SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
Baixar para ler offline
วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง
ผู้ช่วยนักวิจัย
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมาในหน้าหนังสือพิมพ์เต็มไปด้วยเนื้อหาข่าวที่เกี่ยวข้องกับประเทศกรีซที่เผชิญ
กับปัญหาหนี้สาธารณะทาให้ประชาชนในประเทศขาดความเชื่อมั่นและกังวลต่อความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นใน
ระบบเศรษฐกิจ โดยประชาชนพากันออกมาถอนเงินสด หรือโอนเงินไปต่างประเทศออกจากธนาคารกรีซจนทา
ให้รัฐบาลกรีซมีคาสั่งปิดธนาคารเป็นเวลานานกว่าสองสัปดาห์และมีการใช้มาตรการควบคุมการเคลื่อนย้ายเงิน
สถานการณ์ดังกล่าวที่เกิดขึ้นถือเป็นจุดสาคัญที่ทาให้เกิดวิกฤตทางเงินของประเทศกรีซ
วิกฤตหนี้ประเทศกรีซเกิดขึ้นได้อย่างไร
หากมองย้อนกลับไปสาเหตุที่กรีซเผชิญวิกฤตหนี้สาธารณะ โดยประเทศกรีซเริ่มใช้เงินสกุลยูโร
ในปี 2001 ทาให้ประเทศกรีซสามารถกู้ยืมเงินได้ในอัตราดอกเบี้ยที่ต่ากว่าสามารถควบคุมได้ โดยสาเหตุหลัก
ของการเกิดวิกฤตในครั้งนี้เกิดมาจากการบริหารจัดการของภาครัฐที่หันไปทุ่มนโยบายรัฐสวัสดิการ ทาให้เกิด
ภาวะขาดดุลทางภาครัฐและมีหนี้สินสาธารณะมากเกินกว่าที่จะสามารถควบคุมได้ ประกอบกับในปี 2010
รัฐสภากรีซผ่านร่าง “รัฐบัญญัติคุ้มครองเศรษฐกิจ” ซึ่งรัฐบัญญัตินี้จะช่วยลดรายจ่ายภาครัฐลงถึง 48,000
ล้านยูโร
1
โดยการดาเนินมาตรการหลายอย่าง นอกจากนี้รัฐบาลกรีซร้องขอให้มีการส่งเงินช่วยเหลือทาง
เศรษฐกิจจากกลุ่มทรอยกา (Troika) หรือ คณะกรรมการร่วมผู้ตรวจสอบวินัยการคลังของยุโรป ได้แก่ สหภาพ
ยุโรป กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และธนาคารกลางแห่งยุโรป (ECB) ให้เงินกู้อื่น ๆ และจะได้รับใน
ภายหลัง ซึ่งคิดเป็นมูลค่าทั้งหมด 110,000 ล้านยูโรตามที่ได้ตกลงกันไว้ ในขณะเดียวกันรัฐบาลกรีซก็ออก
มาตรการรัดเข็มขัดเพิ่มขึ้นเพื่อควบคุมภาระค่าใช่จ่ายของรัฐ เช่น เพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่มเป็น 23% และพยายาม
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ ลดจานวนข้าราชการ แต่ก็ยังไม่สามารถระดมเงินได้ทันจึงทาให้ไม่สามารถชาระหนี้ได้
ทันเวลาที่กาหนดส่งผลให้ธนาคารและสถาบันการเงินต่างๆในยุโรปได้รับผลกระทบด้านเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น
ด้านสถานการณ์การเมืองในช่วงการเปลี่ยนแปลงผู้นาของประเทศในช่วงเดือนมกราคม ปี2013
นายอเล็กซิส ซิปราส (Alexis Tsipras) ผู้นาพรรคไซรีซา (Syriza) ขึ้นมาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีได้เข้ามา
จัดการกับภาระทางการคลังซึ่งมีการเจรจาพูดคุยกับเจ้าหนี้ทั้งธนาคารกลางยุโรปและกองทุนการเงินระหว่าง
ประเทศ (IMF) โดยเจ้าหนี้ปฏิเสธที่จะอนุมัติเงินกู้ยืมเพิ่มประกอบกับเมื่อมีการผิดนัดชาระหนี้ ทาให้เกิดความ
เสี่ยงทางการเงินและเศรษฐกิจสูง รัฐบาลจึงประกาศให้มีการลงประชามติเพื่อพิจารณาว่ากรีซควรรับข้อเสนอ
ให้ความช่วยเหลือทางการเงินเพื่อกู้วิกฤตหนี้หรือไม่
โดย นายวีรวิชญ์ เอี่ยมแสง
ผู้ช่วยนักวิจัยโครงการคลังปัญญาฯ
2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
วิเคราะห์เปรียบเทียบการพัฒนาของประเทศเยอรมนีกับประเทศกรีซ
เมื่อพูดถึงยูโรโซน ประเทศเยอรมนีเป็นเสมือนเสาหลักของยูโรโซน และประเทศเยอรมนี
ยังเป็นเจ้าหนี้รายใหญ่สุดของกรีซเป็นจานวนเงิน 68.2 พันล้าน ทั้งนี้บรรดาเจ้าหนี้ยังรวมถึงองค์กร
ระหว่างประเทศที่ได้เข้ามาให้การช่วยเหลืออีกด้วย
กราฟที่ 1 แสดงอัตราเงินกู้ของประเทศกรีซต่อบรรดาเจ้าหนี้
2
ที่มา: BBC NEWS
ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในกลุ่มยูโรโซนในอดีตประเทศเยอรมนีและประเทศกรีซต่างก็เผชิญกับ
วิกฤตทั้งในเรื่องการขาดดุลทางการค้า ระดับหนี้สาธารณะที่สูงขึ้น คาถามต่อมาที่น่าสนใจคือทาไม
เยอรมนีถึงมีความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ แต่ในทางกลับกันกรีซกลับตกต่าลง โดยพิจารณาจาก
ข้อมูลการเติบโตทางเศรษฐกิจของทั้ง 2 ประเทศ ซึ่งจะพบความแตกต่างของทั้งสองประเทศในมิติ
ด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
มิติด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ
เมื่อพิจารณาถึงจานวนประชากรประเทศเยอรมนีมีประชากร 80.62 ล้านคน ซึ่งมีจานวน
มากที่สุดในประเทศยุโรปและมากกว่าประเทศกรีซถึง 8 เท่า ส่งผลให้ประเทศเยอรมนี้มีขนาด
เศรษฐกิจที่ขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคยุโรป ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) หรือรายได้ต่อหัว
ของประชากรในประเทศเยอรมนีมีขนาดสูง ในขณะที่ประเทศกรีซมีระบบเศรษฐกิจขนาดเล็กทาให้
รายได้ของประชากรยังอยู่ในระดับต่าเหมือนหลายๆประเทศที่กาลังพัฒนาในยุโรปตะวันออก
นอกจากนี้เศรษฐกิจของประเทศเยอรมนีเปิดโอกาสให้มีการแข่งขัน จึงทาให้การส่งออกสินค้าและ
บริการมีประสิทธิภาพ ในทางตรงข้ามกรีซเป็นประเทศที่ไม่มีการแข่งขันส่งผลให้เศรษฐกิจมีสัดส่วน
ในการส่งออกน้อยเมื่อเทียบกับประเทศเยอรมนี
4โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กราฟที่ 2 : แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของประเทศเยอรมนีและกรีซ
ที่มา : The Washington Post
นอกจากนี้ประเทศเยอรมนีประชากรยังมีโอกาสในการทางานมากกว่าประเทศกรีซ โดยที่
ประเทศกรีซมีอัตราการว่างงานสูงสุดในทวีป ถึงแม้ว่าชั่วโมงการทางานในแต่ละสัปดาห์ของประเทศ
กรีซมีอัตราสูงกว่าประเทศเยอรมนี แต่ผลผลิตที่ออกมาสู่ตลาดกลับมีน้อยและเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้
ระบบเศรษฐกิจของประเทศไม่มีปีระสิทธิภาพ
มิติด้านการคลังภาครัฐ
การพิจารณาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศ จะพบว่าประเทศเยอรมนีมี
การเติบโตและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่ดีกว่าประเทศกรีซ แต่อย่างไรก็ตามภาคเศรษฐกิจ
บางส่วนของทั้งสองประเทศยังมีความคลุมเครือ ในช่วงวิกฤตหนี้สาธารณะของยุโรปรัฐบาลเยอรมนี
และรัฐบาลกรีซต้องจ่ายหนี้จากการยืมเงิน แต่รัฐบาลกรีซมีหนี้สูงกว่าเยอรมนีหลายเท่าตัว
กราฟที่ 3 แสดงอัตราตราสารหนี้ของรัฐบาลเยอรมนีและกรีซ
3
ที่มา : The Washington Post
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
5
ในด้านการลงทุนขณะที่ประเทศกรีซยังคงมีหนี้อยู่ในระดับสูงแต่ยังอยู่ในกลุ่มยูโรโซน จึงทา
ให้นักลงทุนมีความเชื่อมั่นที่จะกล้าเข้ามาลงทุนในกรีซ ในปีที่ผ่านมารัฐบาลกรีซเผชิญหน้ากับวิกฤต
ทางหนี้สาธารณะที่จะต้องจ่ายหนี้ที่เพิ่มมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกันหนี้สาธารณะของรัฐบาลเยอรมนี
กลับลดลงและไม่มีความเสี่ยงในระบบเศรษฐกิจ
เมื่อเกิดวิกฤตหนี้สาธารณะในกลุ่มยูโรโซน รัฐบาลกรีซบริหารจัดการด้านการคลังแบบไม่
เคร่งครัดโดยยังคงใช้จ่ายฟุ่มเฟือยในระบบเศรษฐกิจ ส่วนรัฐบาลเยอรมนีมีการควบคุมการใช้จ่ายของ
รัฐให้อยู่ในกฎระเบียบทางการคลังอย่างเคร่งครัดและสามารถรักษาสภาพค่าใช้จ่ายของภาครัฐให้อยู่
ในระดับที่เหมาะสมได้ แต่เมื่อต้นปีที่ผ่านมาประเทศกรีซประสบกับปัญหาภาวะขาดดุลทางการคลัง
จึงทาให้รัฐบาลต้องเพิ่มการกู้ยืมเงินเพิ่ม ทาให้นักลงทุนกลับเลือกที่จะลงทุนในประเทศเยอรมนี
เศรษฐกิจมีเสถียรภาพเพราะมีหนี้น้อยกว่าและจะไม่เกิดความเสี่ยงอย่างเช่นประเทศกรีซ
กราฟที่ 4 แสดงการใช้จ่ายของรัฐบาลเยอรมนีและกรีซที่เปลี่ยนแปลงต่อปี
ที่มา : The Washington Post
มิติด้านการศึกษา
ในขณะที่ประเทศเยอรมนีมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ แต่เมื่อพิจารณาด้านการศึกษา
ของประชากรจะพบว่าประชากรในช่วงอายุ 25-34 ปีมีอัตราร้อยละ 30 ในขณะที่ประชาชนในช่วงอายุ
เดียวกันของประเทศกรีซมีอัตราร้อยละ 37 การศึกษาสูงกว่าประเทศเยอรมนี แต่พิจารณาจากระบบ
การศึกษาของประเทศเยอรมนีที่ให้ความสาคัญกับความเหมาะสมในตาแหน่งงานของแต่ละบุคคล จึง
ทาให้ประชากรที่จบการศึกษามีตาแหน่งงานรองรับ แต่ในทางกลับกันประเทศกรีซให้ความสาคัญกับ
ประชากรได้มีโอกาสศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยโดยไม่ได้คานึงถึงความก้าวหน้าทางอาชีพใน
อนาคตจึงทาให้ประเทศกรีซมีอัตราการว่างงานสูงที่สุดในทวีป
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
6โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กราฟที่ 5 แสดงอัตราระดับการศึกษาของประชากรในช่วงอายุ 25-34ระหว่างประเทศเยอรมนีและกรีซ
ที่มา : The Washington Post
มิติด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
โครงสร้างพื้นฐาน (infrastructure) เป็นจุดเริ่มต้นที่ของการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆที่
ช่วยเพิ่มโอกาสในการผลิต เมื่อพิจารณาการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคม จะพบความ
แตกต่างของทั้งสองประเทศการพัฒนา “ถนน” ซึ่งเป็นเส้นทางหลักในการขนส่ง ประเทศกรีซมีถนน
มากกว่าประเทศเยอรมัน แต่การพัฒนาในด้านอื่น ๆ กรีซเป็นประเทศที่มีการพัฒนาด้านอื่นๆน้อย
กว่าประเทศเยอรมันจึงทาให้ไม่มีการขยายอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
กราฟที่ 6 แสดงจานวนถนนต่ออัตราผู้อาศัยหนึ่งล้านคน
ที่มา : The Washington Post
ความแตกต่างของประเทศเยอรมนีและประเทศกรีซแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาการเติบโตทาง
เศรษฐกิจของแต่ประเทศ ซึ่งประเทศเยอรมนีที่มีเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับสูง ไม่ใช่เพียงแต่การ
พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาทางการศึกษาในประเทศ แต่ยังต้องอาศัย
6
ความสามารถของรัฐในการบริหารทางการเงินการคลังของแต่ละประเทศที่จะส่งผลให้การพัฒนา
เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้เติบโตและมีความก้าวหน้า นี่คงเป็นเหตุผลบางประการที่ทาให้ประเทศ
เยอรมนีมีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ดีกว่าประเทศกรีซ นอกจากนี้ค่าเงินของเกือบทุกประเทศในยูโรโซน
มีแนวโน้มอ่อนค่าเมื่อเทียบกับเงินมาร์คเยอรมนี เพราะประเทศเยอรมนีมีความสามารถในการแข่งขันที่
แข็งแกร่งกว่าหลายๆประเทศ และทาให้เยอรมนีรอดพ้นจากวิกฤตทางเศรษฐกิจและมีความเจริญรุ่งเรือง
ทางเศรษฐกิจมาจนถึงทุกวันนี้
ผลการลงประชามติโหวต “ไม่รับความช่วยเหลือ”จะส่งผลอย่างไร
นายอเล็กซิส ซิปราส นายกรัฐมนตรีของประเทศกรีซ ประกาศให้วันที่ 5 กรกฎาคม 2558 ที่
ผ่านมา เป็นวันลงประชามติเพื่อพิจารณาว่ากรีซควรรับข้อเสนอให้ความช่วยเหลือทางการเงินเพื่อกู้
วิกฤตหนี้หรือไม่ โดยผลการลงมิติประชาชนมีเสียงส่วนใหญ่ร้อยละ 61 โหวต “ไม่ (no)” คือไม่รับความ
ช่วยเหลือจากเจ้าหนี้
4
ได้แก่ คณะกรรมาธิการยุโรป ธนาคารกลางยุโรป และกองทุนการเงินระหว่าง
ประเทศ ซึ่งจะทาให้ไม่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงิน และต้องชาระหนี้สิ้นที่ประเทศกรีซจะต้องทยอย
จ่ายเงินคืน จากผลประชามติในครั้งนี้ทาให้ประเทศกรีซต้องเผชิญกับผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตดังต่อไปนี้
การเพิ่มอานาจการต่อรองในกลุ่มประเทศยูโรโซน การที่เสียงส่วนใหญ่โหวตไม่รับข้อตกลง
ที่จะรับความช่วยจากธนาคารกลางยุโรปและเจ้าหนี้ แม้ในช่วงแรกเศรษฐกิจของกรีซต้องใช้มาตรการ
รัดเข็มขัด แต่หากมองในระยะยาวบรรดาสถาบันการเงินจะค่อยๆประนีประนอม ซึ่งในปัจจุบันประเทศ
กรีซไม่สามารถชาระหนี้ได้ โดยประเทศเยอรมนีในฐานะเจ้าหนี้รายใหญ่พร้อมที่ให้ความช่วยเหลือกรีซ
และกลับเข้ามาสู่กระบวนการเจราให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
การส่งสัญญาณว่ากรีซพร้อมที่จะออกจากยูโรโซน ผลการลงประชามติไม่ได้บอกแค่ว่ากรีซ
จะไม่ได้ยอมรับข้อเสนอจากเจ้าหนี้ทั้งกองทุนระหว่างประเทศและธนาคารกลางในยุโรป แต่ยังเป็นการ
สะท้อนให้เห็นว่าประชาชนชาวกรีซพร้อมจะที่ออกจกยูโรโซน ซึ่งหมายความว่ากรีซจะต้องกลับไปใช้
สกุลเงินของประเทศตัวเอง (สกุลเงิน Greek Drachma) ซึ่งหากกรีซออกจากกลุ่มยูโรโซนทั้งที่ยังไม่ได้
ชาระหนี้จะส่งผลให้เกิดความเสียกับระบบเศรษฐกิจทั้งภูมิภาค
ในด้านการเมืองเป็นการสะท้อนว่าพรรคซีริซายังคงควบคุมอานาจการบริหารประเทศ
ต่อไป เกมการเมืองการทาประชามติในครั้งนี้ของ นายกอเล็กซิส ซีปราส และพรรคซีรี ผลการลง
ประชามติสะท้อนว่าประชาชนส่วนใหญ่ยังสนับสนุนการทางานของรัฐบาลชุดนี้ แต่อย่างไรก็ตาม
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 7
ผู้นาประเทศกรีซได้หารือในทีประชุมฉุกเฉินของคณะกรรมการในยุโรปเพื่อเสนอแผนการปฏิรูปที่
กรีซได้ให้ข้อเสนอในข้อตกลงช่วยเหลือก่อนธนาคารต่างๆของเอเธนส์จะหมดเงินสารองการคลังของ
รัฐ
5
และไม่ว่าในอนาคตกรีซจะออกจากยูโรโซนออกจากยูโรโซน หรือไม่นั้น สุดท้ายแล้ววิกฤตหนี้ใน
ครั้งนี้คงเป็นบทเรียนให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเร่งหาทางแก้ไขเพื่อพยุงเศรษฐกิจของประเทศกรีซทั้งใน
ระยะสั้นและระยะยาวต่อไป
สาหรับผลกระทบที่อาจส่งผลต่อประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ประเมินผลกระทบ
ต่อตลาดการเงินไทย เมื่อเกิดการผิดนัดชาระหนี้จนถึงขั้นที่ประเทศกรีซจะออกจากยูโรโซนทาให้เกิด
ความเสี่ยงทางการเงินและเศรษฐกิจโลกสูงขึ้น ผลกระทบโดยรวมต่อประเทศไทยในเบื้องต้นจะไม่
รุนแรงมาก เนื่องจากประเทศไทยมีความเชื่อมโยงกับประเทศกรีซค่อนข้างต่าทั้งในส่วนของภาค
การเงินและการค้า ส่วนตลาดการเงินของไทยอาจเผชิญกับความผันผวนในระยะสั้น
6
เงินทุนจะไหล
ออกจากประเทศไทยและประเทศที่ตลาดเกิดใหม่ไปสู่ประเทศที่เศรษฐกิจเข้มแข็ง และอาจจะส่งผล
ต่อค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ แต่อย่างไรก็ตามวิกฤตทางเงินของประเทศ
กรีซที่เกิดขึ้นคงเป็นบทเรียนทางเศรษฐกิจที่ประเทศกรีซได้เรียนรู้จากความผิดพลาดทางการบริหาร
การเงิน ประกอบกับฝ่ายการเมืองหันไปทุ่มกับนโยบายสวัสดิการ ทาให้มีมาตรการรัดเข็มขัดทาง
เศรษฐกิจ และได้ส่งผลกระทบต่อประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มยูโร ในที่สุดแล้วบทเรียนที่ประเทศกรีซได้
จากวิกฤตหนี้สาธารณะในครั้งนี้คงเป็นเครื่องเตือนใจและแสดงให้นานาประเทศในภูมิภาคเศรษฐกิจ
โลกเห็นว่าถึงแม้ประเทศกรีซจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและอยู่ในกลุ่มสหภาพยุโรปแต่ยังคงประสบ
กับปัญหาทางการเงินและเศรษฐกิจ
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 8
เอกสารอ้างอิง
1
มติชนออนไลน์ “ย้อนรอย วิกฤตการณ์มหากาพย์ "ปัญหาหนี้กรีซ" สะเทือนเศรษฐกิจ โลก”
ออนไลน์ : http://m.matichon.co.th/readnews.php?newsid=1435656161
2
BBC NEWS “who own Greece’s debt?” .ออนไลน์ : http://www.bbc.com/news/world-europe-
33441183
3
Darla Cameron, Richard Johnson and Zachary A. Goldfarb “Why Greece and Germany just
don’t get along, in 15 charts” .The Washington Post .ออนไลน์ :
http://www.washingtonpost.com/blogs/wonkblog/wp/2015/07/03/why-greece-and-germany-
just-dont-get-along-in-15-charts/
4
BBC NEWS “Greece debt crisis: Will 'No' vote lead to Grexit?” ..ออนไลน์ :
http://www.bbc.com/news/world-europe-32332221
5
Paul Kirby .“Greece debt crisis: Will 'No' vote lead to Grexit?”. BBC news ออนไลน์ : http://
www.bbc.com/news/world-europe-32332221
6
ไทยพับลิก้า. “แบงก์ชาติประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจการเงินไทย หลังจากกรีซลง
ประชามติไม่ยอมรับเงื่อนไขของกลุ่มเจ้าหนี้” ออนไลน์ :
http://thaipublica.org/2015/07/bot-6-7-2558/
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต
อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
9
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศkrupornpana55
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
ฉันทศาสตร์ Pdf
ฉันทศาสตร์ Pdfฉันทศาสตร์ Pdf
ฉันทศาสตร์ PdfArtiya Chaisuk
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2Chalermsak Sornchai
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..sandzii
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาfriend209
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryNattakorn Sunkdon
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อกลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อSarawut Fnp
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 

Mais procurados (20)

องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ฉันทศาสตร์ Pdf
ฉันทศาสตร์ Pdfฉันทศาสตร์ Pdf
ฉันทศาสตร์ Pdf
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อกลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
 
การล่มสลายโซเวียต
การล่มสลายโซเวียตการล่มสลายโซเวียต
การล่มสลายโซเวียต
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 

Mais de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Mais de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

วิกฤตหนี้กรีซ: ย้อนรอยบทเรียนทางเศรษฐกิจ

  • 2. 2 ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมาในหน้าหนังสือพิมพ์เต็มไปด้วยเนื้อหาข่าวที่เกี่ยวข้องกับประเทศกรีซที่เผชิญ กับปัญหาหนี้สาธารณะทาให้ประชาชนในประเทศขาดความเชื่อมั่นและกังวลต่อความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นใน ระบบเศรษฐกิจ โดยประชาชนพากันออกมาถอนเงินสด หรือโอนเงินไปต่างประเทศออกจากธนาคารกรีซจนทา ให้รัฐบาลกรีซมีคาสั่งปิดธนาคารเป็นเวลานานกว่าสองสัปดาห์และมีการใช้มาตรการควบคุมการเคลื่อนย้ายเงิน สถานการณ์ดังกล่าวที่เกิดขึ้นถือเป็นจุดสาคัญที่ทาให้เกิดวิกฤตทางเงินของประเทศกรีซ วิกฤตหนี้ประเทศกรีซเกิดขึ้นได้อย่างไร หากมองย้อนกลับไปสาเหตุที่กรีซเผชิญวิกฤตหนี้สาธารณะ โดยประเทศกรีซเริ่มใช้เงินสกุลยูโร ในปี 2001 ทาให้ประเทศกรีซสามารถกู้ยืมเงินได้ในอัตราดอกเบี้ยที่ต่ากว่าสามารถควบคุมได้ โดยสาเหตุหลัก ของการเกิดวิกฤตในครั้งนี้เกิดมาจากการบริหารจัดการของภาครัฐที่หันไปทุ่มนโยบายรัฐสวัสดิการ ทาให้เกิด ภาวะขาดดุลทางภาครัฐและมีหนี้สินสาธารณะมากเกินกว่าที่จะสามารถควบคุมได้ ประกอบกับในปี 2010 รัฐสภากรีซผ่านร่าง “รัฐบัญญัติคุ้มครองเศรษฐกิจ” ซึ่งรัฐบัญญัตินี้จะช่วยลดรายจ่ายภาครัฐลงถึง 48,000 ล้านยูโร 1 โดยการดาเนินมาตรการหลายอย่าง นอกจากนี้รัฐบาลกรีซร้องขอให้มีการส่งเงินช่วยเหลือทาง เศรษฐกิจจากกลุ่มทรอยกา (Troika) หรือ คณะกรรมการร่วมผู้ตรวจสอบวินัยการคลังของยุโรป ได้แก่ สหภาพ ยุโรป กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และธนาคารกลางแห่งยุโรป (ECB) ให้เงินกู้อื่น ๆ และจะได้รับใน ภายหลัง ซึ่งคิดเป็นมูลค่าทั้งหมด 110,000 ล้านยูโรตามที่ได้ตกลงกันไว้ ในขณะเดียวกันรัฐบาลกรีซก็ออก มาตรการรัดเข็มขัดเพิ่มขึ้นเพื่อควบคุมภาระค่าใช่จ่ายของรัฐ เช่น เพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่มเป็น 23% และพยายาม แปรรูปรัฐวิสาหกิจ ลดจานวนข้าราชการ แต่ก็ยังไม่สามารถระดมเงินได้ทันจึงทาให้ไม่สามารถชาระหนี้ได้ ทันเวลาที่กาหนดส่งผลให้ธนาคารและสถาบันการเงินต่างๆในยุโรปได้รับผลกระทบด้านเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ด้านสถานการณ์การเมืองในช่วงการเปลี่ยนแปลงผู้นาของประเทศในช่วงเดือนมกราคม ปี2013 นายอเล็กซิส ซิปราส (Alexis Tsipras) ผู้นาพรรคไซรีซา (Syriza) ขึ้นมาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีได้เข้ามา จัดการกับภาระทางการคลังซึ่งมีการเจรจาพูดคุยกับเจ้าหนี้ทั้งธนาคารกลางยุโรปและกองทุนการเงินระหว่าง ประเทศ (IMF) โดยเจ้าหนี้ปฏิเสธที่จะอนุมัติเงินกู้ยืมเพิ่มประกอบกับเมื่อมีการผิดนัดชาระหนี้ ทาให้เกิดความ เสี่ยงทางการเงินและเศรษฐกิจสูง รัฐบาลจึงประกาศให้มีการลงประชามติเพื่อพิจารณาว่ากรีซควรรับข้อเสนอ ให้ความช่วยเหลือทางการเงินเพื่อกู้วิกฤตหนี้หรือไม่ โดย นายวีรวิชญ์ เอี่ยมแสง ผู้ช่วยนักวิจัยโครงการคลังปัญญาฯ 2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 3. 3โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วิเคราะห์เปรียบเทียบการพัฒนาของประเทศเยอรมนีกับประเทศกรีซ เมื่อพูดถึงยูโรโซน ประเทศเยอรมนีเป็นเสมือนเสาหลักของยูโรโซน และประเทศเยอรมนี ยังเป็นเจ้าหนี้รายใหญ่สุดของกรีซเป็นจานวนเงิน 68.2 พันล้าน ทั้งนี้บรรดาเจ้าหนี้ยังรวมถึงองค์กร ระหว่างประเทศที่ได้เข้ามาให้การช่วยเหลืออีกด้วย กราฟที่ 1 แสดงอัตราเงินกู้ของประเทศกรีซต่อบรรดาเจ้าหนี้ 2 ที่มา: BBC NEWS ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในกลุ่มยูโรโซนในอดีตประเทศเยอรมนีและประเทศกรีซต่างก็เผชิญกับ วิกฤตทั้งในเรื่องการขาดดุลทางการค้า ระดับหนี้สาธารณะที่สูงขึ้น คาถามต่อมาที่น่าสนใจคือทาไม เยอรมนีถึงมีความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ แต่ในทางกลับกันกรีซกลับตกต่าลง โดยพิจารณาจาก ข้อมูลการเติบโตทางเศรษฐกิจของทั้ง 2 ประเทศ ซึ่งจะพบความแตกต่างของทั้งสองประเทศในมิติ ด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ มิติด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ เมื่อพิจารณาถึงจานวนประชากรประเทศเยอรมนีมีประชากร 80.62 ล้านคน ซึ่งมีจานวน มากที่สุดในประเทศยุโรปและมากกว่าประเทศกรีซถึง 8 เท่า ส่งผลให้ประเทศเยอรมนี้มีขนาด เศรษฐกิจที่ขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคยุโรป ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) หรือรายได้ต่อหัว ของประชากรในประเทศเยอรมนีมีขนาดสูง ในขณะที่ประเทศกรีซมีระบบเศรษฐกิจขนาดเล็กทาให้ รายได้ของประชากรยังอยู่ในระดับต่าเหมือนหลายๆประเทศที่กาลังพัฒนาในยุโรปตะวันออก นอกจากนี้เศรษฐกิจของประเทศเยอรมนีเปิดโอกาสให้มีการแข่งขัน จึงทาให้การส่งออกสินค้าและ บริการมีประสิทธิภาพ ในทางตรงข้ามกรีซเป็นประเทศที่ไม่มีการแข่งขันส่งผลให้เศรษฐกิจมีสัดส่วน ในการส่งออกน้อยเมื่อเทียบกับประเทศเยอรมนี
  • 4. 4โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต กราฟที่ 2 : แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของประเทศเยอรมนีและกรีซ ที่มา : The Washington Post นอกจากนี้ประเทศเยอรมนีประชากรยังมีโอกาสในการทางานมากกว่าประเทศกรีซ โดยที่ ประเทศกรีซมีอัตราการว่างงานสูงสุดในทวีป ถึงแม้ว่าชั่วโมงการทางานในแต่ละสัปดาห์ของประเทศ กรีซมีอัตราสูงกว่าประเทศเยอรมนี แต่ผลผลิตที่ออกมาสู่ตลาดกลับมีน้อยและเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้ ระบบเศรษฐกิจของประเทศไม่มีปีระสิทธิภาพ มิติด้านการคลังภาครัฐ การพิจารณาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศ จะพบว่าประเทศเยอรมนีมี การเติบโตและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่ดีกว่าประเทศกรีซ แต่อย่างไรก็ตามภาคเศรษฐกิจ บางส่วนของทั้งสองประเทศยังมีความคลุมเครือ ในช่วงวิกฤตหนี้สาธารณะของยุโรปรัฐบาลเยอรมนี และรัฐบาลกรีซต้องจ่ายหนี้จากการยืมเงิน แต่รัฐบาลกรีซมีหนี้สูงกว่าเยอรมนีหลายเท่าตัว กราฟที่ 3 แสดงอัตราตราสารหนี้ของรัฐบาลเยอรมนีและกรีซ 3 ที่มา : The Washington Post โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4
  • 5. 5 ในด้านการลงทุนขณะที่ประเทศกรีซยังคงมีหนี้อยู่ในระดับสูงแต่ยังอยู่ในกลุ่มยูโรโซน จึงทา ให้นักลงทุนมีความเชื่อมั่นที่จะกล้าเข้ามาลงทุนในกรีซ ในปีที่ผ่านมารัฐบาลกรีซเผชิญหน้ากับวิกฤต ทางหนี้สาธารณะที่จะต้องจ่ายหนี้ที่เพิ่มมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกันหนี้สาธารณะของรัฐบาลเยอรมนี กลับลดลงและไม่มีความเสี่ยงในระบบเศรษฐกิจ เมื่อเกิดวิกฤตหนี้สาธารณะในกลุ่มยูโรโซน รัฐบาลกรีซบริหารจัดการด้านการคลังแบบไม่ เคร่งครัดโดยยังคงใช้จ่ายฟุ่มเฟือยในระบบเศรษฐกิจ ส่วนรัฐบาลเยอรมนีมีการควบคุมการใช้จ่ายของ รัฐให้อยู่ในกฎระเบียบทางการคลังอย่างเคร่งครัดและสามารถรักษาสภาพค่าใช้จ่ายของภาครัฐให้อยู่ ในระดับที่เหมาะสมได้ แต่เมื่อต้นปีที่ผ่านมาประเทศกรีซประสบกับปัญหาภาวะขาดดุลทางการคลัง จึงทาให้รัฐบาลต้องเพิ่มการกู้ยืมเงินเพิ่ม ทาให้นักลงทุนกลับเลือกที่จะลงทุนในประเทศเยอรมนี เศรษฐกิจมีเสถียรภาพเพราะมีหนี้น้อยกว่าและจะไม่เกิดความเสี่ยงอย่างเช่นประเทศกรีซ กราฟที่ 4 แสดงการใช้จ่ายของรัฐบาลเยอรมนีและกรีซที่เปลี่ยนแปลงต่อปี ที่มา : The Washington Post มิติด้านการศึกษา ในขณะที่ประเทศเยอรมนีมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ แต่เมื่อพิจารณาด้านการศึกษา ของประชากรจะพบว่าประชากรในช่วงอายุ 25-34 ปีมีอัตราร้อยละ 30 ในขณะที่ประชาชนในช่วงอายุ เดียวกันของประเทศกรีซมีอัตราร้อยละ 37 การศึกษาสูงกว่าประเทศเยอรมนี แต่พิจารณาจากระบบ การศึกษาของประเทศเยอรมนีที่ให้ความสาคัญกับความเหมาะสมในตาแหน่งงานของแต่ละบุคคล จึง ทาให้ประชากรที่จบการศึกษามีตาแหน่งงานรองรับ แต่ในทางกลับกันประเทศกรีซให้ความสาคัญกับ ประชากรได้มีโอกาสศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยโดยไม่ได้คานึงถึงความก้าวหน้าทางอาชีพใน อนาคตจึงทาให้ประเทศกรีซมีอัตราการว่างงานสูงที่สุดในทวีป โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5
  • 6. 6โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต กราฟที่ 5 แสดงอัตราระดับการศึกษาของประชากรในช่วงอายุ 25-34ระหว่างประเทศเยอรมนีและกรีซ ที่มา : The Washington Post มิติด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้างพื้นฐาน (infrastructure) เป็นจุดเริ่มต้นที่ของการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆที่ ช่วยเพิ่มโอกาสในการผลิต เมื่อพิจารณาการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคม จะพบความ แตกต่างของทั้งสองประเทศการพัฒนา “ถนน” ซึ่งเป็นเส้นทางหลักในการขนส่ง ประเทศกรีซมีถนน มากกว่าประเทศเยอรมัน แต่การพัฒนาในด้านอื่น ๆ กรีซเป็นประเทศที่มีการพัฒนาด้านอื่นๆน้อย กว่าประเทศเยอรมันจึงทาให้ไม่มีการขยายอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กราฟที่ 6 แสดงจานวนถนนต่ออัตราผู้อาศัยหนึ่งล้านคน ที่มา : The Washington Post ความแตกต่างของประเทศเยอรมนีและประเทศกรีซแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาการเติบโตทาง เศรษฐกิจของแต่ประเทศ ซึ่งประเทศเยอรมนีที่มีเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับสูง ไม่ใช่เพียงแต่การ พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาทางการศึกษาในประเทศ แต่ยังต้องอาศัย 6
  • 7. ความสามารถของรัฐในการบริหารทางการเงินการคลังของแต่ละประเทศที่จะส่งผลให้การพัฒนา เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้เติบโตและมีความก้าวหน้า นี่คงเป็นเหตุผลบางประการที่ทาให้ประเทศ เยอรมนีมีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ดีกว่าประเทศกรีซ นอกจากนี้ค่าเงินของเกือบทุกประเทศในยูโรโซน มีแนวโน้มอ่อนค่าเมื่อเทียบกับเงินมาร์คเยอรมนี เพราะประเทศเยอรมนีมีความสามารถในการแข่งขันที่ แข็งแกร่งกว่าหลายๆประเทศ และทาให้เยอรมนีรอดพ้นจากวิกฤตทางเศรษฐกิจและมีความเจริญรุ่งเรือง ทางเศรษฐกิจมาจนถึงทุกวันนี้ ผลการลงประชามติโหวต “ไม่รับความช่วยเหลือ”จะส่งผลอย่างไร นายอเล็กซิส ซิปราส นายกรัฐมนตรีของประเทศกรีซ ประกาศให้วันที่ 5 กรกฎาคม 2558 ที่ ผ่านมา เป็นวันลงประชามติเพื่อพิจารณาว่ากรีซควรรับข้อเสนอให้ความช่วยเหลือทางการเงินเพื่อกู้ วิกฤตหนี้หรือไม่ โดยผลการลงมิติประชาชนมีเสียงส่วนใหญ่ร้อยละ 61 โหวต “ไม่ (no)” คือไม่รับความ ช่วยเหลือจากเจ้าหนี้ 4 ได้แก่ คณะกรรมาธิการยุโรป ธนาคารกลางยุโรป และกองทุนการเงินระหว่าง ประเทศ ซึ่งจะทาให้ไม่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงิน และต้องชาระหนี้สิ้นที่ประเทศกรีซจะต้องทยอย จ่ายเงินคืน จากผลประชามติในครั้งนี้ทาให้ประเทศกรีซต้องเผชิญกับผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตดังต่อไปนี้ การเพิ่มอานาจการต่อรองในกลุ่มประเทศยูโรโซน การที่เสียงส่วนใหญ่โหวตไม่รับข้อตกลง ที่จะรับความช่วยจากธนาคารกลางยุโรปและเจ้าหนี้ แม้ในช่วงแรกเศรษฐกิจของกรีซต้องใช้มาตรการ รัดเข็มขัด แต่หากมองในระยะยาวบรรดาสถาบันการเงินจะค่อยๆประนีประนอม ซึ่งในปัจจุบันประเทศ กรีซไม่สามารถชาระหนี้ได้ โดยประเทศเยอรมนีในฐานะเจ้าหนี้รายใหญ่พร้อมที่ให้ความช่วยเหลือกรีซ และกลับเข้ามาสู่กระบวนการเจราให้ความช่วยเหลือทางการเงิน การส่งสัญญาณว่ากรีซพร้อมที่จะออกจากยูโรโซน ผลการลงประชามติไม่ได้บอกแค่ว่ากรีซ จะไม่ได้ยอมรับข้อเสนอจากเจ้าหนี้ทั้งกองทุนระหว่างประเทศและธนาคารกลางในยุโรป แต่ยังเป็นการ สะท้อนให้เห็นว่าประชาชนชาวกรีซพร้อมจะที่ออกจกยูโรโซน ซึ่งหมายความว่ากรีซจะต้องกลับไปใช้ สกุลเงินของประเทศตัวเอง (สกุลเงิน Greek Drachma) ซึ่งหากกรีซออกจากกลุ่มยูโรโซนทั้งที่ยังไม่ได้ ชาระหนี้จะส่งผลให้เกิดความเสียกับระบบเศรษฐกิจทั้งภูมิภาค ในด้านการเมืองเป็นการสะท้อนว่าพรรคซีริซายังคงควบคุมอานาจการบริหารประเทศ ต่อไป เกมการเมืองการทาประชามติในครั้งนี้ของ นายกอเล็กซิส ซีปราส และพรรคซีรี ผลการลง ประชามติสะท้อนว่าประชาชนส่วนใหญ่ยังสนับสนุนการทางานของรัฐบาลชุดนี้ แต่อย่างไรก็ตาม โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 7
  • 8. ผู้นาประเทศกรีซได้หารือในทีประชุมฉุกเฉินของคณะกรรมการในยุโรปเพื่อเสนอแผนการปฏิรูปที่ กรีซได้ให้ข้อเสนอในข้อตกลงช่วยเหลือก่อนธนาคารต่างๆของเอเธนส์จะหมดเงินสารองการคลังของ รัฐ 5 และไม่ว่าในอนาคตกรีซจะออกจากยูโรโซนออกจากยูโรโซน หรือไม่นั้น สุดท้ายแล้ววิกฤตหนี้ใน ครั้งนี้คงเป็นบทเรียนให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเร่งหาทางแก้ไขเพื่อพยุงเศรษฐกิจของประเทศกรีซทั้งใน ระยะสั้นและระยะยาวต่อไป สาหรับผลกระทบที่อาจส่งผลต่อประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ประเมินผลกระทบ ต่อตลาดการเงินไทย เมื่อเกิดการผิดนัดชาระหนี้จนถึงขั้นที่ประเทศกรีซจะออกจากยูโรโซนทาให้เกิด ความเสี่ยงทางการเงินและเศรษฐกิจโลกสูงขึ้น ผลกระทบโดยรวมต่อประเทศไทยในเบื้องต้นจะไม่ รุนแรงมาก เนื่องจากประเทศไทยมีความเชื่อมโยงกับประเทศกรีซค่อนข้างต่าทั้งในส่วนของภาค การเงินและการค้า ส่วนตลาดการเงินของไทยอาจเผชิญกับความผันผวนในระยะสั้น 6 เงินทุนจะไหล ออกจากประเทศไทยและประเทศที่ตลาดเกิดใหม่ไปสู่ประเทศที่เศรษฐกิจเข้มแข็ง และอาจจะส่งผล ต่อค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ แต่อย่างไรก็ตามวิกฤตทางเงินของประเทศ กรีซที่เกิดขึ้นคงเป็นบทเรียนทางเศรษฐกิจที่ประเทศกรีซได้เรียนรู้จากความผิดพลาดทางการบริหาร การเงิน ประกอบกับฝ่ายการเมืองหันไปทุ่มกับนโยบายสวัสดิการ ทาให้มีมาตรการรัดเข็มขัดทาง เศรษฐกิจ และได้ส่งผลกระทบต่อประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มยูโร ในที่สุดแล้วบทเรียนที่ประเทศกรีซได้ จากวิกฤตหนี้สาธารณะในครั้งนี้คงเป็นเครื่องเตือนใจและแสดงให้นานาประเทศในภูมิภาคเศรษฐกิจ โลกเห็นว่าถึงแม้ประเทศกรีซจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและอยู่ในกลุ่มสหภาพยุโรปแต่ยังคงประสบ กับปัญหาทางการเงินและเศรษฐกิจ โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 8
  • 9. เอกสารอ้างอิง 1 มติชนออนไลน์ “ย้อนรอย วิกฤตการณ์มหากาพย์ "ปัญหาหนี้กรีซ" สะเทือนเศรษฐกิจ โลก” ออนไลน์ : http://m.matichon.co.th/readnews.php?newsid=1435656161 2 BBC NEWS “who own Greece’s debt?” .ออนไลน์ : http://www.bbc.com/news/world-europe- 33441183 3 Darla Cameron, Richard Johnson and Zachary A. Goldfarb “Why Greece and Germany just don’t get along, in 15 charts” .The Washington Post .ออนไลน์ : http://www.washingtonpost.com/blogs/wonkblog/wp/2015/07/03/why-greece-and-germany- just-dont-get-along-in-15-charts/ 4 BBC NEWS “Greece debt crisis: Will 'No' vote lead to Grexit?” ..ออนไลน์ : http://www.bbc.com/news/world-europe-32332221 5 Paul Kirby .“Greece debt crisis: Will 'No' vote lead to Grexit?”. BBC news ออนไลน์ : http:// www.bbc.com/news/world-europe-32332221 6 ไทยพับลิก้า. “แบงก์ชาติประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจการเงินไทย หลังจากกรีซลง ประชามติไม่ยอมรับเงื่อนไขของกลุ่มเจ้าหนี้” ออนไลน์ : http://thaipublica.org/2015/07/bot-6-7-2558/ ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 9 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต