SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Haiqiu Yu (Assosiate Professor)
Yunnan Academy of Social Sciences
1โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เขตห้วยขวาง เป็นเขตหนึ่งในกรุงเทพมหานครที่มีประชากรค่อนข้างหนาแน่น ในแง่
ภูมิศาสตร์เขตห้วยขวางตั้งอยู่บริเวณตอนกลางค่อนไปทางเหนือของฝั่งพระนคร มีพื้นที่ 15,033
ตารางกิโลเมตร และมีประชากรทั้งหมด 78,943 คน ทั้งนี้ เหตุผลสาคัญที่ทาให้เขตห้วยขวางได้รับการ
ขนานนามว่าเป็น “ไชน่าทาวน์ใหม่” คือการที่มีชาวจีนอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก โดยมีประมาณ 5,000
คน คิดเป็นสัดส่วน 6% ของประชากรทั้งหมดในพื้นที่ ซึ่งชาวจีนเหล่านี้ค่อยๆ ก่อร่างชุมชนใหม่ที่มี
ลักษณะเฉพาะตัว อย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในเขตห้วยขวาง
การย้ายถิ่นฐานของชาวจีนโพ้นทะเลเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทยส่งผลให้ชาวจีนเหล่านี้ต้อง
ปรับตัวในการดาเนินวิถีชีวิตหลายด้านโดยเฉพาะด้านการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ซึ่งถือเป็น
แรงจูงใจหลักที่ดึงดูดให้ชาวจีนสนใจมาใช้ชีวิตและแสวงหาโอกาสใหม่ๆ ในประเทศไทย งานที่ชาวจีน
ในเขตห้วยขวางยึดเป็นอาชีพส่วนใหญ่คืองานที่ใช้ทักษะที่เกี่ยวกับภาษา และสังคมวัฒนธรรมจีน ซึ่งมี
ดังนี้
 ผู้ที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยว
เขตห้วยขวางมีบริษัทท่องเที่ยวและสาขาของบริษัทท่องเที่ยวมากกว่า 100 แห่ง ซึ่งมีทั้ง
บริษัทที่นานักท่องเที่ยวจีนเข้ามาเที่ยวในไทย และบริษัทที่นานักท่องเที่ยวไทยไปยังจีน โดย
ปัจจุบันมีชาวจีนที่ทางานให้บริษัทเหล่านี้จานวนมาก โดยประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ประมาณ
2,000 คน และธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ เช่น ร้านจัดเลี้ยง ร้านอาหาร ประมาณ 500 คน
 ผู้ที่ประกอบอาชีพครูสอนภาษา
นักศึกษาจีนที่มาศึกษาในไทยและจบการศึกษาแล้วมักยังอยู่ในพื้นที่ต่อโดยยึดอาชีพครูสอน
ภาษาไทยให้คนจีน รวมทั้งสอนภาษาจีนให้แก่คนไทย นอกจากนี้ยังทางานด้านการอานวย
ความสะดวกด้านภาษาและการสื่อสารให้กับชาวจีนที่เข้ามาทาธุรกิจในไทยอีกด้วย โดยชาว
Yunnan Academy of Social Sciences
Haiqiu Yu (Assosiate Professor)
2
 ผู้ที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการค้าขาย
ในปัจจุบันซึ่งทั่วโลกอยู่ในยุคที่เทคโนโลยีก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว E-Commerce หรือการ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จึงกลายเป็นอีกทางเลือกที่สร้างรายได้ให้ชาวจีนในเขตห้วยขวางโดย
วิธีการขายและรับสั่งซื้อสินค้าไทยทางอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งไปยังประเทศจีน นอกจากนี้ ยังมี
ชาวจีนที่เป็นบุคลากรด้านระบบการจัดการขนส่งโลจิสติกส์รวมจานวนกว่า 1,000 คน
 ชาวจีนที่กาลังมองหาโอกาสในการประกอบอาชีพ
มีจานวนประมาณ 500 – 700 คน
การก่อร่างสร้างรูปของชุมชนชาวจีนในเขตห้วยขวาง
เดิมทีเขตห้วยขวางเคยเป็นย่านที่อยู่อาศัยดั้งเดิมของชาวไทยและยังเป็นแหล่งที่มีธุรกิจด้าน
อาบอบนวดอยู่ค่อนข้างหนาแน่น จนกระทั่งปลายทศวรรษที่ 1980 ชาวจีนได้เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานใน
พื้นที่ดังกล่าว โดยคนกลุ่มแรกที่เข้ามาเป็นชาวไต้หวัน ต่อมาภายหลังจีนเปิดประเทศและมีนโยบาย
ส่งเสริมให้ประชาชนเดินทางไปเที่ยวต่างประเทศ ทาให้นักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามาในประเทศไทย
มากขึ้น แต่ในช่วงเวลานั้นยังขาดบุคลากรชาวไทยที่สามารถสื่อสารภาษาจีนได้ ด้วยเหตุดังกล่าว จึง
เป็นโอกาสให้ชาวจีนมณฑลยูนนานที่พานักอยู่ในภาคเหนือของประเทศไทยเข้ามาทางานเป็นล่ามและ
มัคคุเทศก์ในกรุงเทพมหานครมากขึ้น ซึ่งชาวจีนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะรวมตัวกันอาศัยอยู่ในเขตห้วยขวาง
และอาศัยอยู่ต่อเนื่องยาวนานนับ 10 ปีส่งผลให้พื้นที่บริเวณเขตห้วยขวางค่อยๆ พัฒนาเป็นย่านคนจีน
อย่างสมบูรณ์
ต่อมาในสมัยรัฐบาลพันตารวจโททักษิณ ชินวัตร เริ่มมีการดาเนินนโยบายสนับสนุนการ
แลกเปลี่ยนทางการศึกษาและวัฒนธรรมระหว่างไทยและจีน ทาให้มีนักเรียนจีนหลั่งไหลเข้ามาศึกษาใน
ประเทศไทยอย่างต่อเนื่องจนเกิดความผูกพันกับสังคมไทย ภายหลังสาเร็จการศึกษาแล้วชาวจีน
จานวนหนึ่งจึงเลือกที่จะทางานและใช้ชีวิตอยู่ในไทยต่อไป โดยส่วนใหญ่ทางานให้กับบริษัทไทยและ
บริษัทไต้หวัน ซึ่งหากคนเหล่านี้ประสบความสาเร็จก็มีโอกาสที่ญาติพี่น้องจะติดตามเข้ามาอาศัยอยู่ใน
ประเทศไทย ส่งผลให้ชุมชนชาวจีนขยายตัวประกอบกับปีค.ศ. 2004 ที่กรุงเทพมหานครเริ่มเปิดบริการ
รถไฟฟ้าใต้ดินซึ่งมีเส้นทางตัดผ่านย่านห้วยขวางเอื้อให้การเดินทางสะดวกรวดเร็ว ยิ่งเป็นปัจจัยดึงดูด
ให้ชาวจีนมารวมตัวกันมากขึ้น
ปัจจัยสาคัญอีกประการหนึ่งที่กระตุ้นให้ชาวจีนหลั่งไหลเข้ามาในไทยอย่างคับคั่ง คือการ
เผยแพร่ภาพยนตร์เรื่อง Lost in Thailand ไปทั่วประเทศจีนในปีค.ศ. 2012 เป็นเหตุให้จานวน
นักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางมาไทยเพิ่มจาก 2.4 ล้านคน เป็นจานวนมากถึง 4 ล้านคนต่อปี ด้วยการ
เติบโตของธุรกิจท่องเที่ยวอย่างก้าวกระโดดนี่เอง ทาให้มัคคุเทศก์จีนพยายามจะเข้ามาทางานในไทย
จานวนมาก โดยเลือกพานักอยู่ในเขตห้วยขวางเป็นส่วนมาก
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
ธุรกิจชุมชนและสถานะชุมชนชาวจีน
ในอีกแง่มุมหนึ่ง การที่ไทยเป็นที่รู้จักมากขึ้นในสายตาชาวจีนส่งผลให้สินค้าไทยสามารถ
ส่งออกและทากาไรได้สูงมากในตลาดของประเทศจีน สินค้าดังกล่าว ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ลดน้าหนัก
เช่น ยาของโรงพยาบาลยันฮี เครื่องสาอาง เช่น Mistine, Beauty Buffet, Snail White และอาหาร
เช่น บะหมี่กึ่งสาเร็จรูปมาม่ารสต้มยากุ้ง เป็นต้น โดยสินค้าที่ขายดีที่สุดสามารถสร้างรายได้สุทธิได้
มากกว่า 4 ล้านหยวนต่อเดือน ซึ่งบริษัทที่ทาหน้าที่จัดส่งสินค้าเหล่านี้ไปยังจีนมีจานวนมากกว่า 200
บริษัท ส่วนใหญ่ตั้งอยู่บริเวณซอยประชาราษฎร์บาเพ็ญในเขตห้วยขวาง โดยมีจุดรับซื้อสินค้า
กระจายอยู่ 25 จุด นอกจากนี้ การพัฒนาด้านการค้าดังกล่าวยังทาให้เกิดการยกระดับอุตสาหกรรม
การขนส่งอย่างรวดเร็ว โดยปัจจุบันมีบริษัทโลจิสติกส์ทั้งหมด 7 แห่ง
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
อิทธิพลของชุมชนชาวจีนที่มีต่อสังคมไทย
การเกิดขึ้นของชุมชนชาวจีนในเขตห้วยขวางซึ่งมีแนวโน้มจะขยายตัวอย่างต่อเนื่องได้สร้าง
ทั้งประโยชน์และผลกระทบอย่างมีนัยยะสาคัญ โดยผลดีที่ไทยได้รับจากชุมชนชาวจีนและการ
หลั่งไหลเข้ามาของนักเที่ยวจีน ประการแรกคือ การส่งเสริมและเพิ่มระดับการบริโภคและการพัฒนา
เศรษฐกิจของไทยและภูมิภาค เนื่องจากจีนมีตลาดผู้บริโภคขนาดใหญ่และชาวจีนในปัจจุบันมีกาลัง
ซื้อเพิ่มขึ้นประกอบกับสถานที่ท่องเที่ยวและสินค้าไทยได้รับความนิยมอย่างมากในหมู่ชาวจีน จึงทา
ให้ไทยได้ประโยชน์จากธุรกิจการท่องเที่ยวและการส่งออกสินค้าไปยังจีนเป็นอย่างมาก ประการที่
สอง คือ การส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ซึ่งเห็นได้ชัดเจนจากเอกลักษณ์ของชุมชน
ห้วยขวางที่มีการผสมผสานความเป็นไทยและจีนไว้อย่างลงตัว
อย่างไรก็ตาม การเกิดขึ้นของชุมชนชาวจีนก็ได้สร้างผลกระทบในหลายด้าน ประการแรกคือ
การหลั่งไหลเข้ามาของชาวจีนอย่างไม่มีขีดจากัดอาจนามาซึ่งปัญหาอาชญากรรมในชุมชน เช่น การ
ลักขโมย ปัญหายาเสพติด เป็นต้น ผลเสียอีกประการหนึ่ง คือลักษณะนิสัยและบุคลิกที่ไม่พึงประสงค์
ของชาวจีนบางกลุ่มอาจสร้างความราคาญให้กับผู้อื่นได้ นอกจากนี้ การที่มีสินค้าไทยส่งออกไปขาย
ในจีนและได้รับความนิยมมากอาจนาไปสู่โอกาสเสี่ยงที่สินค้าเหล่านั้นจะถูกลอกเลียนแบบโดยพ่อค้า
จีน ซึ่งจะส่งผลให้สินค้าไทยเสียชื่อเสียงและขาดการยอมรับในระยะยาว
แนวโน้มการปรับตัวเพื่อพัฒนาสู่ความเป็น “ไชน่าทาวน์ใหม่”
การก่อร่างและขยายตัวของชุมชนชาวจีนในเขตห้วยขวางและการเข้ามาของชาวจีนจานวน
มากในประเทศไทยได้สร้างทั้งโอกาสและความเสี่ยงในหลายประการโดยเฉพาะปัญหาความไม่
กลมกลืนทางสังคม ดังนั้นในการสร้างไชน่าทาวน์ใหม่ รัฐบาลควรให้ความสาคัญกับการส่งเสริมความ
เข้าใจในเรื่องวัฒนธรรมในพื้นที่สาธารณะระหว่างชาวไทยและชาวจีนให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบต่อ
ความเป็นอยู่ของประชาชน นอกจากนี้ ในด้านการส่งเสริมความเข้มแข็งของธุรกิจชุมชนและเสริมข้อ
ได้เปรียบของสินค้าไทย ควรมีการปรับเปลี่ยนวิธีการค้าขายให้มีประสิทธิภาพ เช่น การส่งเสริม
ยุทธศาสตร์การค้าออนไลน์ เป็นต้น
4
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยรังสิต
อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความ: นายพิพัฒพงศ์ ชูประสิทธิ์
เรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ
ปีที่พิมพ์: เมษายน 2558
ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ คุณสมปอง สงวนบรรพ์ ศ.ดร.สมบูรณ์ สุขสาราญ
รศ.ดร.สมศักดิ์แต้มบุญเลิศชัย รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ อ.ทนงศักดิ์วิกุล
ผศ.ดร.ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ดร.พนา สถิตศาสตร์ อ.ศิวพล ละอองสกุล
อ.ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ รศ.สายฝน สุเอียนทรเมธี ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์
ดร.วุฒิพล วุฒิวรพงษ์ ดร.สินาด ตรีวรรณไชย

Mais conteúdo relacionado

Mais de Klangpanya

Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

Mais de Klangpanya (20)

Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 

ห้วยขวาง ไชน่าทาวน์ใหม่

  • 2. 1โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เขตห้วยขวาง เป็นเขตหนึ่งในกรุงเทพมหานครที่มีประชากรค่อนข้างหนาแน่น ในแง่ ภูมิศาสตร์เขตห้วยขวางตั้งอยู่บริเวณตอนกลางค่อนไปทางเหนือของฝั่งพระนคร มีพื้นที่ 15,033 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรทั้งหมด 78,943 คน ทั้งนี้ เหตุผลสาคัญที่ทาให้เขตห้วยขวางได้รับการ ขนานนามว่าเป็น “ไชน่าทาวน์ใหม่” คือการที่มีชาวจีนอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก โดยมีประมาณ 5,000 คน คิดเป็นสัดส่วน 6% ของประชากรทั้งหมดในพื้นที่ ซึ่งชาวจีนเหล่านี้ค่อยๆ ก่อร่างชุมชนใหม่ที่มี ลักษณะเฉพาะตัว อย่างต่อเนื่อง สถานการณ์ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในเขตห้วยขวาง การย้ายถิ่นฐานของชาวจีนโพ้นทะเลเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทยส่งผลให้ชาวจีนเหล่านี้ต้อง ปรับตัวในการดาเนินวิถีชีวิตหลายด้านโดยเฉพาะด้านการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ซึ่งถือเป็น แรงจูงใจหลักที่ดึงดูดให้ชาวจีนสนใจมาใช้ชีวิตและแสวงหาโอกาสใหม่ๆ ในประเทศไทย งานที่ชาวจีน ในเขตห้วยขวางยึดเป็นอาชีพส่วนใหญ่คืองานที่ใช้ทักษะที่เกี่ยวกับภาษา และสังคมวัฒนธรรมจีน ซึ่งมี ดังนี้  ผู้ที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยว เขตห้วยขวางมีบริษัทท่องเที่ยวและสาขาของบริษัทท่องเที่ยวมากกว่า 100 แห่ง ซึ่งมีทั้ง บริษัทที่นานักท่องเที่ยวจีนเข้ามาเที่ยวในไทย และบริษัทที่นานักท่องเที่ยวไทยไปยังจีน โดย ปัจจุบันมีชาวจีนที่ทางานให้บริษัทเหล่านี้จานวนมาก โดยประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ประมาณ 2,000 คน และธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ เช่น ร้านจัดเลี้ยง ร้านอาหาร ประมาณ 500 คน  ผู้ที่ประกอบอาชีพครูสอนภาษา นักศึกษาจีนที่มาศึกษาในไทยและจบการศึกษาแล้วมักยังอยู่ในพื้นที่ต่อโดยยึดอาชีพครูสอน ภาษาไทยให้คนจีน รวมทั้งสอนภาษาจีนให้แก่คนไทย นอกจากนี้ยังทางานด้านการอานวย ความสะดวกด้านภาษาและการสื่อสารให้กับชาวจีนที่เข้ามาทาธุรกิจในไทยอีกด้วย โดยชาว Yunnan Academy of Social Sciences Haiqiu Yu (Assosiate Professor)
  • 3. 2  ผู้ที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการค้าขาย ในปัจจุบันซึ่งทั่วโลกอยู่ในยุคที่เทคโนโลยีก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว E-Commerce หรือการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จึงกลายเป็นอีกทางเลือกที่สร้างรายได้ให้ชาวจีนในเขตห้วยขวางโดย วิธีการขายและรับสั่งซื้อสินค้าไทยทางอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งไปยังประเทศจีน นอกจากนี้ ยังมี ชาวจีนที่เป็นบุคลากรด้านระบบการจัดการขนส่งโลจิสติกส์รวมจานวนกว่า 1,000 คน  ชาวจีนที่กาลังมองหาโอกาสในการประกอบอาชีพ มีจานวนประมาณ 500 – 700 คน การก่อร่างสร้างรูปของชุมชนชาวจีนในเขตห้วยขวาง เดิมทีเขตห้วยขวางเคยเป็นย่านที่อยู่อาศัยดั้งเดิมของชาวไทยและยังเป็นแหล่งที่มีธุรกิจด้าน อาบอบนวดอยู่ค่อนข้างหนาแน่น จนกระทั่งปลายทศวรรษที่ 1980 ชาวจีนได้เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานใน พื้นที่ดังกล่าว โดยคนกลุ่มแรกที่เข้ามาเป็นชาวไต้หวัน ต่อมาภายหลังจีนเปิดประเทศและมีนโยบาย ส่งเสริมให้ประชาชนเดินทางไปเที่ยวต่างประเทศ ทาให้นักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามาในประเทศไทย มากขึ้น แต่ในช่วงเวลานั้นยังขาดบุคลากรชาวไทยที่สามารถสื่อสารภาษาจีนได้ ด้วยเหตุดังกล่าว จึง เป็นโอกาสให้ชาวจีนมณฑลยูนนานที่พานักอยู่ในภาคเหนือของประเทศไทยเข้ามาทางานเป็นล่ามและ มัคคุเทศก์ในกรุงเทพมหานครมากขึ้น ซึ่งชาวจีนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะรวมตัวกันอาศัยอยู่ในเขตห้วยขวาง และอาศัยอยู่ต่อเนื่องยาวนานนับ 10 ปีส่งผลให้พื้นที่บริเวณเขตห้วยขวางค่อยๆ พัฒนาเป็นย่านคนจีน อย่างสมบูรณ์ ต่อมาในสมัยรัฐบาลพันตารวจโททักษิณ ชินวัตร เริ่มมีการดาเนินนโยบายสนับสนุนการ แลกเปลี่ยนทางการศึกษาและวัฒนธรรมระหว่างไทยและจีน ทาให้มีนักเรียนจีนหลั่งไหลเข้ามาศึกษาใน ประเทศไทยอย่างต่อเนื่องจนเกิดความผูกพันกับสังคมไทย ภายหลังสาเร็จการศึกษาแล้วชาวจีน จานวนหนึ่งจึงเลือกที่จะทางานและใช้ชีวิตอยู่ในไทยต่อไป โดยส่วนใหญ่ทางานให้กับบริษัทไทยและ บริษัทไต้หวัน ซึ่งหากคนเหล่านี้ประสบความสาเร็จก็มีโอกาสที่ญาติพี่น้องจะติดตามเข้ามาอาศัยอยู่ใน ประเทศไทย ส่งผลให้ชุมชนชาวจีนขยายตัวประกอบกับปีค.ศ. 2004 ที่กรุงเทพมหานครเริ่มเปิดบริการ รถไฟฟ้าใต้ดินซึ่งมีเส้นทางตัดผ่านย่านห้วยขวางเอื้อให้การเดินทางสะดวกรวดเร็ว ยิ่งเป็นปัจจัยดึงดูด ให้ชาวจีนมารวมตัวกันมากขึ้น ปัจจัยสาคัญอีกประการหนึ่งที่กระตุ้นให้ชาวจีนหลั่งไหลเข้ามาในไทยอย่างคับคั่ง คือการ เผยแพร่ภาพยนตร์เรื่อง Lost in Thailand ไปทั่วประเทศจีนในปีค.ศ. 2012 เป็นเหตุให้จานวน นักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางมาไทยเพิ่มจาก 2.4 ล้านคน เป็นจานวนมากถึง 4 ล้านคนต่อปี ด้วยการ เติบโตของธุรกิจท่องเที่ยวอย่างก้าวกระโดดนี่เอง ทาให้มัคคุเทศก์จีนพยายามจะเข้ามาทางานในไทย จานวนมาก โดยเลือกพานักอยู่ในเขตห้วยขวางเป็นส่วนมาก โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 4. 3 ธุรกิจชุมชนและสถานะชุมชนชาวจีน ในอีกแง่มุมหนึ่ง การที่ไทยเป็นที่รู้จักมากขึ้นในสายตาชาวจีนส่งผลให้สินค้าไทยสามารถ ส่งออกและทากาไรได้สูงมากในตลาดของประเทศจีน สินค้าดังกล่าว ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ลดน้าหนัก เช่น ยาของโรงพยาบาลยันฮี เครื่องสาอาง เช่น Mistine, Beauty Buffet, Snail White และอาหาร เช่น บะหมี่กึ่งสาเร็จรูปมาม่ารสต้มยากุ้ง เป็นต้น โดยสินค้าที่ขายดีที่สุดสามารถสร้างรายได้สุทธิได้ มากกว่า 4 ล้านหยวนต่อเดือน ซึ่งบริษัทที่ทาหน้าที่จัดส่งสินค้าเหล่านี้ไปยังจีนมีจานวนมากกว่า 200 บริษัท ส่วนใหญ่ตั้งอยู่บริเวณซอยประชาราษฎร์บาเพ็ญในเขตห้วยขวาง โดยมีจุดรับซื้อสินค้า กระจายอยู่ 25 จุด นอกจากนี้ การพัฒนาด้านการค้าดังกล่าวยังทาให้เกิดการยกระดับอุตสาหกรรม การขนส่งอย่างรวดเร็ว โดยปัจจุบันมีบริษัทโลจิสติกส์ทั้งหมด 7 แห่ง โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต อิทธิพลของชุมชนชาวจีนที่มีต่อสังคมไทย การเกิดขึ้นของชุมชนชาวจีนในเขตห้วยขวางซึ่งมีแนวโน้มจะขยายตัวอย่างต่อเนื่องได้สร้าง ทั้งประโยชน์และผลกระทบอย่างมีนัยยะสาคัญ โดยผลดีที่ไทยได้รับจากชุมชนชาวจีนและการ หลั่งไหลเข้ามาของนักเที่ยวจีน ประการแรกคือ การส่งเสริมและเพิ่มระดับการบริโภคและการพัฒนา เศรษฐกิจของไทยและภูมิภาค เนื่องจากจีนมีตลาดผู้บริโภคขนาดใหญ่และชาวจีนในปัจจุบันมีกาลัง ซื้อเพิ่มขึ้นประกอบกับสถานที่ท่องเที่ยวและสินค้าไทยได้รับความนิยมอย่างมากในหมู่ชาวจีน จึงทา ให้ไทยได้ประโยชน์จากธุรกิจการท่องเที่ยวและการส่งออกสินค้าไปยังจีนเป็นอย่างมาก ประการที่ สอง คือ การส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ซึ่งเห็นได้ชัดเจนจากเอกลักษณ์ของชุมชน ห้วยขวางที่มีการผสมผสานความเป็นไทยและจีนไว้อย่างลงตัว อย่างไรก็ตาม การเกิดขึ้นของชุมชนชาวจีนก็ได้สร้างผลกระทบในหลายด้าน ประการแรกคือ การหลั่งไหลเข้ามาของชาวจีนอย่างไม่มีขีดจากัดอาจนามาซึ่งปัญหาอาชญากรรมในชุมชน เช่น การ ลักขโมย ปัญหายาเสพติด เป็นต้น ผลเสียอีกประการหนึ่ง คือลักษณะนิสัยและบุคลิกที่ไม่พึงประสงค์ ของชาวจีนบางกลุ่มอาจสร้างความราคาญให้กับผู้อื่นได้ นอกจากนี้ การที่มีสินค้าไทยส่งออกไปขาย ในจีนและได้รับความนิยมมากอาจนาไปสู่โอกาสเสี่ยงที่สินค้าเหล่านั้นจะถูกลอกเลียนแบบโดยพ่อค้า จีน ซึ่งจะส่งผลให้สินค้าไทยเสียชื่อเสียงและขาดการยอมรับในระยะยาว แนวโน้มการปรับตัวเพื่อพัฒนาสู่ความเป็น “ไชน่าทาวน์ใหม่” การก่อร่างและขยายตัวของชุมชนชาวจีนในเขตห้วยขวางและการเข้ามาของชาวจีนจานวน มากในประเทศไทยได้สร้างทั้งโอกาสและความเสี่ยงในหลายประการโดยเฉพาะปัญหาความไม่ กลมกลืนทางสังคม ดังนั้นในการสร้างไชน่าทาวน์ใหม่ รัฐบาลควรให้ความสาคัญกับการส่งเสริมความ เข้าใจในเรื่องวัฒนธรรมในพื้นที่สาธารณะระหว่างชาวไทยและชาวจีนให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบต่อ ความเป็นอยู่ของประชาชน นอกจากนี้ ในด้านการส่งเสริมความเข้มแข็งของธุรกิจชุมชนและเสริมข้อ ได้เปรียบของสินค้าไทย ควรมีการปรับเปลี่ยนวิธีการค้าขายให้มีประสิทธิภาพ เช่น การส่งเสริม ยุทธศาสตร์การค้าออนไลน์ เป็นต้น
  • 5. 4 ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยรังสิต อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความ: นายพิพัฒพงศ์ ชูประสิทธิ์ เรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ ปีที่พิมพ์: เมษายน 2558 ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ คุณสมปอง สงวนบรรพ์ ศ.ดร.สมบูรณ์ สุขสาราญ รศ.ดร.สมศักดิ์แต้มบุญเลิศชัย รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ อ.ทนงศักดิ์วิกุล ผศ.ดร.ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ดร.พนา สถิตศาสตร์ อ.ศิวพล ละอองสกุล อ.ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ รศ.สายฝน สุเอียนทรเมธี ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์ ดร.วุฒิพล วุฒิวรพงษ์ ดร.สินาด ตรีวรรณไชย