SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 85
Baixar para ler offline
• อะตอมมีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า
• ใช้ atomic force microscope(AFM) สร้างภาพพื้นผิวเชิงโครงสร้างระดับ
อะตอม แสดงออกทางจอภาพได้ดังรูป
อะตอม
แบบจาลองอะตอม
คือ มโนภาพทางความคิดที่แสดงให้
เห็นรายละเอียดของโครงสร้างอะตอมที่
สอดคล้องกับ ผลการทดลอง เพื่ออธิบาย
ลักษณะของอะตอมซึ่งมองไม่เห็น และใช้
อธิบายปรากฏการณ์ของอะตอมได้ โดย
แบบจาลองมีวิวัฒนาการจากการศึกษาของ
นักวิทยาศาสตร์หลายท่าน
แบบจาลองอะตอม
1. ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็กๆ หลายอนุภาค เรียกอนุภาคเหล่านี้ว่า “อะตอม”
ซึ่งแบ่งแยกและทาให้สูญหายไม่ได้
2. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน แต่จะมีสมบัติแตกต่างจาก
อะตอมของธาตุอื่น
แบบจาลองอะตอมของดอลตัน
3. สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่าหนึ่งชนิดทาปฏิกิริยาเคมีกัน ใน
อัตราส่วนที่เป็นเลขลงตัวน้อยๆ
แบบจาลองอะตอมของดอลตัน
John Dalton
(1766-1844)
อะตอมมีลักษณะที่เป็นทรงกลมตัน และไม่สามารถแบ่งแยกได้
แบบจาลองอะตอมของดอลตัน
J.J. Thomson ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับการนา
ไฟฟ้า ของแก๊สในหลอดรังสีแคโทด
แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
J.J. Thomson* (1856-1940)
การทดลองของทอมสัน
พบว่าเมื่อลดความดันในหลอดแก้วให้ต่าลงมากๆ จนเกือบเป็นสุญญากาศ
จะมีจุดสว่างเกิดขึ้นตรงบริเวณศูนย์กลางของฉากเรืองแสง
การทดลองของทอมสัน
รังสีแคโทดประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบ
และมีอัตราส่วนประจุต่อมวลเท่ากับ 1.76 x 108 คูลอมบ์ต่อกรัม
การทดลองของทอมสัน
การทดลองของทอมสัน
จากผลการทดลองทอมสันสรุปว่า....
อะตอมทุกชนิดมีอนุภาคที่มีประจุลบ
เป็นองค์ประกอบ เรียกอนุภาคนี้ว่า
“อิเล็กตรอน”
การทดลองของโกลด์ชไตน์
โกลด์ชไตน์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน พบอนุภาคที่มีประจุบวก เรียก
อนุภาคบวกที่เกิดจากแก๊สไฮโดรเจนว่า“โปรตอน”
อะตอมเป็นรูปทรงกลมประกอบด้วยเนื้ออะตอมที่มีประจุเป็นบวก
และมีอิเล็กตรอนกระจายอยู่ทั่วไปอย่างสม่าเสมอ อะตอมในสภาพที่เป็นกลาง
ทางไฟฟ้าจะมีประจุบวกเท่ากับประจุลบเสมอ
แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
การทดลองของมิลลิแกน(นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน)
เป็นการทดลองเพื่อหาประจุที่มีอยู่ในอิเล็กตรอนแต่ละตัว
พบว่ามี ประจุเท่ากับ 1.60x10-19คูลอมบ์
คานวณหามวลได้เท่ากับ 9.11x10-28 กรัม
การทดลองของมิลลิแกน
การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด
Ernest Rutherford (1871-1937)
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ
ทาการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่น
ทองคา บางๆ ที่มีความหนาเพียง 0.0004 mm
เรียกการทดลองนี้ว่า
การกระเจิงรังสีแอลฟาของรัทเทอร์ฟอร์ด
(Alpha Scattering Experiment)
การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด
ผลการทดลองที่ควรจะเป็นและผลการทดลองจริง
การที่อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่วิ่งผ่านแผ่นทองคาเป็นเส้นตรงแสดงว่า
อะตอมไม่ใช่ของแข็งทึบตันแต่ภายในอะตอมมีที่ว่างอยู่มาก
อนุภาคแอลฟาบางอนุภาคที่หักเหออกจากทางเดิมเพราะภายในอะตอมมี
อนุภาคที่มีมวลมากและมีประจุเป็นบวกสูง มีขนาดเล็ก
ผลการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด
แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
“อะตอมมีประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีขนาดเล็กมากอยู่ตรงกลางและมีประจุ
ไฟฟ้าเป็นบวก โดยมีอิเล็กตรอน วิ่งอยู่รอบๆ”
อนุภาคมูลฐานของอะตอม
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ คือ
สัญลักษณ์ของธาตุที่เขียนแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ
อนุภาคมูลฐานของอะตอม
เลขมวล (A) คือ มวลของนิวเคลียส ผลรวมของจานวนโปรตอน กับ นิวตรอน
เลขอะตอม (Z) แสดงจานวนโปรตอนของธาตุ ซึ่งไม่ซ้ากับธาตุอื่น
เลขอะตอม = โปรตอน = อิเล็กตรอน
เลขอะตอม(Z) ตัวเลขแสดงจานวน p
เลขมวล(A) ตัวเลขแสดงผลรวมของ p กับ n
อะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้า จานวน p = e
จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ที่กาหนดให้
เลขอะตอม(Z) = p = 3
เลขมวล(A) = p + n = 7
p + n = 7
3 + n = 7
ดังนั้น n = 4
เนื่องจาก p = e ดังนั้น e = 3
นั่นคือ Li มี p = e = 3 และ n = 4
7
Li
3
เลขมวล(A)
เลขอะตอม(Z)
A
X
Z
(p+n)
X
p
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
ไอโซโทป ธาตุชนิดเดียวกัน เลขอะตอมเหมือนกัน เลขมวลต่างกัน
ไอโซโทน ธาตุต่างชนิดกัน เลขอะตอมต่างกัน มีจานวนนิวตรอนเท่ากัน
ไอโซบาร์ ธาตุต่างชนิดกัน เลขอะตอมต่างกัน มีเลขมวลเท่ากัน
12
6C , 13
6C , 14
6C
18
8O, 19
9F
30
15P , 30
14Si
แบบจาลองอะตอมของโบร์
Niels Bohr
(1855 - 1962)
นักวิทยาศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ศึกษา
การเกิดสเปกตรัมของธาตุ
พลังงานไอออไนเซชัน
คลื่น (Wave)
* ความยาวคลื่น(λ) ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ มีหน่วยเป็น m
* ความถี่ของคลื่น(ν) จานวนคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านจุดที่กาหนดในเวลา 1 s
มีหน่วย รอบ/วินาที หรือ Hz
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบด้วย
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กที่มีทิศทางตั้ง
ฉากกัน
แสง หมายถึง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่
ประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า
ตั้งฉากซึ่งกันและกันเคลื่อนที่ไปพร้อมกัน โดย
ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นตั้งฉากกับทิศทาง
ของสนามทั้งสอง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ จึงสามารถเคลื่อนที่ใน
สุญญากาศได้สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาว
คลื่นต่างๆ กัน และมีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง มีทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
แสงที่ประสาทตาของมนุษย์สามารถรับรู้ได้ เรียกว่า แสงที่มองเห็นได้
(visible light) มีความยาวคลื่นในช่วง 400-700 nm ประกอบด้วยแสงสีต่างๆ กัน
แต่ประสาทตาของมนุษย์ไม่สามารถแยกแสงที่มองเห็นจากดวงอาทิตย์ออกเป็นสี
ต่างๆ ได้ ทาให้มองเห็น เป็นสีรวมกัน เรียกว่า แสงขาว (white light)
ช่วงความยาวคลื่นของแถบสีต่างๆ ในสเปกตรัมของแสงขาว
พลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
จงคานวณพลังงานและความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มี ความยาวคลื่น 500 nm
การคานวณพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน
สเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน
สเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน
แบบจาลองอะตอมของโบร์
Niels Bohr
(1855 - 1962)
“อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็นวง
คล้ายกับวงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์
แต่ละวงจะมีระดับพลังงานเฉพาะตัว ระดับ
พลังงานของอิเล็กตรอนที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุด
จะมีพลังงานต่่าที่สุด เรียกว่า ระดับ K และระดับ
พลังงานที่อยู่ถัดออกมาเรียกเป็น L M N … หรือ
ใช้สัญลักษณ์ n แทนระดับพลังงาน 1 2 3 ...
ตามล่าดับ”
อะตอมประกอบด้วย โปรตอน และนิวตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียส มีอิเล็กตรอน
วิ่งอยู่ในวงโคจรเป็นชั้นๆ ตามระดับพลังงานคล้ายกับวงโคจรของดาวเคราะห์
รอบดวงอาทิตย์”
แบบจาลองอะตอมของโบร์
Erwin Shroedinger (1887 - 1961)
แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียส และรอบๆนิวเคลียสจะมีกลุ่มหมอกของ
อิเล็กตรอน บริเวณที่กลุ่มหมอกทึบแสดงว่ามีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนได้
มากกว่าบริเวณที่มีกลุ่มหมอกจาง
สรุปเกี่ยวกับแบบจาลองอะตอม
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม (ออร์บิทัล)
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม (ต่อ)
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม (ต่อ)
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม (ต่อ)
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม (ต่อ)
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม (ต่อ)
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม (ต่อ)
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม (ต่อ)
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม (ต่อ)
วิวัฒนาการของตารางธาตุ
วิวัฒนาการของตารางธาตุ
วิวัฒนาการของตารางธาตุ
วิวัฒนาการของตารางธาตุ
ตารางธาตุในปัจจุบัน
ตารางธาตุในปัจจุบัน
ตารางธาตุในปัจจุบัน
ตารางธาตุในปัจจุบัน
สมบัติธาตุในตารางธาตุ
สมบัติธาตุในตารางธาตุ
สมบัติธาตุในตารางธาตุ
สมบัติธาตุในตารางธาตุ (พลังงานไอออไนเซชัน)
สมบัติธาตุในตารางธาตุ (พลังงานไอออไนเซชัน)
สมบัติธาตุในตารางธาตุ (ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี)
สมบัติธาตุในตารางธาตุ (ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี)
สมบัติธาตุในตารางธาตุ (สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน)
สมบัติธาตุในตารางธาตุ (สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน)
ปี ค.ศ. 1898 มารี กูรี ค้นพบและตั้งชื่อธาตุพอโลเนียม (Polonium) ตามชื่อบ้านเกิด
(โปแลนด์) หลังจากการสกัดเอายูเรเนียมออกจากแร่ Pitchblende หมดแล้ว แต่ยังมีการ
แผ่รังสีอยู่ สรุป ได้ว่ามีธาตุอื่นที่แผ่รังสีได้อีกแฝงอยู่ในแร่ Pitchblende และมารี กูรีตั้งชื่อ
ธาตุนี้ว่าเรเดียม(Radium) เมื่อปี ค.ศ. 1898 และในที่สุดกูรีก็สามารถสกัดธาตุอีกชนิดหนึ่ง
ออกมาได้จริง ๆ จานวน 0.1 กรัม ในปี ค.ศ. 1902
กูรีได้ตั้งชื่อเรียกธาตุที่แผ่รังสีได้ว่า ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element) และเรียกการ
แผ่รังสีนี้ว่า กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity)
ปรากฎการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่อง เรียกว่า กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity)
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุที่สามารถแผ่รังสีได้ เรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
ธาตุกัมมันตรังสีส่วนใหญ่มีเลขอะตอมมากกว่า 83 เช่น U-238
ธาตุกัมมันตรังสีมีทั้งที่พบในธรรมชาติและจากการสังเคราะห์
การเกิดกัมมันตภาพรังสี
การที่ธาตุสามารถแผ่รังสีออกมาได้ตลอดเวลา เนื่องจากธาตุนั้นมีนิวเคลียสที่มีพลังงานสูง และไม่เสถียร จึง
ปล่อยพลังงานออกมา ในรูปของอนุภาคหรือรังสีบางชนิด และธาตุเหล่านั้นอาจเปลี่ยนเป็นธาตุใหม่
การเกิดกัมมันตภาพรังสี
ไอโซโทปของนิวเคลียสที่มีอัตราส่วนระหว่างจานวนนิวตรอนต่อโปรตอน(n/p)
ไม่เหมาะสม คือมีจานวนนิวตรอนแตกต่างจากจานวนโปรตอนมากเกินไปจะไม่เสถียร จึง
เกิดการเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียส เกิดเป็นธาตุใหม่ที่เสถียรกว่าโดยปลดปล่อยรังสีออกมา
การแผ่รังสีแอลฟา
จะเกิดกับนิวเคลียสที่มีเลขอะตอมมากกว่า 82
เมื่อปล่อย α ออกไปแล้วกลายเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ที่
เสถียรขึ้น ทาให้เลขอะตอมลดลง 2 และเลขมวลลดลง 4
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
การแผ่รังสีบีตา
จะเกิดกับนิวเคลียสที่มี n มากกว่า p โดย n จะ
เปลี่ยนไปเป็น p และ e
เมื่อปล่อย β ออกไปแล้วกลายเป็นนิวเคลียสของธาตุ
ใหม่ที่มีเลขอะตอม เพิ่มขึ้น 1 และเลขมวลคงเดิม
การแผ่รังสีแกมมา
จะเกิดกับไอโซโทปที่มีพลังงานสูงมาก หรือไอโซโทปที่
สลายตัวให้ α หรือ β แต่นิวเคลียสยังมีพลังงานที่สูง
อยู่ จึงปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปรังสีแกมมา
การแผ่รังสีแกมมาไม่มีผลให้เลขอะตอมหรือเลขมวล
เปลี่ยนแปลง
ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี
ครึ่งชีวิต (Half life,t1/2) หมายถึง ระยะเวลาที่นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีสลายตัว
จนเหลือ ครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม
ตัวอย่างเช่น Na-24 มีครึ่งชีวิต 15 ชั่วโมง ถ้าเริ่มต้นมี Na-24 10 g Na-24 จะสลายตัวไปเรื่อยๆ
เมื่อครบ 15 ชั่วโมงจะมี Na-24 เหลืออยู่ 5 g เมื่อเวลาผ่านไปอีก 15 ชั่วโมงจะมี Na-24 เหลืออยู่
2.5 g นั่นคือทุกๆ 15 ชั่วโมง Na-24 จะสลายตัวไปเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม
1. การคานวณไอโซโทป
2. การคานวณระยะเวลา
3. การคานวณครึ่งชีวิต
ปฎิกิริยานิวเคลียร์เป็นปฏิกิริยาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียสของ
อะตอม เมื่อจานวนโปรตอนและ/หรือนิวตรอนเปลี่ยนแปลงจึงทาให้เกิดไอโซโทป
ใหม่ หรือธาตุใหม่ขึ้น และให้พลังงานมหาศาล เรียกพลังงานที่ได้จากปฏิกิริยา
นิวเคลียร์ว่า พลังงานนิวเคลียร์
ปฎิกิริยานิวเคลียร์แบ่งเป็น 2 ประเภท
1. ปฎิกิริยาฟิชชัน
2. ปฎิกิริยาฟิวชัน
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน
เป็นกระบวนการที่นิวเคลียสของ
ธาตุหนักแตกออกมาเป็นไอโซโทปของ
ธาตุที่เบากว่า เกิดการคายพลังงาน
ออกมาจานวนมาก และได้ไอโซโทป
ของธาตุกัมมัมตรังสีหลายชนิด และได้
นิวตรอนด้วย โดยนิวตรอนที่เกิดใหม่
สามารถชนกับนิวเคลียสอื่นๆ ทาให้
เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ต่อไปเรื่อยๆ
➢ รูปแบบของปฏิกิริยาเป็นการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีขนาดใหญ่ ใช้พลังงาน
เพียงเล็กน้อย ไม่สามารถเกิดเองตามธรรรมชาติ
➢พลังงานที่ได้สูงกว่าปฏิกิริยาเคมีประมาณ 1 ล้านเท่า
➢การควบคุมปฏิกิริยา สามารถควบคุมได้โดยหาสารมาดูดซับนิวตรอน
เพื่อไม่ให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน
เป็นกระบวนการที่นิวเคลียส
ของธาตุเบา 2 ชนิดหลอมรวมกัน
เกิดเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ที่มี
มวลสูงกว่าเดิม คายพลังงาน
ออกมาจานวนมาก เพราะต้อง
เอาชนะแรงระหว่างนิวเคลียสที่จะ
เข้าหลอมรวมกัน
➢รูปแบบการเกิดปฏิกิริยาการรวมตัวของธาตุกัมมันตรังสีขนาดเล็กๆ ใช้
พลังงานมากเพื่อเอาชนะนิวเคลียสที่จะเข้ารวมกัน สามารถเกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติได้ (พบบนดวงอาทิตย์)
➢พลังงานที่ได้สูงกว่าปฏิกิริยาเคมีประมาณ 3-4 ล้านเท่า
➢การควบคุมปฏิกิริยา ไม่สามารถควบคุมได้ เนื่องจากได้พลังงานที่สูง
มากทาให้อุณหภูมิที่เกิดขึ้นสูงมากจนไม่มีวัตถุใดทนได้
ผลของการตกค้างของรังสี
เทคโนโลยีเกี่ยวกับกัมมันตรังสี
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆwiriya kosit
 
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)Anawat Supappornchai
 

Mais procurados (20)

ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
 

Semelhante a บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf

บทที่ 5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุบทที่ 5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุYai Wanichakorn
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้องKru_sawang
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนkrupatcharee
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2GanKotchawet
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมAekkarin Inta
 
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047Chania Asmodeus
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิกnn ning
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
สาระน่ารู้เกี่ยวกับแม่เหล็ก
สาระน่ารู้เกี่ยวกับแม่เหล็กสาระน่ารู้เกี่ยวกับแม่เหล็ก
สาระน่ารู้เกี่ยวกับแม่เหล็กPattra SK
 

Semelhante a บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf (20)

บทที่ 5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุบทที่ 5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้อง
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
 
Lesson15
Lesson15Lesson15
Lesson15
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 
Electron microscope
Electron microscopeElectron microscope
Electron microscope
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
สาระน่ารู้เกี่ยวกับแม่เหล็ก
สาระน่ารู้เกี่ยวกับแม่เหล็กสาระน่ารู้เกี่ยวกับแม่เหล็ก
สาระน่ารู้เกี่ยวกับแม่เหล็ก
 
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
 
อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1
 

Mais de Katewaree Yosyingyong

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfKatewaree Yosyingyong
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfKatewaree Yosyingyong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.Katewaree Yosyingyong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำKatewaree Yosyingyong
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศKatewaree Yosyingyong
 

Mais de Katewaree Yosyingyong (8)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
 

บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf