belt and Road ของจีน”
เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2560 สถาบัน
คลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐ
กิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้จัดเวทียุทธศาสตร์
ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “โอกาสของประเทศไทย
ในการพัฒนาและเติบโตไปกับยุทธศาสตร์
Belt and Road ของจีน” มีคุณวิบูลย์ คูสกุล
อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจาประเทศจีน
คุณโจ ฮอร์น พัธโนทัย CEO บริษัท
Strategy613 บริษัทที่ปรึกษาด้ านธุรกิจ
ผู้เชี่ยวชาญเรื่องจีน และ ผศ.วรศักดิ์ มหัทธ
โนบล ผู้อานวยการศูนย์จีนศึกษา จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากรบรรยายนาการ
เสวนา โดยได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิ
หลากหลายวงการเข้าร่วม
เวทียุทธศาสตร์ เป็นเวทีหนึ่งที่สถาบัน
คลังปัญญาฯ จัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในฐานะ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยากรทั้ง 3 อดีตเอกอัครราชทูตวิบูลย์ คูสกุล คุณโจฮอร์น พัธโนทัย และผศ.วรศักดิ์ มหัทธโนบล (จากซ้าย)
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
การขับเคลื่อนทางสังคมรูปแบบหนึ่ง โดย
การเปิ ดเวทีให้ ผู้ ทรงคุณวุฒิผู้ มาก
ประสบการณ์ในวงการต่างๆ มาร่วมกัน
วิเคราะห์สถานการณ์โลก ภูมิภาค และ
สังคมไทย และนาเสนอความคิดเรื่องทิศ
ทางการพัฒนาของไทยให้สอดคล้องกับ
ความเปลี่ยนแปลง และขับเคลื่อนความรู้ที่
ได้สู่ภาคประชาสังคม/ภาคสาธารณะ และ
ส่วนหนึ่งก็สื่อไปยังฝ่ายกาหนดนโยบาย-ผู้
ตัดสินใจ
ที่ผ่านมาเวทีนี้ได้รับเกียรติจาก ศ.นพ.
ประเวศ วะสี เป็นประธานการประชุม และมี
บุคคลที่มีบทบาทในทางปฏิบัติหรือมี
บทบาทนาทางความคิดเข้าร่วม เช่น อดีตผู้
บัญชาการทหารสูงสุด อดีตสมาชิกสภานิติ
บัญญัติแห่งชาติ สมาชิกคณะกรรรมการ
ยุทธศาสตร์ชาติของรัฐบาล บุคคลสาคัญจาก
ภาคธุรกิจ และวงวิชาการ
ในเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 5 เรื่อง
โอกาสของไทยกับยุทธศาสตร์ Belt and
Road ของจีน ได้มีการพูดถึงเบื้องหลัง
วัตถุประสงค์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และ
ความมั่นคงของจีนในการทายุทธศาสตร์
Belt and Road /One Belt One Road
(OBOR) หรือที่เรียกว่า ยุทธศาสตร์เส้นทาง
สายไหมใหม่ ซึ่งเป็นนโยบายที่จะเชื่อมจีน
เข้ากับเอเชีย ยุโรป และแอฟริกา ผ่านการ
พัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งให้เชื่อมโยง
กัน เพื่อกระตุ้นการค้าในภูมิภาคนี้ของโลก
นอกจากนี้ ที่ประชุมยังได้ร่วมกันระดม
สมอง ด้วยมุมมองที่หลากหลาย และเสนอ
ท่าทีของไทยต่อมหายุทธศาสตร์ของจีน ดังนี้
1) ให้ไทยยึดหลักทาความร่วมมือ
แบบ win-win กับจีน สนองประโยชน์ทั้ง
สองฝ่ ายอย่างเท่าเทียม อะไรที่ไม่ดีกับเรา
ก็ไม่จาเป็ นต้องทา โครงการอย่างความ
ร่วมมือรถไฟไทย-จีนเป็นตัวอย่างของ
โครงการที่ไม่ประสบความสาเร็จ เพราะ
สนองประโยชน์และวาระของจีนมากกว่าไทย
2) พัฒนาคนไทยและดึงดูดคนจีน
เข้ามาลงทุนในไทยมากขึ้ น โดยใช้
ประโยชน์จากข้อได้เปรียบที่มีอยู่ เช่น ที่ตั้ง
ของประเทศ พร้อมกับเพิ่มมาตรการดึงดูด
จาพวกการอานวยความสะดวกแก่นักธุรกิจ
ต่างชาติด้วยมาตรการทางกฎหมายและทาง
ภาษี เพื่อดึงดูดทุนและผู้มีความสามารถจาก
จีนและที่ต่างๆ มาเสริมในการพัฒนา
ประเทศ
3) ดาเนินความร่วมมือกับจีนโดยยึด
ประโยชน์แห่งชาติมิให้ไทยเสียเปรียบ
หลายโครงการที่จีนผลักดันให้ไทยทา เช่น
การขุดคอคอดกระ และการระเบิดเกาะแก่ง
ในแม่น้าโขง มีประเด็นทางภูมิรัฐศาสตร์และ
ความมั่นคงร่วมด้วย นอกเหนือจากเรื่อง
เศรษฐกิจ ไทยจึงควรระมัดระวังในการ
ดาเนินความร่วมมือกับจีนให้ไม่เสียเปรียบ
เพราะผลประโยชน์หลายเรื่องไม่ตรงกัน
4) ไทยควรใช้บทบาทร่วมหลายฝ่ าย
ทั้ง รัฐ มหาวิทยาลัย Think Tank ภาค
ธุรกิจ กองทัพ และกระทรวงการ
ต่างประเทศ ในการคิดเรื่องยุทธศาสตร์
ใหญ่
รายละเอียดของการประชุมติดตามได้
ในเว็บไซต์ Rsu-brain.com
13
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 6
“หลั่นล้า อีโคโนมี กับการสร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งยั่งยืน”
เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560 สถาบัน
คลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐ
กิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้จัดเวทียุทธศาสตร์
ครั้งที่ 6 ในหัวข้อ “หลั่นล้า อีโคโนมี กับการ
สร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งยั่งยืน” มี
อ.วีระศักดิ์ โควสุรัตน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นวิทยากร
บรรยายเรื่อง “ปฏิรูปท่องเที่ยว: สร้างไทย
ไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบหลั่นล้า อีโคโนมี
ได้อย่างไร” ได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิ
หลากหลายวงการเข้าร่วมรับฟังการบรรยาย
และเสวนา
ในการบรรยาย อ.วีระศักดิ์ ชี้ ว่า
ปัจจุบันการท่องเที่ยวของไทยเป็นที่รู้จัก
ระดับโลก ภาคการท่องเที่ยวเป็นเครื่องจักร
ที่นารายได้สู่ประเทศเป็นลาดับ 2 รองจาก
ภา คอุตสา หกร ร ม (มา กกว่ า ภา ค
เกษตรกรรมที่เป็นลาดับ 3) การท่องเที่ยว
ของไทยมีเสน่ห์ที่หาที่อื่นไม่ได้ ซึ่งเกิดจาก
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
14
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
วัฒนธรรมที่ฝังอยู่ในตัวเรา เช่น ประเทศ
ไทยมีความยิ้มแย้มและยืดหยุ่น ในขณะที่
ญี่ปุ่นยิ้มแย้ม แต่ไม่ยืดหยุ่น ส่วนฝรั่งอาจยิ้ม
แย้มบ้าง ยืดหยุ่นได้ แต่คิดเงิน และที่มาก
ไปกว่านั้น การท่องเที่ยวมิได้มีความสาคัญ
แต่ในด้านมูลค่า แต่มีความสาคัญในด้าน
คุณค่ามหาศาล เพราะทาให้คนไทยเราเห็น
ว่า เราเป็นอย่างที่เราเป็นอยู่นั้นดีแล้ว
อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ต้องทาต่อไปใน
เรื่องการท่องเที่ยวคือปรับโครงสร้างการ
บริหารของภาครัฐในการดูแลจัดการให้ตาม
ทันความเปลี่ยนแปลง เพราะทุกวันนี้ใช้
ระบบราชการบริหารทาให้ไม่ทันสถานการณ์
นอกจากนี้ ทิศทางในการทาเรื่อง
ท่องเที่ยวคือ ต้องให้การท่องเที่ยวรับใช้
ชุมชน มิใช่ให้ชุมชนรับใช้นักท่องเที่ยว
ทิศทางนี้จะทาให้การท่องเที่ยวของเรายั่งยืน
และเป็นคุณกับคนไทย
เช่นเดียวกับในภาพใหญ่ของโมเดล
เศรษฐกิจแบบหลั่นล้า ซึ่งเป็นสิ่งที่เหมาะสม
กับพื้นฐานของสังคมวัฒนธรรมของเรา และ
เราทาได้อย่างถนัดเข้มแข็ง การทาเศรษฐกิจ
แบบหลั่นล้าควรมีปรัชญาใหญ่ว่า เน้นให้
ชุมชนหลั่นล้า มากกว่านักท่องเที่ยวหลั่นล้า
เพียงอย่างเดียว ต้องไม่ตามใจนักท่องเที่ยว
จนกระทบต่อชุมชนและประเทศ
นอกจากการท่องเที่ยว อ.วีระศักดิ์ ยัง
ได้พูดถึงกิจกรรมอื่นในเศรษฐกิจหลั่นล้า
เช่น ธุรกิจภาพยนตร์ไทย พระเครื่อง หรือ
ธุรกิจการเป็นศูนย์การจัดประชุมและแสดง
นิทรรศการ (MICE) ซึ่งทุกสิ่งกาลังเติบโต
และเรามีจุดแข็งทาได้ดี แต่เราต้องพัฒนา
ระบบบริหารจัดการให้รองรับในการพัฒนา
ธุรกิจเหล่านี้ให้ต่อยอดไปได้ โดยที่ชุมชน
คนไทยและประเทศไทยได้ประโยชน์
ตัวอย่างเช่น ปัจจุบัน จากการที่เรามีธุรกิจ
MICE ที่รุ่งเรือง ปี ๆ หนึ่ง มีคนจาก
ต่างประเทศเดินทางมาประชุมถึง 1 ล้านคน
และจัดประชุมกันในประเทศถึง 25 ล้านคน
จึงได้มีการกาหนดและรณรงค์ให้ใช้ กาแฟ
ข้าว หรือผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น เสิร์ฟในที่
ประชุมเหล่านี้แทนการใช้ของต่างชาติ ก็จะ
ทาให้มิใช่ทา MICE เพื่อ MICE เท่านั้น แต่
ช่วยภาคส่วนอื่นในสังคมได้ด้วย
โดยสรุป โมเดลเศรษฐกิจแบบหลั่นล้า
น่าสนใจเพราะเป็นสิ่งที่เหมาะสม เป็นความ
ถนัดชานาญ ที่ฝังอยู่ในตัวคนไทยอยู่แล้ว
พัฒนาต่อได้ไม่ยาก เป็นสิ่งที่เรามีพิเศษกว่า
ทีอื่นใดในโลก และพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่ามี
มูลค่าทางเศรษฐกิจสูงไม่แพ้ภาคส่วนอื่น ทุก
แขนงของเศรษฐกิจแบบหลั่นล้านั้นล้วนแต่
แตกแขนงมาจากวัฒนธรรมของเรา ฉะนั้น
การใช้วัฒนธรรมเป็นตัวตั้งในการพัฒนา
ประเทศจึงเป็นเรื่องที่น่านาไปใช้ และโมเดล
หลั่นล้า อีโคโนมี จึงเป็นโมเดลการทา
เศรษฐกิจอีกทางเลือกหนึ่งของไทย
นอกเหนือจากแนวการพัฒนาเศรษฐกิจตาม
กระแสของโลกที่มุ่งเน้นด้านอุตสาหกรรม
หรือเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพียงอย่าง
เดียว
15
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่ปรึกษา: ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: คุณยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: นางสาวปลายฟ้า บุนนาค
นายปาณัท ทองพ่วง
นายอุสมาน วาจิ
ภาพปก: http://www.mckinsey.com/global-themes/china/chinas-one-belt-one-road-will-it-
reshape-global-trade
เผยแพร่: เมษายน 2560
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนน
ลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Mais conteúdo relacionado

Mais de Klangpanya

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชKlangpanya
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีKlangpanya
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลKlangpanya
 

Mais de Klangpanya (20)

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
 

World Think Tank Monitor ฉบับที่ 21 ประจำเดือนเมษายน 2560

  • 1. ฤาโลกเสรี จะถึงกาลล่มสลาย ฤาโลก ตะวันตก ทอดทิ้งซีเรีย One Belt One Road ในสายตา ยูเรเซีย ปี ที่ 3 ฉบับที่ 3 World Think Tank Monitor
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ World Think Tank Monitor ฉบับนี้ประกอบไปด้วย 1) เรื่อง One Belt One Road ในสายตา ของภูมิภาคยูเรเซีย จากเวทีเสวนาของ World Economic Forum 2016 2) บทวิเคราะห์ถึงการ ถดถอยของระเบียบโลกแบบเสรีนิยม จากสถาบัน Brookings ของสหรัฐอเมริกา และ 3) การวิจารณ์ บทบาทของตะวันตกในสงครามซีเรีย จากสถาบันการระหว่างประเทศแห่งนอร์เวย์ นอกจากนี้ จากที่ในช่วงที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาฯ ได้จัดเวทียุทธศาสตร์ อันเป็นเวทีระดม สมองของผู้ทรงคุณวุฒิและบุคคลสาคัญในภาครัฐ ธุรกิจ วิชาการ กองทัพ ในประเด็นต่างๆ ที่มี ความสาคัญต่อเส้นทางการพัฒนาประเทศของไทย และความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับโลก มาอย่าง ต่อเนื่อง ใน World Think Tank Monitor ฉบับนี้ จึงได้นาเสนอเนื้อหาบางส่วน จากเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 5 เรื่อง โอกาสของไทยกับยุทธศาสตร์ Belt and Road ของจีน และเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 6 เรื่อง หลั่นล้า อีโคโนมี กับการสร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งยั่งยืน ที่จัดขึ้นในเดือนมีนาคมและ เมษายน มาไว้ ณ ที่นี้ด้วย เชิญติดตามได้เลยค่ะ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ WORLD ECONOMIC FORUM 2016 One Belt One Road ในสายตายูเรเซีย 1 BROOKINGS INSTITUTION ฤาโลกเสรีจะถึงกาลล่มสลาย 5 NORWEGIAN INSTITUTE OF INTERNATIONAL AFFAIRS ฤาโลกตะวันตกได้ทอดทิ้งซีเรีย 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 5 เรื่อง โอกาสของไทยกับยุทธศาสตร์ Belt and Road ของจีน 11 เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 6 เรื่อง หลั่นล้า อีโคโนมี กับการสร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งยั่งยืน 13
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต World Economic Forum 2016 One Belt One Road Belt & Road หรือ New Silk Road เป็น “ความริเริ่ม” ของจีนที่จะ กระตุ้นการค้าระหว่างทวีปเอเชีย ยุโรป และ แอฟริกา เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจจีนและโลก ด้วย การสร้าง ฟื้ น และพัฒนา “เส้นทางสายไหม” ทางบกและทางทะเล ด้วยการพัฒนาเส้นทาง คมนาคมขนส่งเชื่อมร้อยดินแดนเหล่านี้ขึ้นมา ใหม่ ประกาศแผนอย่างเป็ นทางการโดย ประธานาธิบดีสีจิ้นผิง ตั้งแต่ปี 2013 เป็นต้นมา OBOR ถือได้ว่าเป็นมหายุทธศาสตร์ของ จีนที่จะมีผลต่อโลกและไทยอย่างแน่นอน เพราะ กินพื้นที่กว่าร้อยละ 55 ของ GDP โลกและ ครอบคลุมร้อยละ 75 ของแหล่งพลังงานสารอง ที่รู้จักกันในโลก ในประเทศไทยเองมีการพูดถึง เรื่อง OBOR กันอยู่บ้างในหมู่ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และวงวิชาการถึงโอกาสผลกระทบและท่าทีของ ไทยต่อมหาโครงการนี้ แม้ว่าไทยจะไม่ได้อยู่ใน เส้นทาง OBOR โดยตรง อย่างไรก็ดี ภูมิภาคหนึ่งที่ OBOR ผ่าน โดยตรงมากที่สุดก็คือเอเชียกลาง หรือกว้างขึ้น อีกหน่อยคือ “ยูเรเซีย” ดินแดนที่อยู่ระหว่าง ยุโรปกับเอเชีย ซึ่งได้แก่ กลุ่มประเทศสถานแห่ง เอเชียกลางและคอเคซัส World Think Tank Monitor ฉบับนี้จะพาไปฟังความเห็นของคน “ยูเรเซีย” หรือผู้ที่ทากิจการเกี่ยวข้องอยู่ในยูเร เซีย ต่อ OBOR ซึ่งสรุปจากเวทีเรื่อง Eurasia One Belt One Road ในสายตายูเรเซีย
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต and the Modern Silk Road ที่จัดขึ้นเป็นส่วน หนึ่งของ World Economic Forum 2016 ที่ เมือง Davos ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ วงเสวนานี้ มี Kishore Mahbubani อธิการ Lee Kuan Yew school of public policy เป็นผู้ดาเนินรายการ มีผู้ร่วมเสวนาดังนี้ Giorgi Kvirikashvili นายกรัฐมนตรีจอร์เจีย (ประเทศใน คอเคซัส) Alexander Machkevitch ประธาน กรรมการบริหารของ Eurasian Resource Group จากลักเซมเบิร์กซึ่งทาธุรกิจอยู่ในเอเชียกลาง (กลุ่มบริษัทระดับโลกที่ดาเนินกิจการด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน และเหมืองแร่ ซึ่ง รัฐบาลคาซัคสถานมีหุ้นส่วน 40 เปอร์เซ็นต์ และ เครือข่ายธุรกิจของกลุ่มนี้สร้างรายได้ร้อยละ 4 ของ GDP แก่คาซัคสถาน) Andrey Kostin ประธานธนาคาร VTB กลุ่มธนาคารและธุรกิจ การเงินชั้นนาของรัสเซีย และ Sultan Ahmed bin Sulayem ประธาน DP world กลุ่มบริษัทดาเนิน กิจการท่าเรือและโลจิสติกส์ระดับโลก ซึ่งมี ศูนย์กลางอยู่ที่ดูไบ ผู้ร่วมการเสวนาต่างมอง OBOR ในเชิง บวกว่าเป็นโอกาสอันยิ่งใหญ่ทางเศรษฐกิจของ ประเทศต่างๆ ที่อยู่บนเส้นทาง Andrey Kostin ประธานธนาคาร VTB จากรัสเซียมองว่า ทิศ ทางการพัฒนาโลกในยุคนี้ที่ประสบความสาเร็จ คือการพัฒนาภายในภูมิภาค (Regional devel- opment approach to the world) มากกว่าการ พัฒนาระดับโลก (Global) ข้อตกลงพหุภาคี ระดับโลกต่างๆ เช่น WTO แม้ดูเผินๆ จะมี ประเทศใหม่เข้าเป็นสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ การเจรจาพหุภาคีภายในนั้นก็มีแต่ล้มเหลว ติดขัด ยากจะประสบความสาเร็จ มีทั้งการคว่า บาตรสมาชิก ในขณะที่การเจรจาภายในภูมิภาค และองค์กรระดับภูมิภาคกลับเติบโตและประสบ ความสาเร็จกว่า เช่น AIIB Silk Road fund สาหรับ OBOR เองก็น่าจะประสบความสาเร็จ ในส่วนของรัสเซีย รัสเซียเองก็ตระหนักว่าการ เติบโตของตนต้องผูกตัวเองเข้ากับเอเชียให้แน่น แฟ้ นขึ้น ซึ่งรัสเซียก็กาลังดาเนินการอยู่ผ่าน วิธีการต่างๆ เช่น การสร้ างกรอบ EEU (Eurasian Economic Union) ก า ร เ ข้ า ร่ ว ม OBOR ก็เป็นหนึ่งในวิธีเหล่านั้น ขณ ะ ที่ Sultan Ahmed bin Sulayem ประธาน DP World ให้เหตุผลที่เขามอง OBOR เป็นโอกาสว่า การขนส่งโดยรถไฟจากจีนสู่ยุโรป ใช้เวลา 12 วัน ขณะที่ทางเรือใช้เวลา 42 วัน และค่ารถไฟก็ถูกลงเรื่อยๆ เพราะมี overcapac- ity (oversupply) ในธุรกิจขนส่งทางรถไฟ มีการ แข่งขันมาก ราคาจึงต่าลงมาก ฉะนั้น OBOR ซึ่ง มากับการขนส่งทางบกข้ามทวีปจึงเป็นโอกาส อย่างยิ่ง โดยเฉพาะการที่โครงการนี้มากับ แนวคิดการเชื่อมต่อการค้าทั้งทางเรือ ราง ถนน และอากาศ มองจากสายตาของผู้ประกอบการ ด้านลอจิสติกส์ยักษ์ใหญ่ของโลกแล้วจึงเป็น โอกาสอย่างยิ่ง ต่อคาถามว่าชาวยูเรเซียมองความท้าทาย ของโครงการ OBOR ว่าคืออะไร นายกรัฐมนตรี จอร์เจียเห็นว่าคือความตกต่าของราคาน้ามันใน ตลาดโลกในช่วงหลายปีมานี้ เพราะพลังงานเป็น สินค้าส่งออกหลักและเป็นเสาหลักของเศรษฐกิจ
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ยูเรเซีย โดยเฉพาะเมื่อจะมีโครงการ OBOR เข้า มา แต่ในจังหวะนี้ราคาพลังงานกลับมาตกต่า ยูเร เซียอาจไม่ได้ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจเท่าที่ควร ส่วนประธานกรรมการบริหารของ Eurasian Re- source Group เห็นว่าความท้าทายคือการที่ ประเทศต่างๆ ในยูเรเซีย ซึ่งล้วนมีระบอบ การเมืองแบบเผด็จการมาตั้งแต่ได้รับเอกราชหลัง โซเวียตล่มสลายทั้งสิ้น ทาให้ในประเทศเหล่านี้ รัฐ เป็นใหญ่แทบจะครอบคลุมทุกสิ่งในรัฐ ในยามที่มี OBOR เขาเห็นว่าประเทศเหล่านี้ต้องลดอานาจรัฐ เพิ่มอานาจตลาดให้เข้ามานาเศรษฐกิจแทนรัฐมาก ขึ้น ด้วยการ privatize รัฐวิสาหกิจ ส่วน ประธาน DP World กล่าวว่า ความ ท้าทายของ OBOR ในมุมมองของเขาคือการทา ให้ระยะเวลาขนส่งน้อยที่สุด เพราะข้อได้เปรียบ ของ OBOR ต่อการขนส่งทางเรือคือเวลาที่สั้น กว่า เพราะฉะนั้น เวลาจึงสาคัญ ทุกวันนี้สินค้า ต่างๆ ต้องการเร็ว ดังนั้น จึงต้องประสานระเบียบ ทางศุลกากรและชายแดนให้เป็นหนึ่งเดียวกันใน ภูมิภาค เพื่อร่นระยะเวลาที่ติดอยู่ตรงชายแดนแต่ ละประเทศลงให้ขนของผ่านได้โดยเร็วที่สุด ข้อแนะนาในอุดมคติ คือควรมีใบอนุญาตเดียวที่ เป็นที่เข้าใจและผ่านได้ทุกด่าน (ซึ่งมีแล้วในกลุ่ม ประเทศอ่าวเปอร์เซีย) และควรทา pre-clearing จัดการเรื่องเอกสารและขั้นตอนด้านระเบียบ ต่างๆ ให้เรียบร้อยล่วงหน้าก่อนตู้สินค้าจะมาถึง รวมทั้งให้เปลี่ยนจากการกระดาษมาเป็ น อิเล็กทรอนิกส์ในเรื่องที่เกี่ยวของกับเอกสารลอจิ สติกส์ทั้งหมด เพราะในท้ายที่สุด เมื่อพูดถึงทาง สายไหม เมื่อพูดถึงลอจิสติกส์ ทุกอย่างอยู่ที่ ประสิทธิภาพและความรวดเร็ว คาโฆษณาของ เส้นทางสายนี้คือการลดต้นทุนการขนส่ง (แข่งกับ การขนส่งทางทะเลที่เป็นอยู่) ทุกครั้งที่ขบวน สินค้าต้องหยุด ต้องล่าช้าไป นั่นหมายถึงต้นทุน การขนส่งที่เพิ่มขึ้นทั้งสิ้น ต่อประเด็นที่ว่า OBOR จะนามาซึ่งการ แข่งขันจนถึงขั้นก่อความตึงเครียดในภูมิภาค หรือไม่เพราะใน OBOR ก็มีหลายเส้นทาง และ ในยูเรเซียเองก็มีหลายโครงการการรวมกลุ่มใน ภูมิภาค เช่น EEU ที่นาโดยรัสเซีย ผู้ร่วมเสวนา ทั้งหมดเห็นตรงกันว่าจะทาให้เกิดการแข่งขัน ประเทศต่างๆ อาจจะแข่งขันกันเอง และเส้นทาง สายต่างๆ ของ OBOR อาจจะแข่งขันกัน ว่าใคร จะเป็นเส้นหลักและใครจะเป็นเส้นรองที่เป็น ทางผ่านของการคมนาคมขนส่งระหว่างยุโรปกับ เอเชีย แต่คงไม่ถึงกับกลายเป็นความขัดแย้งใน ภูมิภาค ส่วนใหญ่เห็นว่าการแข่งขันจะเป็นโอกาส ในการพัฒนาของยูเรเซียมากกว่า ทาให้แต่ละ ประเทศต้องพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจของตนให้ มีประสิทธิภาพขึ้น เครือข่ายหลายเส้นทางที่เกิด จาก OBOR จะเป็นโอกาสให้ภูมิภาคและดินแดน ต่างๆ เชื่อมโยงกันมากขึ้ น ประเทศที่ไม่มี ทางออกทางทะเล เช่นประเทศในเอเชียกลางก็จะ อาศัยทางรถไฟมาออกทะเลที่อิหร่านได้ และการ เชื่อมโยงจาก OBOR จะทาให้ประเทศในภูมิภาค นี้มีผลประโยชน์ร่วมกันมากขึ้น อย่างน้อยในด้าน การช่วยกันรักษาเส้นทางการขนส่งให้สะดวก ให้ ปลอดภัย จากภัยต่างๆ เช่น การก่อการร้าย เป็น ต้น ความเห็นของยูเรเซียที่สะท้อนจากเวที เสวนาที่ดาวอสนี้ เมื่อชั่งน้าหนักแล้ว ทุกคนต่าง
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เห็นว่า OBOR เป็นโอกาสมากกว่าความท้าทาย ของภูมิภาค ผู้นาแห่งยูเรเซียต่างมอง OBOR ด้วยความหวังและมองว่าเป็นอนาคต ต่อคาถาม ว่าจีนมีวาระในการทา OBOR หรือการเข้าไปใน เอเชียกลางมากกว่าเรื่องเศรษฐกิจหรือไม่ Kishore Mahbubani กล่าวว่าแน่นอนว่ามีทั้งเรื่อง เศรษฐกิจและภูมิรัฐศาสตร์ อย่างไรก็ตาม ส่วนตัวคิดว่าสิ่งที่น่าสนใจคือจีนมีความอดทนสูง จีนรอได้เสมอ อะไรที่เป็นข้อจากัด เป็นอุปสรรค ต่อจีน หรืออะไรที่จีนยังไม่ได้เป็น ยังไม่มีในวันนี้ 1 0 -2 0 ปี จี น ร อ ไ ด้ เ พ ร า ะ ถึ ง วั น นั้ น สภาพแวดล้อมต่างๆ ในโลกหรือในภูมิภาคก็ เปลี่ยนไปแล้ว การมองจีนจึงต้องมองในระยะยาว เอกสารอ้างอิง Davos 2016 - Eurasia and the Modern Silk Road. World Economic Forum 2016. ออนไลน์ https://www.youtube.com/watch? v=E8Nqs_8JLis&t=188s
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต BROOKINGS INSTITUTION สถาบัน Brookings ได้เผยแพร่รายงาน เรื่อง The twilight of the liberal world order โดย Robert Kagan รายงานดังกล่าวได้พูดถึง ระเบียบโลก (World Order) แบบเสรีนิยม ที่ สหรัฐเป็นผู้สร้างขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง แต่ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ ระเบียบโลกแบบ เสรีนิยมกาลังถูกท้าทายจากทั้งภายในและ ภายนอก ภายนอกนั้ น เกิดจากความ ทะเยอทะยานของประเทศมหาอานาจอื่นและ มหาอานาจขนาดกลางที่รู้สึกไม่พอใจในสถานะ ของตน เช่น จีน รัสเซีย อิหร่าน เกาหลีเหนือ หรือแม้กระทั่งขบวนการรัฐอิสลาม (ISIS) ที่ อยากจะก้าวขึ้นมาเป็นมหาอานาจปกครอง ภูมิภาคของตน และอาจถึงขั้นที่อยากจะล้ม ระเบียบโลกเดิม ส่วนความท้าทายจากภายใน คือความสั่นคลอนระหว่างสหรัฐและพันธมิตร ปัจจุบันพันธมิตรของสหรัฐเริ่มเกิดความสงสัยใน ท่าทีของสหรัฐ พยายามมองหาความมั่นใจจาก สหรัฐ และต้องการให้สหรัฐมี commitment ที่จะ ยังเล่นบทบาทในฐานะผู้ค้าประกันหลักของ ระเบียบโลกเสรีนิยมไว้ เพื่อรักษาผลประโยชน์ ของกลุ่มตน จีนและรัสเซียเป็นประเทศมหาอานาจที่ เป็นความท้าทายสาคัญที่สุดสาหรับสหรัฐ จีน เติบโตขึ้นเรื่อยๆ ขยายอานาจทั้งทางการเมือง ฤาโลกเสรีจะถึงกาลล่มสลาย
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เศรษฐกิจ และการทหาร แต่หากจะเผชิญหน้ากับ สหรัฐโดยตรงก็อาจต้องคิดหน้าคิดหลังให้ดี เพราะ สหรัฐยังเข้มแข็งอยู่มาก และจีนเองก็ยังมีความท้า ทายจาก 3 กลุ่มอานาจใหญ่ คือ ประเทศมหาอานาจ ระดับโลก มหาอานาจในภูมิภาค เช่น เกาหลีใต้ อินเดีย ญี่ปุ่ น และกลุ่มประเทศเล็กแต่มีศักยภาพ เช่น เวียดนามและออสเตรเลีย อย่างไรก็ตาม ช่วงไม่กี่ปี มานี้ ระเบียบโลก แบบเสรีนิยมเริ่มอ่อนแอและแตกหักที่แกนกลาง เป็นผลอันเนื่องมาจากหลายปัจจัย เช่น ภาวะ เศรษฐกิจตกต่า ลัทธิชาตินิยมและชนเผ่านิยม (tribalism) กลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง พรรค การเมืองที่ไม่ตอบสนองความต้องการของประชาชน ประชาชนสูญเสียความเชื่อมั่นในรัฐบาล ในระบบ ทุนนิยม และในระบอบประชาธิปไตย หนึ่งในวิกฤตที่สหรัฐกาลังเผชิญ คือชาว อเมริกันเกิดความสงสัยว่าทาไมพวกเขาต้องแบกรับ ความผิดชอบที่ต้องรักษาระเบียบโลกเอาไว้เช่นนี้ ใน เมื่อผลประโยชน์ที่ชาวอเมริกันได้รับไม่ได้เห็น ชัดเจน และสหรัฐต้องเป็นผู้ที่เสียสละตัวเองใน ขณะที่ประเทศอื่นๆ ได้รับผลประโยชน์ไป หลังการเลือกตั้งอเมริกาครั้งล่าสุด ดอนัลด์ ทรัมป์ เป็นฝ่ายชนะการเลือกตั้ง และที่เขาชนะการ เลือกตั้ง ส่วนหนึ่งอาจมีสาเหตุมาจากนโยบาย “America First” ที่ชูการคิดถึงผลประโยชน์ของ อเมริกาเป็นหลัก ลดภาระและบทบาทของสหรัฐใน โลก เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าสหรัฐไม่ได้สนับสนุน โครงสร้างพันธมิตรระหว่างประเทศอีกต่อไป ไม่ได้ ปฏิเสธอิทธิพลของมหาอานาจอื่นและมหาอานาจ ระดับภูมิภาค รวมถึงไม่ได้พยายามที่จะรักษา ระเบียบโลกแบบเสรีนิยมอีกต่อไป ซึ่งผู้เขียนมอง ว่า การลดบทบาทในโลกของสหรัฐ มีแนวโน้มที่จะ ทาให้โลกหวนคืนสู่ความไม่มีเสถียรภาพ กระตุ้น ให้มหาอานาจอื่นที่ต้องการท้าทายระเบียบโลก เช่น จีน รัสเซีย หรืออิหร่าน มีแนวโน้มก้าวร้าวมากขึ้น พันธมิตรของสหรัฐอาจรู้สึกหมดหนทางช่วยเหลือ และสูญเสียความเชื่อมั่นในโลกเสรี ซึ่งสถานการณ์ นี้เป็นโอกาสให้มหาอานาจอื่นๆ ก้าวขึ้นมาสร้าง ระเบียบโลกใหม่ให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของ ตนเอง ผู้เขียนเตือนทรัมป์ ว่า ประวัติศาสตร์บอกเรา ว่าประเทศมหาอานาจอื่นในโลกที่ต้องการจะท้า ทายระเบียบโลกเดิม ไม่เคยพอใจในสถานะของตน และเรียกร้องสิ่งที่ตนต้องการตลอดเวลา และความ คับข้องใจเหล่านี้ไม่ค่อยได้รับการแก้ไข เช่น เยอรมนีรู้สึกไม่พอใจในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ และ รัสเซียไม่ได้ต้องการที่จะขยายอิทธิพลแค่ยูเครน แต่ต้องการขยายไปถึงกลุ่มประเทศริมทะเลบอล ติก และคาบสมุทรบอลข่านด้วย และการที่จะให้ ความต้องการเหล่านี้สิ้นสุดลงมีเพียงทางเดียว คือ ประเทศเหล่านั้นต้องรู้สึกว่าตนเองได้เพียงพอแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกาที่รู้สึกว่าตนเองเพียงพอแล้ว ผู้เขียนได้วิเคราะห์มุมมองทางการเมือง ระหว่างประเทศของทรัมป์ ไว้ว่า ทรัมป์ มองกลุ่ม มุสลิมที่มีแนวคิดสุดโต่งว่าเป็นภัยอย่างยิ่งต่อ ประเทศของตน และไม่ได้มองว่าภัยคุกคามหลัก ของประเทศมาจากการแข่งขันกันของประเทศ มหาอานาจ แต่ในมุมมองของผู้เขียน ความท้าทาย ทั้งสองแบบเป็นสิ่งที่ทรัมป์ ต้องเผชิญไปพร้อมกัน ซึ่งภัยคุกคามจากการก่อการร้ายเป็นสิ่งที่จัดการได้ ง่ายกว่า หากเทียบกับการจัดการกับการเผชิญหน้า และแข่งขันกันของประเทศมหาอานาจต่างๆ
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต พิจารณาจากประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา การที่จะ ทาให้ประเทศมหาอานาจทุกฝ่ ายพอใจเป็นสิ่งที่ จัดการได้ยากมาก และหากจัดการไม่ดีจะก่อให้เกิด ความเสียหายได้สูงมาก เช่น สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 ผู้เขียนเสนอว่าทางที่ดีที่สุดที่จะหลีกเลี่ยงการ ปะทะกันระหว่างมหาอานาจ คือการทาให้สถานะ ของสหรัฐชัดเจน และสหรัฐต้องยินดีที่จะแข่งขันกับ ประเทศมหาอานาจอื่นในบางด้าน เช่น เศรษฐกิจ แนวคิด และการเมือง หรือแม้แต่ทางการทหาร ระเบียบโลกแบบเสรีนิยมเอื้อต่อการแข่งขันดังกล่าว แม้จีนและรัสเซียจะไม่ได้เป็นเสรีนิยมก็ยังสามารถ แข่งขันได้ดี เช่น ในด้านเศรษฐกิจ จีนสามารถแข่ง กับสหรัฐได้อย่างสูสี ผู้เขียนสรุปว่า ตอนนี้ถึงแม้ว่าจะมีการ วิจารณ์ถึงความถดถอยของสหรัฐ และการสั่นคลอน ของระเบียบโลกแบบเสรีนิยมอย่างเป็นวงกว้าง แต่ อานาจทางการทหารของสหรัฐ (ผู้เขียนมองว่าเป็น อานาจสาคัญในการรักษาความสมดุลของระเบียบ โลก) ก็ยังมีมากที่สุด ยากที่ประเทศอื่นๆ จะต่อกร ได้ และหากโลกปราศจากอานาจทางการทหารของ สหรัฐ ที่เป็นกาลังหลักในการรักษาสมดุลอานาจใจ ภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก อาจทาให้เกิดการแข่งขัน อานาจทางการทหารอย่างเสรีของมหาอานาจระดับ ภูมิภาค และอาจจะส่งผลให้ระบบระเบียบโลกชะงัก ลงได้ นอกจากนี้ เขายังชี้ว่า 4 ปีหลังจากนี้จะเป็นจุด เปลี่ยนที่สาคัญ หากรัฐบาลสหรัฐชุดต่อจากทรัมป์ ยังดาเนินนโยบายแบบเดียวกับทรัมป์ ปกป้ อง เฉพาะผลประโยชน์ของสหรัฐ เน้นการจัดการกับ ปัญหาการก่อการร้าย และไม่ให้ความสาคัญกับ พันธมิตรของตน การล่มสลายของระเบียบโลกเสรี นิยมที่ทุกคนพูดถึงก็คงอยู่ไม่ไกล เอกสารอ้างอิง Robert Kagan. The twilight of the liberal world order. Brookings. ออนไลน์ https:// www.brookings.edu/research/the-twilight-of- the-liberal-world-order/
  • 11. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ภาพลักษณ์หนึ่งที่โลกตะวันตกได้แสดงให้ เห็นมาตลอดคือการเข้าไปแทรกแซงกิจการภายใน ของประเทศอื่นโดยอ้างถึงความจาเป็ นด้าน มนุษยธรรม ซึ่งหลายครั้งนามาสู่ข้อถกเถียงว่าการ แทรกแซงเหล่านั้นเป็นไปเพื่อมนุษยธรรมจริง หรือไม่ หรือแม้ว่าจะมีเป้ าหมายเพื่อมนุษยธรรม จริงก็ตามที การแทรกแซงนั้นจะช่วยแก้ปัญหาได้ จริงหรือ แม้จะมีอยู่หลายกรณีด้วยกันที่เป็นที่กังขา ถึงความเหมาะสมที่ชาติตะวันตกโดยเฉพาะสหรัฐ จะเข้าแทรกแซงประเทศอื่นๆ แต่เมื่อใดที่เกิด วิกฤติการณ์ร้ายแรงขึ้นโลกก็มักถามหาบทบาทของ ชาติตะวันตกเสมอ สาหรับกรณีสงครามกลางเมืองในซีเรียก็ เช่นเดียวกัน มีความรู้สึกที่เกิดขึ้นมากมายว่าโลก (ตะวันตก) ได้ทอดทิ้งให้ชาวซีเรียต้องเผชิญกับ ชะตากรรมเพียงลาพัง แม้จะมีความพยายามจาก โลกตะวันตกที่อ้างว่าเป็นไปเพื่อยุติความรุนแรงที่ เกิดขึ้นแต่ก็ไม่เป็นผลมากนัก ซึ่งความล้มเหลวตรง นี้เมื่อพูดอย่างเป็นธรรมแล้วต้องแบ่งออกเป็นสอง กรณีด้วยกัน คือช่วงก่อนที่รัสเซียจะส่งทหารเข้ามา ฤาโลกตะวันตกได้ทอดทิ้งซีเรีย Norwegian Institute of International Affairs ซากปรักหักพังของโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเมือง Idlib ซึ่งอยู่ภายใต้การสนับสนุนขององค์การแพทย์ไร้พรมแดน (MSF) ซึ่งองค์การแพทย์ไร้พรมแดนได้ยืนยันผลการสอบสวนที่ชี้ว่ากองทัพอากาศรัสเซียและซีเรียอยู่เบื้องหลัง การถล่มโรงพยาบาลดังกล่าว
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ช่วยเหลือรัฐบาลซีเรียและภายหลังจากที่รัสเซียได้ ส่งทหารเข้ามาแล้ว ซึ่งสถานการณ์ของสงครามช่วง ก่อนและหลังการเข้าแทรกแซงของรัสเซียนั้นเรียก ได้ว่ามีความต่างอย่างมากและส่งผลต่อท่าทีที่ควร มีต่อสงครามอีกด้วย ก่อนที่รัสเซียจะเข้าร่วมสงครามอย่างเต็มตัว นั้น อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นความผิดพลาดที่สมควร ถูกประณามของโลกตะวันตกที่ไม่สามารถเลือก หนทางที่ถูกต้องเพื่อยุติสงครามโดยเร็ว ความ เชื่อมั่นในวิถีทางทางการทูตมากเกินไปทาให้พวก เขาเชื่อว่าจะสามารถยุติปัญหาได้บนโต๊ะเจรจา ซึ่ง ไม่สอดคล้องบริบทของเหตุการณ์ในพื้นที่ซึ่งตึง เครียดเกินกว่าวิถีทางการทูตหรือการเมืองจะมี พลังพอที่จะยุติปัญหาได้ และโลกตะวันตกก็ยังไม่ มีความเด็ดขาดที่จะสนับสนุนฝ่ายต่อต้านรัฐบาล อย่างเต็มที่ หรือไม่ก็เลี่ยงการเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับ สงครามเสียตั้งแต่แรก เนื่องจากยังคาดคะเน เหตุการณ์ดีเกินไปว่าจะมีทางออกที่ทุกฝ่ าย สามารถตกลงร่วมกันได้ โดยพวกเขาคาดว่า ท้ายที่สุดฝ่ายต่อต้านรัฐบาลจะเป็นผู้ชนะ และ บัช ชาร อัล-อัซซาด ประธานาธิบดีคนปัจจุบันจะก้าว ลงจากตาแหน่งหรือไม่ก็ลี้ภัยทางการเมืองไปยัง ต่างประเทศ ซึ่งนี่เป็นการคาดคะเนที่ผิดจาก ข้อเท็จจริงของสงครามครั้งนี้ซึ่งเป็นสงครามที่ ขัดแย้งกันอย่างรุนแรงและแตกหักอย่างสุดขั้ว นั่น ย่อมไม่ใช่เรื่องแปลกที่ บัชชาร เองจะเกรงว่าหาก ตนสิ้นอานาจลงแล้วย่อมเสี่ยงที่จะถูกเอาชีวิต เช่นเดียวกับ กัดดาฟี ย์ แห่งลิเบียซึ่งท้ายที่สุดแล้ว ต้องจบชีวิตลงอย่างน่าอดสู นี่จึงไม่ใช่เพียงการสู้ เพื่อรักษาตาแหน่งทางเมือง หากแต่เป็นการสู้เพื่อ รักษาชีวิตของเขาเองและตลอดจนคนที่อยู่รอบ ข้าง ฉะนั้นไม่มีทางที่บัชชารจะยอมถอยได้โดยง่าย ด้วยเหตุนี้สงครามจึงยืดเยื้อ ไม่มีฝ่ายใดยอมแพ้ และยังคงมีประชาชนถูกลูกหลงจากสงครามเป็น จานวนมาก หากโลกตะวันตกเลือกที่จะเข้ามา แทรกแซงด้วยการกาหนดให้ซีเรียเป็นเขตห้ามบิน แล้วย่อมสามารถปกป้องชีวิตของประชาชนผู้มิใช่คู่ สงครามได้จานวนมาก เพราะการทิ้งระเบิดทาง อากาศจากกองทัพซีเรียคือสาเหตุร้ายแรงที่สุดที่ ทาให้ประชาชนต้องเสียชีวิต แต่เมื่อรัสเซียเข้ามาเป็นผู้เล่นสาคัญของ สงครามแล้วการประกาศเขตห้ามบินย่อมหมายถึง การประกาศตัวเป็นศัตรูกับรัสเซียโดยอ้อม และ อาจพัฒนาเป็นความขัดแย้งโดยตรงที่ส่งผลร้าย และแผ่ขยายกว้างออกไปนอกซีเรียได้อีกด้วย ฉะนั้นการเลี่ยงปะทะกับรัสเซียจึงเป็นเรื่องที่เข้าใจ ได้ว่าทาไมโลกตะวันตกจะเลือกเดินเช่นนี้ กล่าวโดยสรุปแล้ว การที่โลกตะวันตกเลือก ไม่สนับสนุนฝ่ายต่อต้านรัฐบาลซีเรียอย่างเต็มที่ เสียแต่แรกและขณะเดียวกันก็ไม่ถอนตัวจากความ ขัดแย้งนี้ทีเดียว ทาให้สงครามกลางเมืองครั้งนี้ ยืดเยื้อและมีผู้บริสุทธิ์เสียชีวิตเป็นจานวนมาก เนื่องจากทั้งสองฝ่ายมีสรรพกาลังไม่ต่างกันนัก ทา ให้ไม่มีใครเอาชนะใครได้อย่างเบ็ดเสร็จ การ ตัดสินใจที่ไม่เด็ดขาดนี้สมควรที่จะถูกกล่าว ประณาม แต่ภายหลังจากรัสเซียเข้ามาแทรกแซง แล้วก็เป็นเรื่องที่เลี่ยงไม่ได้ที่ประเทศโลกตะวันตก ต้องจากัดบทบาทของตัวเองลงเพื่อเลี่ยงการปะทะ กับรัสเซียซึ่งอาจก่อให้เกิดสงครามครั้งใหม่ที่ รุนแรงกว่าสงครามกลางเมืองซีเรียด้วยซ้าไป
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต อ้างอิง Lars Christie, Has the West betrayed Syria? Assessing the trade-off between geo- politics and morality. the Norwegian Institute of International Affairs. ออนไลน์ http:// www.nupi.no/en/Events/2017/The-conflict- in-Syria-Great-Power-Politics-and- Humanitarian-Consequences.
  • 14. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 5 “โอกาสของไทยกับยุทธศาสตร์ Belt and Road ของจีน” เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2560 สถาบัน คลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐ กิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้จัดเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “โอกาสของประเทศไทย ในการพัฒนาและเติบโตไปกับยุทธศาสตร์ Belt and Road ของจีน” มีคุณวิบูลย์ คูสกุล อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจาประเทศจีน คุณโจ ฮอร์น พัธโนทัย CEO บริษัท Strategy613 บริษัทที่ปรึกษาด้ านธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องจีน และ ผศ.วรศักดิ์ มหัทธ โนบล ผู้อานวยการศูนย์จีนศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากรบรรยายนาการ เสวนา โดยได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิ หลากหลายวงการเข้าร่วม เวทียุทธศาสตร์ เป็นเวทีหนึ่งที่สถาบัน คลังปัญญาฯ จัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในฐานะ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยากรทั้ง 3 อดีตเอกอัครราชทูตวิบูลย์ คูสกุล คุณโจฮอร์น พัธโนทัย และผศ.วรศักดิ์ มหัทธโนบล (จากซ้าย)
  • 15. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต การขับเคลื่อนทางสังคมรูปแบบหนึ่ง โดย การเปิ ดเวทีให้ ผู้ ทรงคุณวุฒิผู้ มาก ประสบการณ์ในวงการต่างๆ มาร่วมกัน วิเคราะห์สถานการณ์โลก ภูมิภาค และ สังคมไทย และนาเสนอความคิดเรื่องทิศ ทางการพัฒนาของไทยให้สอดคล้องกับ ความเปลี่ยนแปลง และขับเคลื่อนความรู้ที่ ได้สู่ภาคประชาสังคม/ภาคสาธารณะ และ ส่วนหนึ่งก็สื่อไปยังฝ่ายกาหนดนโยบาย-ผู้ ตัดสินใจ ที่ผ่านมาเวทีนี้ได้รับเกียรติจาก ศ.นพ. ประเวศ วะสี เป็นประธานการประชุม และมี บุคคลที่มีบทบาทในทางปฏิบัติหรือมี บทบาทนาทางความคิดเข้าร่วม เช่น อดีตผู้ บัญชาการทหารสูงสุด อดีตสมาชิกสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ สมาชิกคณะกรรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติของรัฐบาล บุคคลสาคัญจาก ภาคธุรกิจ และวงวิชาการ ในเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 5 เรื่อง โอกาสของไทยกับยุทธศาสตร์ Belt and Road ของจีน ได้มีการพูดถึงเบื้องหลัง วัตถุประสงค์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และ ความมั่นคงของจีนในการทายุทธศาสตร์ Belt and Road /One Belt One Road (OBOR) หรือที่เรียกว่า ยุทธศาสตร์เส้นทาง สายไหมใหม่ ซึ่งเป็นนโยบายที่จะเชื่อมจีน เข้ากับเอเชีย ยุโรป และแอฟริกา ผ่านการ พัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งให้เชื่อมโยง กัน เพื่อกระตุ้นการค้าในภูมิภาคนี้ของโลก นอกจากนี้ ที่ประชุมยังได้ร่วมกันระดม สมอง ด้วยมุมมองที่หลากหลาย และเสนอ ท่าทีของไทยต่อมหายุทธศาสตร์ของจีน ดังนี้ 1) ให้ไทยยึดหลักทาความร่วมมือ แบบ win-win กับจีน สนองประโยชน์ทั้ง สองฝ่ ายอย่างเท่าเทียม อะไรที่ไม่ดีกับเรา ก็ไม่จาเป็ นต้องทา โครงการอย่างความ ร่วมมือรถไฟไทย-จีนเป็นตัวอย่างของ โครงการที่ไม่ประสบความสาเร็จ เพราะ สนองประโยชน์และวาระของจีนมากกว่าไทย 2) พัฒนาคนไทยและดึงดูดคนจีน เข้ามาลงทุนในไทยมากขึ้ น โดยใช้ ประโยชน์จากข้อได้เปรียบที่มีอยู่ เช่น ที่ตั้ง ของประเทศ พร้อมกับเพิ่มมาตรการดึงดูด จาพวกการอานวยความสะดวกแก่นักธุรกิจ ต่างชาติด้วยมาตรการทางกฎหมายและทาง ภาษี เพื่อดึงดูดทุนและผู้มีความสามารถจาก จีนและที่ต่างๆ มาเสริมในการพัฒนา ประเทศ 3) ดาเนินความร่วมมือกับจีนโดยยึด ประโยชน์แห่งชาติมิให้ไทยเสียเปรียบ หลายโครงการที่จีนผลักดันให้ไทยทา เช่น การขุดคอคอดกระ และการระเบิดเกาะแก่ง ในแม่น้าโขง มีประเด็นทางภูมิรัฐศาสตร์และ ความมั่นคงร่วมด้วย นอกเหนือจากเรื่อง เศรษฐกิจ ไทยจึงควรระมัดระวังในการ ดาเนินความร่วมมือกับจีนให้ไม่เสียเปรียบ เพราะผลประโยชน์หลายเรื่องไม่ตรงกัน 4) ไทยควรใช้บทบาทร่วมหลายฝ่ าย ทั้ง รัฐ มหาวิทยาลัย Think Tank ภาค ธุรกิจ กองทัพ และกระทรวงการ ต่างประเทศ ในการคิดเรื่องยุทธศาสตร์ ใหญ่ รายละเอียดของการประชุมติดตามได้ ในเว็บไซต์ Rsu-brain.com
  • 16. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 6 “หลั่นล้า อีโคโนมี กับการสร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งยั่งยืน” เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560 สถาบัน คลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐ กิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้จัดเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 6 ในหัวข้อ “หลั่นล้า อีโคโนมี กับการ สร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งยั่งยืน” มี อ.วีระศักดิ์ โควสุรัตน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นวิทยากร บรรยายเรื่อง “ปฏิรูปท่องเที่ยว: สร้างไทย ไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบหลั่นล้า อีโคโนมี ได้อย่างไร” ได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิ หลากหลายวงการเข้าร่วมรับฟังการบรรยาย และเสวนา ในการบรรยาย อ.วีระศักดิ์ ชี้ ว่า ปัจจุบันการท่องเที่ยวของไทยเป็นที่รู้จัก ระดับโลก ภาคการท่องเที่ยวเป็นเครื่องจักร ที่นารายได้สู่ประเทศเป็นลาดับ 2 รองจาก ภา คอุตสา หกร ร ม (มา กกว่ า ภา ค เกษตรกรรมที่เป็นลาดับ 3) การท่องเที่ยว ของไทยมีเสน่ห์ที่หาที่อื่นไม่ได้ ซึ่งเกิดจาก สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
  • 17. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วัฒนธรรมที่ฝังอยู่ในตัวเรา เช่น ประเทศ ไทยมีความยิ้มแย้มและยืดหยุ่น ในขณะที่ ญี่ปุ่นยิ้มแย้ม แต่ไม่ยืดหยุ่น ส่วนฝรั่งอาจยิ้ม แย้มบ้าง ยืดหยุ่นได้ แต่คิดเงิน และที่มาก ไปกว่านั้น การท่องเที่ยวมิได้มีความสาคัญ แต่ในด้านมูลค่า แต่มีความสาคัญในด้าน คุณค่ามหาศาล เพราะทาให้คนไทยเราเห็น ว่า เราเป็นอย่างที่เราเป็นอยู่นั้นดีแล้ว อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ต้องทาต่อไปใน เรื่องการท่องเที่ยวคือปรับโครงสร้างการ บริหารของภาครัฐในการดูแลจัดการให้ตาม ทันความเปลี่ยนแปลง เพราะทุกวันนี้ใช้ ระบบราชการบริหารทาให้ไม่ทันสถานการณ์ นอกจากนี้ ทิศทางในการทาเรื่อง ท่องเที่ยวคือ ต้องให้การท่องเที่ยวรับใช้ ชุมชน มิใช่ให้ชุมชนรับใช้นักท่องเที่ยว ทิศทางนี้จะทาให้การท่องเที่ยวของเรายั่งยืน และเป็นคุณกับคนไทย เช่นเดียวกับในภาพใหญ่ของโมเดล เศรษฐกิจแบบหลั่นล้า ซึ่งเป็นสิ่งที่เหมาะสม กับพื้นฐานของสังคมวัฒนธรรมของเรา และ เราทาได้อย่างถนัดเข้มแข็ง การทาเศรษฐกิจ แบบหลั่นล้าควรมีปรัชญาใหญ่ว่า เน้นให้ ชุมชนหลั่นล้า มากกว่านักท่องเที่ยวหลั่นล้า เพียงอย่างเดียว ต้องไม่ตามใจนักท่องเที่ยว จนกระทบต่อชุมชนและประเทศ นอกจากการท่องเที่ยว อ.วีระศักดิ์ ยัง ได้พูดถึงกิจกรรมอื่นในเศรษฐกิจหลั่นล้า เช่น ธุรกิจภาพยนตร์ไทย พระเครื่อง หรือ ธุรกิจการเป็นศูนย์การจัดประชุมและแสดง นิทรรศการ (MICE) ซึ่งทุกสิ่งกาลังเติบโต และเรามีจุดแข็งทาได้ดี แต่เราต้องพัฒนา ระบบบริหารจัดการให้รองรับในการพัฒนา ธุรกิจเหล่านี้ให้ต่อยอดไปได้ โดยที่ชุมชน คนไทยและประเทศไทยได้ประโยชน์ ตัวอย่างเช่น ปัจจุบัน จากการที่เรามีธุรกิจ MICE ที่รุ่งเรือง ปี ๆ หนึ่ง มีคนจาก ต่างประเทศเดินทางมาประชุมถึง 1 ล้านคน และจัดประชุมกันในประเทศถึง 25 ล้านคน จึงได้มีการกาหนดและรณรงค์ให้ใช้ กาแฟ ข้าว หรือผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น เสิร์ฟในที่ ประชุมเหล่านี้แทนการใช้ของต่างชาติ ก็จะ ทาให้มิใช่ทา MICE เพื่อ MICE เท่านั้น แต่ ช่วยภาคส่วนอื่นในสังคมได้ด้วย โดยสรุป โมเดลเศรษฐกิจแบบหลั่นล้า น่าสนใจเพราะเป็นสิ่งที่เหมาะสม เป็นความ ถนัดชานาญ ที่ฝังอยู่ในตัวคนไทยอยู่แล้ว พัฒนาต่อได้ไม่ยาก เป็นสิ่งที่เรามีพิเศษกว่า ทีอื่นใดในโลก และพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่ามี มูลค่าทางเศรษฐกิจสูงไม่แพ้ภาคส่วนอื่น ทุก แขนงของเศรษฐกิจแบบหลั่นล้านั้นล้วนแต่ แตกแขนงมาจากวัฒนธรรมของเรา ฉะนั้น การใช้วัฒนธรรมเป็นตัวตั้งในการพัฒนา ประเทศจึงเป็นเรื่องที่น่านาไปใช้ และโมเดล หลั่นล้า อีโคโนมี จึงเป็นโมเดลการทา เศรษฐกิจอีกทางเลือกหนึ่งของไทย นอกเหนือจากแนวการพัฒนาเศรษฐกิจตาม กระแสของโลกที่มุ่งเน้นด้านอุตสาหกรรม หรือเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพียงอย่าง เดียว
  • 18. 15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ปรึกษา: ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: คุณยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: นางสาวปลายฟ้า บุนนาค นายปาณัท ทองพ่วง นายอุสมาน วาจิ ภาพปก: http://www.mckinsey.com/global-themes/china/chinas-one-belt-one-road-will-it- reshape-global-trade เผยแพร่: เมษายน 2560 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนน ลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064