SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
Baixar para ler offline
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของ
จีนและบทเรียน
เค้าโครงการนาเสนอในการเสวนาของโครงการคลังปัญญา เรื่อง ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่จีนได้รับจาก
การปฏิรูปด้านเศรษฐกิจและการบริหารของภาครัฐบาล
วันที่ 28 มกราคม 2558
สมศักดิ์ แต้มบุญเลิศชัย
การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจจีนหลังการปฏิรูปทางเศรษฐกิจ
1. จากประเทศที่ยากจนและล้านหลัง กลายเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลก
 GDP ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกและมีแนวโน้มในการแซงหน้าสหรัฐอเมริกาในอีก 10 ปีข้างหน้า
 ถ้าวัดตามอานาจซื้อ (PPP) ถือได้ว่าประเทศจีนมีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดในโลกแล้ว
 ราบได้เฉลี่ยของประชาชนจีนสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้ประชาชนหลายร้อยล้านคนหลุดพ้นจากภาวะยากจน
คริสตศักราช เปอร์เซ็นต์ PPP ของจีนเมื่อเทียบกับของโลก
1979 < 1%
2014 16.5
คริสตศักราช รายได้เฉลี่ยของประชาชน (ดอลลาร์สหรัฐ)
จีน ไทย
1980 193 683
2013 6,959 5,676
*คิดตามราคาปัจจุบัน
การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจจีนหลังการปฏิรูปทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
2. โครงสร้างทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก
 สัดส่วนภาคการเกษตรลดลงไปมาก
 สัดส่วนอุตสาหกรรมและบริการเพิ่มขึ้น ทั้งในการผลิตและการส่งออก
 ปริมาณการค้าต่างประเทศเพิ่มชี้นอย่างรวดเร็ว
 ในปัจจุบันจีนมีมูลค่าการค้ามากที่สุดในโลก
 การลงทุนต่างประเทศเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งการลงทุนขาเข้าและขาออก
 เอกชนมีความสาคัญในกิจกรรมทางเศรษฐกิจภาคต่างๆมากขึ้น
 มีทุนสารองระหว่างประเทศประมาณ 4 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
 จากสังคมเกษตรสู่สังคมอุตสาหกรรม จากสังคมชนบทสู่สังคมเมือง จากเศรษฐกิจแบบปิดสู่เศรษฐกิจแบบเปิด
กว้าง ประชาชนมีสินค้าและบริการในการบริโภคที่หลากหลายมากขึ้น
คริสตศักราช 1979 2013
𝒙 + 𝒎
𝑮𝑫𝑷
< 10 % 45 %
ผลกระทบของการผงาดขึ้นของจีนต่อเศรษฐกิจโลก
 การเปลี่ยนแปลงดุลอานาจของเศรษฐกิจโลก
 การค้า การลงทุน และสภาพการแข่งขันระหว่างประเทศ
 การเคลื่อนย้ายเงินทุนในตลาดโลก
 ราคาสินค้าโภคภัณฑ์
 แนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประสบการณ์การปฏิรูปทางเศรษฐกิจและการเปิดประเทศ
 ภาพรวมเศรษฐกิจจีนก่อนการปฏิรูป
 การรวมประเทศเป็นปึกแผ่น การปราบปรามกลุ่มนายทุนและผู้ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาล
 การปฏิรูปที่ดิน
 การรวมกลุ่มเป็นคอมมูนประชาชน (people’s commune)
 การก้าวกระโดดไปข้างหน้าที่ยิ่งใหญ่ (great leap forward)
 นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมหนักและผลกระทบ
 การปฏิวัติวัฒนธรรม (cultural revolution)
นโยบายการปฏิรูปและการเปิดประเทศทางเศรษฐกิจเริ่มขึ้นเป็นทางการปลายปี 1978
ประสบการณ์การปฏิรูปทางเศรษฐกิจและการเปิดประเทศ(ต่อ)
 การปฏิรูปในภาคการเกษตร
 ระบบการรับผิดชอบในครัวเรือน (household responsibility system):
จุดเริ่มต้น การแพร่หลาย และผลที่ปรากฏ
 ในปี 1984 มีการใช้ระบบดังกล่าวอย่างแพร่หลาย ระบบคอมมูนจึงถูกยกเลิกไปโดยปริยาย
 ผลกระทบ: การผุดขึ้นของกิจการในชนบท (village and township
enterprises) เกิดความหลากหลายในผลผลิตภาคการเกษตร และผลผลิตทางการเกษตรเพิ่ม
สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
 การปฏิรูปภาคอุตสาหกรรมแบะบริการ
 จุดเริ่มต้นของธุรกิจอุตสาหกรรมและการบริการในเมือง
 การเกิดขึ้นของอุตสาหกรรมโรงงาน
 การส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ
 การปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ
 การเปลี่ยนแปลงในภาคการเงิน
ประสบการณ์การปฏิรูปทางเศรษฐกิจและการเปิดประเทศ(ต่อ)
 การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ
 ค้าขายกับต่างประเทศมากขึ้น
 การลงทุนจากต่างประเทศ
 การเปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษ และการสถาปนา 14 เมืองในแถบชายฝั่งทะเลตะวันออกให้เป็นประตู
ติดต่อซื้อขายลงทุนกับต่างประเทศ
 การเข้าเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลก (WTO) ในปี 2001
 การเปลี่ยนแปลงด้านการเงินระหว่างประเทศ
 การเพิ่มขึ้นของการออกไปลงทุนนอกประเทศ (outward investment)
 การผลักดันเงินหยวนสู่ตลาดโลก
ปัจจัยสาคัญที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตอย่างสูงของจีนหลังปฏิรูป
 การเปลี่ยนแปลงนโยบายที่มุ่งสู่การใช้ระบบตลาด
 การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตทั้งทรัพยากรและแรงงาน
 การขยายตัวในการค้าต่างประเทศ และการใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ
(comparative advantage)
 การเพิ่มขึ้นของการลงทุนภายในประเทศและจากต่างประเทศ
 การขยายตัวของตลาดภายในประเทศ
 การพัฒนาอุตสาหกรรมโดยการอาศัยความได้เปรียบของผู้มาทีหลัง (late-comer’s
advantage)
ลักษณะเด่นของการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน
 เริ่มจากภาคการเกษตรและแผ่ขยายไปสู่ภาคเศรษฐกิจอื่น
 จากการทดลองส่วนย่อยสู่การใช้ในระดับประเทศ
 การขยายการปฏิรูปไปยังพื้นที่ต่างๆทั้งประเทศ
 แนวคิดการปฏิรูปที่ใช้ระบบสองช่องทาง (dual tracks) เทียบกับวิธีบาบัดรักษาด้วยการกระตุ้นที่
รุนแรง (shock therapy)
 แนวคิดที่อยู่เบื้องหลังการเปลี่ยนแปลงในนโยบายจาก “สองบรรดา” สู่ “การแสวงหาสัจจะด้วยการ
พิสูจน์จากการปฏิบัติ”
 การศึกษาประสบการณ์ของประเทศอื่น
 เติ้ง เสี่ยว ผิง
“ไม่ว่าแมวดาหรือแมวขาว ถ้าจับหนูได้ ก็เป็นแมวที่ดี”
“ข้ามแม่น้าโดยการคลาก้อนหิน (ที่อยู่ใต้น้า)”
บทเรียนจากการปฏิรูปเศรษฐกิจของจีน
 ความสาคัญของแนวคิดหรือแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ
 ความสาคัญของการปฏิรูปในภาคการเกษตร
 ผลของความสอดคล้องกันกับแนวคิดความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (comparative
advantage) ในการพัฒนาเศรษฐกิจ
 การเปิดประเทศทางเศรษฐกิจและผลกระทบ
 ความสาคัญของเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
 เมื่อเศรษฐกิจมีการพัฒนาถึงระดับหนึ่งแล้วก็ต้องมีการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงนโยบาย
Resource
Endowments
Factors of
production
Product
Structure
Economic and
Political System
Economic Policy and
Imprementation
Economic
Development
Economic
Structure
and Growth
People’s
Income and
Living
standard
A country’s economic policy should be consistent with its
resource endowments and comparative advantage
ปัญหาของเศรษฐกิจจีนในปัจจุบัน
 ไม่สมดุล ไม่ยังยืน ไม่มีประสิทธิภาพ
 การชะลอตัวของอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
 ความเหลื่อมล้าในการกระจายรายได้
 ปัญหามลภาวะ ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
 ปัญหาคอร์รัปชั่น
 ภาระหนี้ของรัฐบาลท้องถิ่น
 ปัญหาภาคการเงิน รัฐวิสาหกิจ และการจัดสรรทรัพยากรโดยหน่วยงานภาครัฐ
 ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิรูปเศรษฐกิจขั้นต่อไป
 ปัญหาสังคมที่มีความหลากหลายมากขึ้น
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจจีน
ปี คริสตศักราช อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจจีน
1970-1990 เฉลี่ย 9% ต่อปี
1991-2011 เฉลี่ย 10.4% ต่อปี
2012 7.7%
2013 7.7%
2014 7.4% (ต่าสุดในรอบ 24 ปี)
GDP ของจีนอาจชะลอตัวลงกว่านี้ในเวลาข้างหน้า
สาเหตุของการลดลงในการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
 ฐานเศรษฐกิจที่ใหญ่ขึ้น
 การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก และการเปลี่ยนแปลงค่าเงิน ส่งผลกระทบต่อ
การส่งออก
 การสูญเสียความได้เปรียบในการแข่งขันของสินค้าออกบางชนิด
 การแก้ปัญหาในภาคการเงิน อสังหาริมทรัพย์ และการปราบปรามคอร์รัปชั่น ก็
ส่งผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระยะสั้น
เศรษฐศาสตร์ของหลี่เค่อเฉียง(Likonomics)
 ไม่มีนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจขนานใหญ่
 ไม่อัดฉีดสภาพคล่องเพื่อช่วยเหลือสถาบันทางการเงิน
 เน้นปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจต่อไป แต่มีมาตรการช่วยพยุงเศรษฐกิจภาคต่างๆบ้าง เช่น
 ลดหรือยกเว้นภาษีให้กิจการขนาดย่อม
 ลดขั้นตอนหรือกฎระเบียบการส่งออก
 ส่งเสริมความเป็นเมือง (urbanizaiton) และแก้กฎระเบียบเกี่ยวกับสวัสดิการของผู้อพยพมาทางานใน
เมือง
 ส่งเสริมการสร้างถนน ทางรถไฟ และสิ่งสาธารณูปโภคอื่นๆในท้องที่ที่ยังมีความล้าหลังในการพัฒนาเศรษฐกิจ
 ลดอัตราเงินสดสารองของธนาคารพาณิชย์ และลดอัตราดอกเบี้ยหลายละลอกโดยธนาคารกลาง (PBC)
ผู้นาจีน: เศรษฐกิจจีนเข้าสู่ภาวะปกติใหม่ (new normal)
 ไม่เจริญเติบโตแบบก้าวกระโดดเหมือนอดีต (แต่ก็ยังมีอัตราการขยายตัวในระดับสูงปาน
กลางและไม่กระเพื่อมขึ้นลงมาก)
 โครงสร้างเศรษฐกิจมีการปรับปรุงดีขึ้น เช่น ภาคบริการมีสัดส่วนสูงขึ้น รายได้ของ
ประชาชนมีความเหลื่อมล้าน้อยลง ตลาดภายในประเทศมีการขยายตัวในอัตราที่สูงขึ้น
 การขยายตัวทางเศรษฐกิจอาศัยการขับเคลื่อน จากการเพิ่มการลงทุนและการใช้ทรัพยากร
มาเป็นการอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมมากขึ้น
สรุป: 1.อัตราการขยายตัว
2.โครงสร้างเศรษฐกิจ
3.ปัจจัยที่เป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
มีการเปลี่ยนแปลง
เศรษฐกิจจะมุ่งไปทางใด?
1. กลับไปสู่นโยบายที่ภาครัฐมีอานาจควบคุมมากขึ้น
2. ดาเนินการปฏิรูปทางเศรษฐกิจต่อไป แต่ต้องพยายามขจัดปัญหาและข้อบกพร่อง ต้องมี
การปฏิรูปในเชิงลึก
มิฉะนั้น สังคมจีนจะกลายเป็นสังคมทุนนิยมสามานย์ ที่เต็มไปด้วยอภิสิทธิ์ชน
ปัญหา: การปฏิรูปเศรษฐกิจย่างเข้าสู่เขต “น้าลึก” มีความลาบากในการผลักดันไป
ข้างหน้ามากขึ้น ผู้คัดค้านการปฏิรูปเชิงลึกมีทั้งผู้ที่ได้ประโยชน์จากการปฏิรูป ผู้ด้อยโอกาสใน
สังคม และผู้ที่ยังมีแนวคิดหรือศรัทธาในระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
เศรษฐกิจจีนจะเจริญเติบโตได้อีกเพียงใด?
 ความเห็นเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจจีน
เศรษฐกิจจีนมีศักยภาพในการโตได้อีกอย่างน้อย 10-20 ปีข้างหน้า (เข่น
Justin Lin)
เศรษฐกิจจีนจะประสบปัญหามาก อาจถึงขั้นแตกสลาย (crash) (เช่น Paul
Krugman) หรือการเจริญเติบโตจะชะลอลงมากจนถึงระดับ 2-3% ต่อปี
(เช่น Lawrence Summers)
แต่ส่วนใหญ่เห็นพร้องกันว่า เศรษฐกิจจีนจะมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจลดลงไปอีกในอนาคต
(ไม่ใช่ร้อยละ 10 ต่อปี แต่อาจเป็นร้อยละ 6-7)
THANK YOU
Contact information: somsak.tambunlertchai@gmail.com

Mais conteúdo relacionado

Mais de Klangpanya

ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

Mais de Klangpanya (20)

ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 

ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน