SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
ถอดความจากการนําเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง "เด็กไทยในวงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก: โอกาสและความสําเร็จ" จัดโดยโครงการ
คลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันอังคารที่ 14 กรกฎาคม 2558 เวลา 15.00 – 18.00 น. ณ
ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ
มูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
น.ส. อินทิรา เหลาธรรมทัศน
ผูชวยวิจัยสถาบัน DUKE MEDICAL SCHOOL
เมื่อกล่าวถึงการเรียนวิทยาศาสตร์ อาจเป็นเรื่องที่ยากสําหรับเด็กไทยหลายคน แต่ในอีก
แง่มุมหนึ่งก็มีเด็กไทยจํานวนไม่น้อยที่เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างสนุกและสร้างสรรค์จนประสบ
ความสําเร็จในการเรียนและการประกอบอาชีพได้ อินทิรา เหล่าธรรมทัศน์เป็นตัวอย่างของ
นักเรียนไทยที่ไปศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์ในต่างประเทศและมีโอกาสได้ร่วมงานกับ
นักวิทยาศาสตร์ระดับโลก ซึ่งประสบการณ์ด้านการเรียนและการทํางานของอินทิราเป็น
ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการนํามาทบทวนระบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยให้
พัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น อีกทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยของอินทิราก็ยังมีประโยชน์ต่อการ
พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์สาธารณสุขในประเทศไทยด้วยเช่นกัน
1
วิจัยทางการแพทยสมัยใหม
อินทิรา เหล่าธรรมทัศน์เป็นนักศึกษาชาวไทยที่มีโอกาสไปศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ในต่างประเทศตั้งแต่ระดับ
ปริญญาตรี ตลอดทั้งยังได้ร่วมงานกับนักวิจัยชั้นนําระดับโลกที่มหาวิทยาลัยดุ๊ก (Duke University)  
ในการทําวิจัยเรื่องธาตุเหล็กเป็นเวลา 2 ปี และปัจจุบันกําลังจะเรียนต่อในสาขาแพทย์ของมหาวิทยาลัยการแพทย์
เจฟเฟอร์สัน (Jefferson medical University)
จุดเริ่มตนการทํางานวิจัยดานการแพทยสมัยใหมที่ Duke University
ขณะเรียนในระดับปริญญาตรีคุณอินทิราได้เห็นแบบอย่างจากอาจารย์ในสาขาวิทยาศาสตร์ จึงเริ่มเกิด
ความสนใจว่าการเรียนวิทยาศาสตร์น่าจะมีช่องทางหลากหลายที่จะสามารถนําความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ
ได้ หลังจากที่จบปริญญาตรีจึงยังไม่ศึกษาต่อในทันที แต่เลือกที่จะทดสอบว่าความรู้ที่ได้จากการเรียนที่ผ่านมาจะ
สามารถนําไปใช้ในการทํางานได้มากน้อยเพียงใด คุณอินทิราจึงได้สมัครเป็นผู้ช่วยนักวิจัยของโครงการทดลอง
ด้านวิทยาศาสตร์ที่ Duke University จนกระทั่งได้รับคัดเลือกและตัดสินใจร่วมงานในที่สุด
ประสบการณการทํางานวิจัยที่ Duke University
คุณอินทิราได้ร่วมงานกับ Nancy Andrews ซึ่งเป็นหัวหน้าโครงการวิจัยที่มีชื่อเสียงด้านวิทยาศาสตร์
การแพทย์ โดยหัวข้อการวิจัยคือการศึกษาว่าธาตุเหล็กสําคัญอย่างไรต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกายและธาตุเหล็ก
สามารถนําไปใช้ในกล้ามเนื้อได้อย่างไร ซึ่งกระบวนการทดลองเริ่มด้วยการทดสอบย้ายธาตุเหล็กออกจากเซลล์
กล้ามเนื้อของหนูทดลองเพื่อหาคําตอบว่าหากร่างกายขาดธาตุเหล็กไปจะเป็นอย่างไรด้วย โดยผลการทดลอง
พบว่าหนูที่ไม่มีธาตุเหล็กในเซลล์กล้ามเนื้อจะมีขนาดตัวเล็กลงจากปกติมากเนื่องจากกล้ามเนื้อไม่สามารถผลิต
พลังงานได้อย่างเพียงพอ อีกทั้งยังมีผลกระทบต่อการทํางานของตับด้วย จนในที่สุดหนูจะตายภายใน 6-8 วัน
ผลการวิจัยครั้งนี้ทําให้ทราบว่าธาตุเหล็กถูกใช้ในไมโทรคอนเดรียซึ่งเป็นแหล่งพลังงานของเซลล์ของกล้ามเนื้อ
(ดูภาพที่ 1) ทีมนักวิจัยคาดว่าข้อค้นพบในการวิจัยดังกล่าวจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อวงการสาธารณสุขในแง่
ของการรักษาโรคขาดธาตุเหล็ก เนื่องจากปัจจุบันมีประชากรทั่วโลกมากถึง 15% ที่ป่วยเป็นภาวะโลหิตจางจาก
การขาดธาตุเหล็ก(Iron Deficiency Anemia)
ภาพที่ 1 ภาพเปรียบเทียบระหว่างเซลล์ที่มีธาตุเหล็กและไม่มีธาตุเหล็ก
 
 
 
 
 
 
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2
มุมมองและประสบการณการเรียนวิทยาศาสตรการแพทยสมัยใหมในสหรัฐอเมริกา
โดย นางสาว อินทิรา เหลาธรรมทัศน
ที่มา : นางสาว ออินทิรา เหล่าธรรมทัศน์ ผู้ช่วยวิจัยสถาบัน DUKE MEDICAL SCHOOL 
สําหรับบรรยากาศการทํางานในห้องทดลองของ Duke University เนื่องจากการวิจัยที่ทํามีลักษณะเป็น
ห้องทดลองเล็ก มีนักวิจัยเพียง 6 คน จึงทําให้ความสัมพันธ์ของคุณอินทิราและนักวิจัยคนอื่นๆ ค่อนข้างใกล้ชิด
มีการปรึกษาหารือและแลกเปลี่ยนความรู้ด้านการทําวิจัยกันเสมอ อีกทั้งยังมีการนัดพบปะ(Lab Meeting) กัน
เป็นประจําทุกสัปดาห์ นอกจากนั้น แม้คุณอินทิราจะเข้าไปทํางานในฐานะผู้ช่วยนักวิจัยเพียงชั่วคราว 1-2 ปี
ก่อนที่จะไปศึกษาต่อ แต่ก็ได้รับการสนับสนุนและปฏิบัติอย่างดีจากนายจ้างและเพื่อนร่วมงานซึ่งเป็นนักวิจัยมือ
อาชีพ ตลอดทั้งยังได้รับการสอนและถ่ายทอดความรู้ที่ดีจากบุคคลเหล่านี้อีกด้วย
การเรียนแพทยศาสตรในประเทศสหรัฐอเมริกา
ในสหรัฐอเมริกา การเรียนแพทยศาสตร์จะเริ่มต้นอย่างจริงจังในระดับปริญญาโท ดังนั้นก่อนที่นักศึกษาจะ
เริ่มเรียนแพทย์ได้จะต้องเรียนปริญญาตรีมาก่อนเป็นเวลา 4 ปี ซึ่งในระดับปริญญาตรีจะเรียนในสาขาใดก็ได้ ไม่
ว่าจะเป็นสาขาด้านวิทยาศาสตร์หรือแม้แต่สาขาด้านสังคมศาสตร์ - มนุษยศาสตร์ก็ตาม แต่มีเงื่อนไขว่าจะต้อง
ผ่านการเรียนในหลักสูตรเตรียมแพทย์ (Pre-Medicine) ก่อนซึ่งต้องเรียน 3 วิชาหลักได้แก่เคมี ชีววิทยาและ
อินทรีย์เคมีวิชาละ 2 ปี และเรียนวิชารองได้แก่ฟิสิกส์ อังกฤษ และคณิตศาสตร์อีกวิชาละ 1 ปี ซึ่งหลักสูตร
เตรียมแพทย์นี้นักศึกษาสามารถเรียนควบคู่ไปกับการเรียนระดับปริญญาตรีในสาขาหลักของตนเองหรือเริ่ม
เรียนหลังจากจบปริญญาตรีแล้วก็ได้ ความรู้ที่ได้จากการเรียนปรับพื้นฐานในวิชาทั้งหมดเหล่านี้จะเป็นประโยชน์
อย่างมากต่อการสอบเทียบเข้าสาขาแพทยศาสตร์(MCAT)
สําหรับหลักสูตรแพทย์ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 4 ปี โดยในปี 1-2 จะเป็นการเรียนแบบบรรยายในห้อง และใน
ปี 3-4 นักศึกษาจะได้เข้าไปฝึกงานในโรงพยาบาลเพื่อทดลองทํางานในแผนกและสาขาที่หลากหลาย ซึ่งจะทํา
ให้นักศึกษาได้ทราบว่าตนเองชอบหรือสนใจสาขาเฉพาะในด้านใด และภายหลังจากศึกษาจบหลักสูตรแพทย์ 4
ปีก็จะเป็นการศึกษาต่อในสาขาแพทย์เฉพาะทางต่อไป ซึ่งในการสมัครเรียนจะต้องยื่นหลักฐานได้แก่ เกรดเฉลี่ย
คะแนนสอบเทียบ (MCAT) และหลักฐานแสดงกิจกรรมต่างๆ ที่นักศึกษาเคยเข้าร่วม นอกจากนี้ผู้สมัครจะต้อง
เขียนรายงานเกี่ยวกับประวัติตนเองเพื่อเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาด้วย
อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนหลักสูตรแพทยศาสตร์ในสหรัฐอเมริกาก็มีปัญหาเช่นกันคือตลอดเวลาที่
เรียน นักศึกษาจะไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์ใกล้ชิดกับคนไข้มากเท่านักศึกษาแพทย์ในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ
จึงจําเป็นที่สถานศึกษาจะต้องสร้างกลไกเพื่อเพิ่มทักษะด้านการสื่อสารและความเข้าใจในสังคมให้แก่นักศึกษา
เหล่านี้ โดยในอนาคตจะมีการปรับข้อสอบให้เชื่อมโยงไปยังมิติสังคมศาสตร์ จิตวิทยา และการคิดเชิงวิเคราะห์
มากขึ้น นอกจากนั้นวิทยาลัยการแพทย์เจฟเฟอร์สันยังสนับสนุนให้นักศึกษาได้ทํากิจกรรมควบคู่การเรียนไป
ด้วย เช่น การให้นักศึกษาก่อตั้งและขับเคลื่อนคลินิกเล็กๆ ด้วยตนเองเพื่อรักษาผู้อพยพและคนด้อยโอกาสโดย
ไม่คิดค่าใช้จ่าย
ขอดีของการเรียนวิทยาศาสตรในสหรัฐอเมริกา
คุณอินทิรากล่าวว่าการเรียนในสาขาวิทยาศาสตร์รวมไปถึงแพทยศาสตร์ในสหรัฐอเมริกามีข้อดีที่เด่นชัดใน
2 ประการ โดยประการแรก การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในสหรัฐอเมริกาเป็นระบบที่สนุกและไม่น่าเบื่อ และ
ข้อดีประการที่สองคือ นักศึกษาสามารถนําความรู้และทฤษฎีที่ได้จากการเรียนไปใช้ประโยชน์ในการทํางานได้
จริง ตลอดทั้งยังมั่นใจได้ว่าเมื่อจบการศึกษาจะได้ทํางานตรงตามสาขาที่เรียนมาแน่นอน
3โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
บทส่งท้าย
ความสําเร็จรวมถึงประสบการณ์ในการเรียนและการคลุกคลีอยู่ในแวดวงวิทยาศาสตร์ระดับโลก
ของอินทิราเหล่าธรรมทัศน์เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นว่าเด็กไทยก็สามารถพัฒนาตนเองจนเก่งและเชี่ยวชาญ
ในด้านวิทยาศาสตร์ได้หากได้รับการปลูกฝังระบบการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ซึ่งหากมองย้อนกลับมาที่
ประเทศไทยจะพบว่าระบบการศึกษายังไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กอย่างแท้จริง
อีกทั้งการเรียนยังคงยึดผู้สอนเป็นศูนย์กลาง จึงทําให้ยังมีเด็กไทยจํานวนมากที่ไม่สามารถเรียน
วิทยาศาสตร์ได้ดีและยังรู้สึกว่าเป็นวิชาที่ยาก ดังนั้น การปฏิรูปเชิงนโยบายให้ระบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เป็นกระบวนการที่สนุกและสร้างสรรค์จึงเป็นสิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรหันมาให้ความสําคัญเพื่อ
ส่งเสริมให้เด็กไทยพัฒนาสู่การเป็นบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ที่มีศักยภาพ
4
 
 
5
ผู้อํานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ผู้ประสานงาน: น.ส. อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
ปีที่พิมพ์: ตุลาคม 2558
สํานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตําบลหลักหก อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้ข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน:
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ , ศ.พญ.จิราพร เหล่าธรรมทัศน์ , คุณอินทิรา เหล่าธรรม
ทัศน์ , คุณอิศรา เหล่าธรรมทัศน์, รศ.ดร.จํานง สรพิพัฒน์, อ.ทนงศักดิ์วิกุล,
คุณวรวรรณ อาภารัตน์,คุณ สุทธิดา วงศ์เธียรชัย, คุณ นิธิชัย คาดการณ์ไกล
คุณ ธนพล พงศ์สุวโรจน์
5

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a วิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่

04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 
Collaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรCollaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรSarawuth Noliam
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e newsshm-nstda
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75Mr-Dusit Kreachai
 
รวมภาพ
รวมภาพรวมภาพ
รวมภาพAobinta In
 
งานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มงานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มZomza Sirada
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTpatitadarakorn
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559Yui Yuyee
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
Social media
Social mediaSocial media
Social medianansadid
 

Semelhante a วิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่ (20)

V 293
V 293V 293
V 293
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
 
V 269
V 269V 269
V 269
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
 
Collaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรCollaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชร
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e news
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
 
รวมภาพ
รวมภาพรวมภาพ
รวมภาพ
 
งานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มงานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้ม
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
 
Education Inter
Education InterEducation Inter
Education Inter
 
V 278
V 278V 278
V 278
 
V 275
V 275V 275
V 275
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 

Mais de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Mais de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

วิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่

  • 1. ถอดความจากการนําเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง "เด็กไทยในวงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก: โอกาสและความสําเร็จ" จัดโดยโครงการ คลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันอังคารที่ 14 กรกฎาคม 2558 เวลา 15.00 – 18.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ มูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.) โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต น.ส. อินทิรา เหลาธรรมทัศน ผูชวยวิจัยสถาบัน DUKE MEDICAL SCHOOL เมื่อกล่าวถึงการเรียนวิทยาศาสตร์ อาจเป็นเรื่องที่ยากสําหรับเด็กไทยหลายคน แต่ในอีก แง่มุมหนึ่งก็มีเด็กไทยจํานวนไม่น้อยที่เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างสนุกและสร้างสรรค์จนประสบ ความสําเร็จในการเรียนและการประกอบอาชีพได้ อินทิรา เหล่าธรรมทัศน์เป็นตัวอย่างของ นักเรียนไทยที่ไปศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์ในต่างประเทศและมีโอกาสได้ร่วมงานกับ นักวิทยาศาสตร์ระดับโลก ซึ่งประสบการณ์ด้านการเรียนและการทํางานของอินทิราเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการนํามาทบทวนระบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยให้ พัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น อีกทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยของอินทิราก็ยังมีประโยชน์ต่อการ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์สาธารณสุขในประเทศไทยด้วยเช่นกัน 1 วิจัยทางการแพทยสมัยใหม
  • 2. อินทิรา เหล่าธรรมทัศน์เป็นนักศึกษาชาวไทยที่มีโอกาสไปศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ในต่างประเทศตั้งแต่ระดับ ปริญญาตรี ตลอดทั้งยังได้ร่วมงานกับนักวิจัยชั้นนําระดับโลกที่มหาวิทยาลัยดุ๊ก (Duke University)   ในการทําวิจัยเรื่องธาตุเหล็กเป็นเวลา 2 ปี และปัจจุบันกําลังจะเรียนต่อในสาขาแพทย์ของมหาวิทยาลัยการแพทย์ เจฟเฟอร์สัน (Jefferson medical University) จุดเริ่มตนการทํางานวิจัยดานการแพทยสมัยใหมที่ Duke University ขณะเรียนในระดับปริญญาตรีคุณอินทิราได้เห็นแบบอย่างจากอาจารย์ในสาขาวิทยาศาสตร์ จึงเริ่มเกิด ความสนใจว่าการเรียนวิทยาศาสตร์น่าจะมีช่องทางหลากหลายที่จะสามารถนําความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ ได้ หลังจากที่จบปริญญาตรีจึงยังไม่ศึกษาต่อในทันที แต่เลือกที่จะทดสอบว่าความรู้ที่ได้จากการเรียนที่ผ่านมาจะ สามารถนําไปใช้ในการทํางานได้มากน้อยเพียงใด คุณอินทิราจึงได้สมัครเป็นผู้ช่วยนักวิจัยของโครงการทดลอง ด้านวิทยาศาสตร์ที่ Duke University จนกระทั่งได้รับคัดเลือกและตัดสินใจร่วมงานในที่สุด ประสบการณการทํางานวิจัยที่ Duke University คุณอินทิราได้ร่วมงานกับ Nancy Andrews ซึ่งเป็นหัวหน้าโครงการวิจัยที่มีชื่อเสียงด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์ โดยหัวข้อการวิจัยคือการศึกษาว่าธาตุเหล็กสําคัญอย่างไรต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกายและธาตุเหล็ก สามารถนําไปใช้ในกล้ามเนื้อได้อย่างไร ซึ่งกระบวนการทดลองเริ่มด้วยการทดสอบย้ายธาตุเหล็กออกจากเซลล์ กล้ามเนื้อของหนูทดลองเพื่อหาคําตอบว่าหากร่างกายขาดธาตุเหล็กไปจะเป็นอย่างไรด้วย โดยผลการทดลอง พบว่าหนูที่ไม่มีธาตุเหล็กในเซลล์กล้ามเนื้อจะมีขนาดตัวเล็กลงจากปกติมากเนื่องจากกล้ามเนื้อไม่สามารถผลิต พลังงานได้อย่างเพียงพอ อีกทั้งยังมีผลกระทบต่อการทํางานของตับด้วย จนในที่สุดหนูจะตายภายใน 6-8 วัน ผลการวิจัยครั้งนี้ทําให้ทราบว่าธาตุเหล็กถูกใช้ในไมโทรคอนเดรียซึ่งเป็นแหล่งพลังงานของเซลล์ของกล้ามเนื้อ (ดูภาพที่ 1) ทีมนักวิจัยคาดว่าข้อค้นพบในการวิจัยดังกล่าวจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อวงการสาธารณสุขในแง่ ของการรักษาโรคขาดธาตุเหล็ก เนื่องจากปัจจุบันมีประชากรทั่วโลกมากถึง 15% ที่ป่วยเป็นภาวะโลหิตจางจาก การขาดธาตุเหล็ก(Iron Deficiency Anemia) ภาพที่ 1 ภาพเปรียบเทียบระหว่างเซลล์ที่มีธาตุเหล็กและไม่มีธาตุเหล็ก             โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2 มุมมองและประสบการณการเรียนวิทยาศาสตรการแพทยสมัยใหมในสหรัฐอเมริกา โดย นางสาว อินทิรา เหลาธรรมทัศน ที่มา : นางสาว ออินทิรา เหล่าธรรมทัศน์ ผู้ช่วยวิจัยสถาบัน DUKE MEDICAL SCHOOL 
  • 3. สําหรับบรรยากาศการทํางานในห้องทดลองของ Duke University เนื่องจากการวิจัยที่ทํามีลักษณะเป็น ห้องทดลองเล็ก มีนักวิจัยเพียง 6 คน จึงทําให้ความสัมพันธ์ของคุณอินทิราและนักวิจัยคนอื่นๆ ค่อนข้างใกล้ชิด มีการปรึกษาหารือและแลกเปลี่ยนความรู้ด้านการทําวิจัยกันเสมอ อีกทั้งยังมีการนัดพบปะ(Lab Meeting) กัน เป็นประจําทุกสัปดาห์ นอกจากนั้น แม้คุณอินทิราจะเข้าไปทํางานในฐานะผู้ช่วยนักวิจัยเพียงชั่วคราว 1-2 ปี ก่อนที่จะไปศึกษาต่อ แต่ก็ได้รับการสนับสนุนและปฏิบัติอย่างดีจากนายจ้างและเพื่อนร่วมงานซึ่งเป็นนักวิจัยมือ อาชีพ ตลอดทั้งยังได้รับการสอนและถ่ายทอดความรู้ที่ดีจากบุคคลเหล่านี้อีกด้วย การเรียนแพทยศาสตรในประเทศสหรัฐอเมริกา ในสหรัฐอเมริกา การเรียนแพทยศาสตร์จะเริ่มต้นอย่างจริงจังในระดับปริญญาโท ดังนั้นก่อนที่นักศึกษาจะ เริ่มเรียนแพทย์ได้จะต้องเรียนปริญญาตรีมาก่อนเป็นเวลา 4 ปี ซึ่งในระดับปริญญาตรีจะเรียนในสาขาใดก็ได้ ไม่ ว่าจะเป็นสาขาด้านวิทยาศาสตร์หรือแม้แต่สาขาด้านสังคมศาสตร์ - มนุษยศาสตร์ก็ตาม แต่มีเงื่อนไขว่าจะต้อง ผ่านการเรียนในหลักสูตรเตรียมแพทย์ (Pre-Medicine) ก่อนซึ่งต้องเรียน 3 วิชาหลักได้แก่เคมี ชีววิทยาและ อินทรีย์เคมีวิชาละ 2 ปี และเรียนวิชารองได้แก่ฟิสิกส์ อังกฤษ และคณิตศาสตร์อีกวิชาละ 1 ปี ซึ่งหลักสูตร เตรียมแพทย์นี้นักศึกษาสามารถเรียนควบคู่ไปกับการเรียนระดับปริญญาตรีในสาขาหลักของตนเองหรือเริ่ม เรียนหลังจากจบปริญญาตรีแล้วก็ได้ ความรู้ที่ได้จากการเรียนปรับพื้นฐานในวิชาทั้งหมดเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ อย่างมากต่อการสอบเทียบเข้าสาขาแพทยศาสตร์(MCAT) สําหรับหลักสูตรแพทย์ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 4 ปี โดยในปี 1-2 จะเป็นการเรียนแบบบรรยายในห้อง และใน ปี 3-4 นักศึกษาจะได้เข้าไปฝึกงานในโรงพยาบาลเพื่อทดลองทํางานในแผนกและสาขาที่หลากหลาย ซึ่งจะทํา ให้นักศึกษาได้ทราบว่าตนเองชอบหรือสนใจสาขาเฉพาะในด้านใด และภายหลังจากศึกษาจบหลักสูตรแพทย์ 4 ปีก็จะเป็นการศึกษาต่อในสาขาแพทย์เฉพาะทางต่อไป ซึ่งในการสมัครเรียนจะต้องยื่นหลักฐานได้แก่ เกรดเฉลี่ย คะแนนสอบเทียบ (MCAT) และหลักฐานแสดงกิจกรรมต่างๆ ที่นักศึกษาเคยเข้าร่วม นอกจากนี้ผู้สมัครจะต้อง เขียนรายงานเกี่ยวกับประวัติตนเองเพื่อเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาด้วย อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนหลักสูตรแพทยศาสตร์ในสหรัฐอเมริกาก็มีปัญหาเช่นกันคือตลอดเวลาที่ เรียน นักศึกษาจะไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์ใกล้ชิดกับคนไข้มากเท่านักศึกษาแพทย์ในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ จึงจําเป็นที่สถานศึกษาจะต้องสร้างกลไกเพื่อเพิ่มทักษะด้านการสื่อสารและความเข้าใจในสังคมให้แก่นักศึกษา เหล่านี้ โดยในอนาคตจะมีการปรับข้อสอบให้เชื่อมโยงไปยังมิติสังคมศาสตร์ จิตวิทยา และการคิดเชิงวิเคราะห์ มากขึ้น นอกจากนั้นวิทยาลัยการแพทย์เจฟเฟอร์สันยังสนับสนุนให้นักศึกษาได้ทํากิจกรรมควบคู่การเรียนไป ด้วย เช่น การให้นักศึกษาก่อตั้งและขับเคลื่อนคลินิกเล็กๆ ด้วยตนเองเพื่อรักษาผู้อพยพและคนด้อยโอกาสโดย ไม่คิดค่าใช้จ่าย ขอดีของการเรียนวิทยาศาสตรในสหรัฐอเมริกา คุณอินทิรากล่าวว่าการเรียนในสาขาวิทยาศาสตร์รวมไปถึงแพทยศาสตร์ในสหรัฐอเมริกามีข้อดีที่เด่นชัดใน 2 ประการ โดยประการแรก การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในสหรัฐอเมริกาเป็นระบบที่สนุกและไม่น่าเบื่อ และ ข้อดีประการที่สองคือ นักศึกษาสามารถนําความรู้และทฤษฎีที่ได้จากการเรียนไปใช้ประโยชน์ในการทํางานได้ จริง ตลอดทั้งยังมั่นใจได้ว่าเมื่อจบการศึกษาจะได้ทํางานตรงตามสาขาที่เรียนมาแน่นอน 3โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
  • 4. บทส่งท้าย ความสําเร็จรวมถึงประสบการณ์ในการเรียนและการคลุกคลีอยู่ในแวดวงวิทยาศาสตร์ระดับโลก ของอินทิราเหล่าธรรมทัศน์เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นว่าเด็กไทยก็สามารถพัฒนาตนเองจนเก่งและเชี่ยวชาญ ในด้านวิทยาศาสตร์ได้หากได้รับการปลูกฝังระบบการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ซึ่งหากมองย้อนกลับมาที่ ประเทศไทยจะพบว่าระบบการศึกษายังไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กอย่างแท้จริง อีกทั้งการเรียนยังคงยึดผู้สอนเป็นศูนย์กลาง จึงทําให้ยังมีเด็กไทยจํานวนมากที่ไม่สามารถเรียน วิทยาศาสตร์ได้ดีและยังรู้สึกว่าเป็นวิชาที่ยาก ดังนั้น การปฏิรูปเชิงนโยบายให้ระบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นกระบวนการที่สนุกและสร้างสรรค์จึงเป็นสิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรหันมาให้ความสําคัญเพื่อ ส่งเสริมให้เด็กไทยพัฒนาสู่การเป็นบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ที่มีศักยภาพ 4
  • 5.     5 ผู้อํานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ประสานงาน: น.ส. อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล ปีที่พิมพ์: ตุลาคม 2558 สํานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตําบลหลักหก อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้ข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน: ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ , ศ.พญ.จิราพร เหล่าธรรมทัศน์ , คุณอินทิรา เหล่าธรรม ทัศน์ , คุณอิศรา เหล่าธรรมทัศน์, รศ.ดร.จํานง สรพิพัฒน์, อ.ทนงศักดิ์วิกุล, คุณวรวรรณ อาภารัตน์,คุณ สุทธิดา วงศ์เธียรชัย, คุณ นิธิชัย คาดการณ์ไกล คุณ ธนพล พงศ์สุวโรจน์ 5