SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 22
3D Projection
Mapping
คือ เทคโนโลยีการนำาเสนอในรูปแบบของสื่อ
มัลติมีเดียทีได้รับความสนใจในขณะนี้ ไปดูกันว่า
             ่
                มันเป็นยังไง. . . . .



                       ตัวอย่าง 3 D projection Mapping
ในวงการโฆษณา, อีเวนท์ไทย กำาลังให้ความสนใจ
3D projection Mapping (หรือ 3d video mapping) ซึ่งก็
คือการฉายภาพจากโปรเจคเตอร์(อาจจะใช้ตวเดียวหรือหลาย
                                           ั
ตัว) ลงบนวัตถุ ซึ่งอาจจะเป็นตัวสินค้าเอง, เสาหรือผนัง ทำาให้
วัตถุดเหมือนมีชีวิต มีการเคลื่อนไหว เป็นการเพิ่มสีสันให้กบตัว
       ู                                                 ั
สินค้า ความจริง 3D Projection Mapping ในต่างประเทศนั้นมี
มาค่อนข้างนานแล้วครับ(ประมาณ 4-5ปี) ในบ้านเราก็เพิ่งจะ
เริ่มๆ
หลักการของเทคโนโลยี 3D Projection Mapping

หลักการคร่าวๆ สำาหรับ 3D Projection Mapping ก็คอ     ื
การสร้างวัตถุในโปรแกรม 3 มิตให้มีขนาด มิติ กว้างยาว
                                  ิ
เท่ากับวัตถุจริง จากนั้นก็ใส่สีสัน ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ
ลงบนวัตถุ 3 มิติ แล้วจึง render ภาพ จากมุมมองของ
Projector เมื่อได้ภาพมาแล้ว ก็ Project กับไปบนวัตถุ
จริง สิ่งที่ยากที่สุดก็คือ การทำาให้ภาพจากโปรแกรม 3
มิติ พอดีกับวัตถุจริงครับ ต้องมีการคิด Lens distortion
รวมถึง Perspective ต่างๆด้วย
การทำา Projection Mapping ประกอบไปด้วย
Creative Producer คือ ผูกำากับการแสดง ต้องมีไอ
                            ้
เดีย สร้างสรรค์ ที่จะเอา content ของงาน มารวมกับ
ฉาก หรือที่จะ mapping ได้น่าสนใจทางทีม
Computer Graphics Artist ทีมนี้ จะมีหน้าที่สร้าง
ภาพ Graphics สร้างภาพอย่างเดียว ทำางานร่วมกับ
ทาง Creative เพื่อวางแผน การสร้างภาพ และ ภาพ
effect ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นกับตัวอาคาร
ทางทีม Visual Engineering หาขนาดของเครื่องฉายภาพ
 Projector ความสว่าง ทีจะใช้ และหาตำาแหน่งทีติดตั้ง และ แก้ไข
                           ่                      ่
จัดการปัญหาทางเทคนิคของภาพ การบิดเบี้ยวของภาพจากการติด
ตั้ง Projector หรือที่เรียกว่า keystone หรือ การฉายภาพไปยัง วัตถุ
 ผิวโค้ง แล้วเกิด Distortion ซึ่งบางที่ ปัญหาเกี่ยวกับภาพ ก็อาจจะ
ไปแก้ไขทาง CG- Artist ได้ ให้เขา render ภาพทีแก้ไข distortion
                                                    ่
                                 มาเลย
         ทีมทาง Hardware Technique จะดูแล ระบบจัดการ media
คือ ทางทีมนี้จะเป็นคนดูแล ลำาดับภาพวีดโอ ในอาคารทีมีขนาดใหญ่
                                          ี             ่
    ระบบมันจะใหญ่ตามไป จะต้องใช้ projector และ computer

          ตัวอย่าง 3D projection Mapping
3D Projection mapping กับการโฆษณา


3D Projection mapping คือชื่อของเทคโนโลยีใหม่ที่มี
ประสิทธิภาพสูงในการดึงดูดและสร้างความสนใจของกลุมเป้า
                                                   ่
หมาย ซึ่งกำาลังเป็นกระแสนิยมในต่างประเทศเป็นอย่างมาก แก่น
หลักของเทคโนโลยีนก็คือการฉายภาพวิดีโออนิเมชั่นแบบ 3 มิติ
                     ี้
ลงบนพื้นผิวขนาดใหญ่ทเป็นแลนด์มารค์ของสถานที่นนๆ (
                        ี่                      ั้
แน่นอนว่าคนต้องพลุกพล่านอยู่ตลอดเวลา) เสริมเพิ่มด้วยซา
วนด์เอฟเฟคและดนตรีประกอบที่นาตืนตาตืนใจ
                               ่ ่     ่


                     ตัวอย่าง 3D projection Mapping
“Projection mapping คือเทคโนโลยีการประชาสัมพันธ์และ
โฆษณาที่หากทำาได้อย่างดีเยี่ยมแล้ว มันจะส่งผลดีให้กบแบ
                                                    ั
รนด์นั้นๆ ถึงสองเท่าตัว เพราะนอกจากคุณจะได้อีเว้นท์ที่นาตืน
                                                        ่ ่
ตาตื่นใจสำาหรับกลุมเป้าหมายในสถานที่นนๆ แล้ว วิดโอที่
                   ่                   ั้         ี
บันทึกการแสดงนันเอาไว้ยังสามารถนำาไปโฆษณาต่อเนื่องได้
                 ้
อีกต่างหาก เพียงแต่การสร้างอีเว้นท์แบบนีจะต้องออกแบบให้
                                          ้
มันง่ายต่อการบันทึกวิดโอ ต้องไม่มีรายละเอียดยิบย่อยทีดูยาก
                       ี                              ่
และความยาวของมันจะต้องพอเหมาะสำาหรับการอัพโหลดขึ้น
บนอินเตอร์เน็ตด้วย”
โปรเจคเตอร์ ได้ความละเอียด
              HD 1920×1080 ละเอียด
              และ แสงสว่างถึง 20000
              ANSI




รูปหน้าตาของเจ้า Media server โดนจอ
       LCD กับ Macbook ทับอยู่
ภาพที่ผานการประมวลผลเสร็จเรียบร้อยอยู่บน
        ่
ฉากพาโนราม่า
ข้อดี                         ข้อเสีย

เป็นสิ่งแปลกใหม่            มีต้นทุนสูง

เครื่องมือและอุปกรณ์        หลอดฉายอายุการใช้งานตำ่า
สามารถจัดหาได้งาย่

มีการใช้เอฟเฟคต่างๆทำาให้ชิ้น การเตรียมฉากให้พอดีในการ
การนำาเสนอน่าสนใจขึ้น         MAPของโปรเจคเตอร์
ตัวอย่างขั้นตอนของการทำา Mapping ใน
เบื้องต้น




UV Mapping
หมายถึงการสร้าง map เพือโยงแกน 2 มิติ (แกน U และ V ) เข้าหาข้อมูล 3 มิติ
                          ่
(แกน X Y และ Z) ตามระบบพิกัดคาร์ทีเซียน UV อาจถูกสร้างจากการใช้อลกอ    ั
ริธึมคำานวณโดยซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ หรืออาจทำาขึนโดยคนก็ได้ แบบจำาลอง 3
                                                  ้
มิติหนึ่งๆอาจมี UV ได้หลายรูปแบบขึ้นกับความต้องการ โดยทั่วไปมักใช้ในการจัด
วางภาพ 2 มิติลงบนพื้นผิว 3 มิติ เช่นการทำา texture หรือในบางกรณีบาง UV ก็
มีหน้าที่ใช้ถ่ายโอนข้อมูลจากแบบจำาลองสามมิติไปยังรูป 2 มิติก็ได้ เช่นการใช้วิธี
ระบายสีโดยตรงลงบนแบบจำาลอง 3 มิติ
UV Mapping
Texture Mapping
หมายถึงการใช้ UV map หรือการ
หาความสัมพันธ์อื่น ๆ เพื่อคำานวณ
ว่าตำาแหน่งบน face (3 มิติ) ใด ๆ
ควรจะไปอ้างอิงค่าสีจากจุดไหน
บนแผ่น Texture ซึงเป็นภาพ 2
                       ่
มิติ ทั้งนี้ค่าสีบน Texture อาจจะ
เป็นค่าสีจริงที่จะนำาไปเรนเดอร์
หรืออาจเป็นค่าเพือประโยชน์อื่นที่
                     ่
ไม่ใช่คาสี เช่นอาจเป็นค่าที่ใช้ใน
         ่
การเฉลียนำ้าหนักสีระหว่าง
           ่
Texture สี 2 Texture ค่า
Normal หรือค่าความสูงของพื้น
ผิวเช่นในการทำา Displacement
Map ก็ได้
Displacement mapping
Displacement mapping เป็นการใช้ heightmap ปรับ
ความสูงของพื้นผิวแบบจำาลองสามมิติ เช่นใช้คาความ
                                            ่
สว่างบน heightmap เคลื่อนตำาแหน่ง vertex ของ
แบบจำาลองไปตามแกน normal ของ vertex ถ้าสว่าง
มากก็เคลื่อนมาก สว่างน้อยก็เคลื่อนน้อย เป็นต้น โดย
heightmap ที่ใช้อาจอยู่ในรูปแบบของเทกซ์เจอร์ และ
อาจอ้างอิงตำาแหน่งโดยใช้กระบวนการ UV mapping
ประโยชน์ประการหนึ่งของ displace mapping คือใช้
สร้างรายละเอียดพื้นผิว ในลักษณะใกล้เคียงกับ
normal mapping หรือ bump mapping หรืออาจใช้
ในการเปลี่ยนรูปทรงของแบบจำาลองเพื่อให้ได้รูปร่างที่
ต้องการก็ได้
การใช้งาน displacement mapping มักจำากัดอยู่ใน
การเรนเดอร์ภาพนิ่งและวีดิทัศน์ มากกว่าการใช้งาน
ในแบบ real-time เช่นในเกมคอมพิวเตอร์สามมิติเมื่อ
เทียบกับเทคนิคอื่น ๆ เช่น bump หรือ normal
mapping เพราะ displacement mapping จำาเป็น
ต้องมีโพลีกอนอยู่ จริง ต่างจากวิธีขางต้นที่ใช้การ
                                   ้
เปลี่ยนแปลงการสะท้อนแสงของรายละเอียดพื้นผิว
(texture) ดังนั้นหากต้องการใช้ในการเพิ่มราย
ละเอียดพื้นผิวก็จำาเป็นต้องสร้างโพลีกอ นเพิ่ม เช่น
การใช้ micropolygon หรือการ subdivide ทำาให้ใช้
เวลาในการประมวลผลมากขึ้นแต่มีขอดีคอให้ความ
                                     ้  ื
สมจริง เพราะโพลีกอนที่ถกสร้างขึ้นใหม่สามารถ
                            ู
ทำาให้เกิดเงาจริงขึ้น (self-shadow)
Displacement mapping
Normal Mapping
Normal Mapping เป็นการใช้ texture กำาหนดค่านอร์มอลบน
แต่ละจุดบนโพลีกอนชิ้นหนึงๆ โดยจะทำาให้การสะท้อนแสงตรงจุด
                             ่
นันเปลี่ยนไป ซึ่งจากหลักการนีทำาให้เราสามารถสร้างภาพลวงตา
  ้                              ้
เพื่อช่วยให้โมเดลสามมิติที่มีความละเอียดตำ่าดูเหมือนมีราย
ละเอียดมากขึ้นทังที่มีจำานวนโพลีกอนเท่าเดิม
                 ้
การสร้าง normal map อาจทำาได้โดยการใช้แบบจำาลองสองชุด
ชุดแรกเป็นโมเดลละเอียดสูงทีอาจสร้างขึ้นโดยซอฟต์แวร์สำาหรับ
                               ่
ทำา digital sculpt เพื่อให้รายละเอียดทีสมจริง ชุดที่สองเป็น
                                       ่
โมเดลที่ถูกลดความละเอียดจากโมเดลแรก จนมีความละเอียดตำ่า
เหมาะสมกับงานโดยเฉพาะงานที่ตองการความเร็วในการประมวล
                                     ้
ผลสูง เช่นในเกมคอมพิวเตอร์ โมเดลชุดนี้อาจเป็นโครงโมเดล
ก่อนจะนำาไปเพิ่มรายละเอียดให้กลายเป็นโมเดลแรกก็ได้ ขึ้นกับ
ขั้นตอนการสร้างโมเดล เมื่อได้โมเดลทั้งสองชุดแล้ว จึงคลี่ UV
map จากโมเดลชุดทีสองหรือตัวทีมีความละเอียดตำ่า จากนั้นจึงคำา
                       ่           ่
นวนค่า normal จากพื้นผิวของโมเดลที่มีความละเอียดสูง แล้วนำา
ไปบันทึกลงใน normal map โดยอิงตำาแหน่งผ่าน UV map ทีคลี่    ่
เอาไว้
Normal Mapping
เอกสารอ้างอิง
http://th.blender.wikia.com/wiki/Main_Article/3D
_computer_graphics/
Rendering/UV_Mapping
http://aibig.wordpress.com/2011/01/18/3d-
projection-mapping-2/
http://blog.butthun.com/design-and-
creative/snow-art-3d-projection-mapping/



                             งาน ANIMATIC ครับ
3D Projection Mapping
                              เสนอ
                       ดร.สุรพล บุญลือ
                           จัดทำาโดย
  นาย ชวาล      ตระกูลเชิดชูชัย รหัสนักศึกษา 51214581
นาย ณัฐวุฒิ    ทวีสุขสิริอนันต์      รหัสนักศึกษา 54218114
   นาย พันชนัตถ์ บัวเรือง            รหัสนักศึกษา 54218128
 นาย พิชชา      เจตนเสน              รหัสนักศึกษา 54218129
 นาย ภาณุเดช ตู้มุกดากร              รหัสนักศึกษา 54218132
 นาย มนตรี     คำาศิริ              รหัสนักศึกษา 54218134
 นาย เสรีภาพ ซัวตังไล้              รหัสนักศึกษา 54218150
 นาย แทนไท แก้วพิชัย                รหัสนักศึกษา 54218151
รายวิชา ETM 201 นวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษาและสื่อสาร
                             มวลชน
          คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
          มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
Nattapon
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
Sitipun
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
Nattapon
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1
rubtumproject.com
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
Siriporn Kusolpiamsuk
 

Mais procurados (20)

การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
 
Chapter 7 prototype
Chapter 7 prototypeChapter 7 prototype
Chapter 7 prototype
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
 
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศแบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1
 
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้น
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้นเอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้น
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้น
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 

Semelhante a 3D Projection Mapping

3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
Jump' Kmutt
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
Jump' Kmutt
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
Winwin Nim
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
jibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
jibbie23
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
วาสนา ใจสุยะ
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of art
beverza
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
วาสนา ใจสุยะ
 
เอกสาร3D FOR WEBAPPLICATION
เอกสาร3D FOR WEBAPPLICATIONเอกสาร3D FOR WEBAPPLICATION
เอกสาร3D FOR WEBAPPLICATION
cakiiminikii
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
Aungkana Na Na
 

Semelhante a 3D Projection Mapping (20)

Mapping
MappingMapping
Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
sample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCVsample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCV
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of art
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of art
 
เอกสาร3D FOR WEBAPPLICATION
เอกสาร3D FOR WEBAPPLICATIONเอกสาร3D FOR WEBAPPLICATION
เอกสาร3D FOR WEBAPPLICATION
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphic
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 

3D Projection Mapping

  • 3. ในวงการโฆษณา, อีเวนท์ไทย กำาลังให้ความสนใจ 3D projection Mapping (หรือ 3d video mapping) ซึ่งก็ คือการฉายภาพจากโปรเจคเตอร์(อาจจะใช้ตวเดียวหรือหลาย ั ตัว) ลงบนวัตถุ ซึ่งอาจจะเป็นตัวสินค้าเอง, เสาหรือผนัง ทำาให้ วัตถุดเหมือนมีชีวิต มีการเคลื่อนไหว เป็นการเพิ่มสีสันให้กบตัว ู ั สินค้า ความจริง 3D Projection Mapping ในต่างประเทศนั้นมี มาค่อนข้างนานแล้วครับ(ประมาณ 4-5ปี) ในบ้านเราก็เพิ่งจะ เริ่มๆ
  • 4. หลักการของเทคโนโลยี 3D Projection Mapping หลักการคร่าวๆ สำาหรับ 3D Projection Mapping ก็คอ ื การสร้างวัตถุในโปรแกรม 3 มิตให้มีขนาด มิติ กว้างยาว ิ เท่ากับวัตถุจริง จากนั้นก็ใส่สีสัน ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ลงบนวัตถุ 3 มิติ แล้วจึง render ภาพ จากมุมมองของ Projector เมื่อได้ภาพมาแล้ว ก็ Project กับไปบนวัตถุ จริง สิ่งที่ยากที่สุดก็คือ การทำาให้ภาพจากโปรแกรม 3 มิติ พอดีกับวัตถุจริงครับ ต้องมีการคิด Lens distortion รวมถึง Perspective ต่างๆด้วย
  • 5. การทำา Projection Mapping ประกอบไปด้วย Creative Producer คือ ผูกำากับการแสดง ต้องมีไอ ้ เดีย สร้างสรรค์ ที่จะเอา content ของงาน มารวมกับ ฉาก หรือที่จะ mapping ได้น่าสนใจทางทีม Computer Graphics Artist ทีมนี้ จะมีหน้าที่สร้าง ภาพ Graphics สร้างภาพอย่างเดียว ทำางานร่วมกับ ทาง Creative เพื่อวางแผน การสร้างภาพ และ ภาพ effect ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นกับตัวอาคาร
  • 6. ทางทีม Visual Engineering หาขนาดของเครื่องฉายภาพ Projector ความสว่าง ทีจะใช้ และหาตำาแหน่งทีติดตั้ง และ แก้ไข ่ ่ จัดการปัญหาทางเทคนิคของภาพ การบิดเบี้ยวของภาพจากการติด ตั้ง Projector หรือที่เรียกว่า keystone หรือ การฉายภาพไปยัง วัตถุ ผิวโค้ง แล้วเกิด Distortion ซึ่งบางที่ ปัญหาเกี่ยวกับภาพ ก็อาจจะ ไปแก้ไขทาง CG- Artist ได้ ให้เขา render ภาพทีแก้ไข distortion ่ มาเลย ทีมทาง Hardware Technique จะดูแล ระบบจัดการ media คือ ทางทีมนี้จะเป็นคนดูแล ลำาดับภาพวีดโอ ในอาคารทีมีขนาดใหญ่ ี ่ ระบบมันจะใหญ่ตามไป จะต้องใช้ projector และ computer ตัวอย่าง 3D projection Mapping
  • 7. 3D Projection mapping กับการโฆษณา 3D Projection mapping คือชื่อของเทคโนโลยีใหม่ที่มี ประสิทธิภาพสูงในการดึงดูดและสร้างความสนใจของกลุมเป้า ่ หมาย ซึ่งกำาลังเป็นกระแสนิยมในต่างประเทศเป็นอย่างมาก แก่น หลักของเทคโนโลยีนก็คือการฉายภาพวิดีโออนิเมชั่นแบบ 3 มิติ ี้ ลงบนพื้นผิวขนาดใหญ่ทเป็นแลนด์มารค์ของสถานที่นนๆ ( ี่ ั้ แน่นอนว่าคนต้องพลุกพล่านอยู่ตลอดเวลา) เสริมเพิ่มด้วยซา วนด์เอฟเฟคและดนตรีประกอบที่นาตืนตาตืนใจ ่ ่ ่ ตัวอย่าง 3D projection Mapping
  • 8. “Projection mapping คือเทคโนโลยีการประชาสัมพันธ์และ โฆษณาที่หากทำาได้อย่างดีเยี่ยมแล้ว มันจะส่งผลดีให้กบแบ ั รนด์นั้นๆ ถึงสองเท่าตัว เพราะนอกจากคุณจะได้อีเว้นท์ที่นาตืน ่ ่ ตาตื่นใจสำาหรับกลุมเป้าหมายในสถานที่นนๆ แล้ว วิดโอที่ ่ ั้ ี บันทึกการแสดงนันเอาไว้ยังสามารถนำาไปโฆษณาต่อเนื่องได้ ้ อีกต่างหาก เพียงแต่การสร้างอีเว้นท์แบบนีจะต้องออกแบบให้ ้ มันง่ายต่อการบันทึกวิดโอ ต้องไม่มีรายละเอียดยิบย่อยทีดูยาก ี ่ และความยาวของมันจะต้องพอเหมาะสำาหรับการอัพโหลดขึ้น บนอินเตอร์เน็ตด้วย”
  • 9. โปรเจคเตอร์ ได้ความละเอียด HD 1920×1080 ละเอียด และ แสงสว่างถึง 20000 ANSI รูปหน้าตาของเจ้า Media server โดนจอ LCD กับ Macbook ทับอยู่
  • 11. ข้อดี ข้อเสีย เป็นสิ่งแปลกใหม่ มีต้นทุนสูง เครื่องมือและอุปกรณ์ หลอดฉายอายุการใช้งานตำ่า สามารถจัดหาได้งาย่ มีการใช้เอฟเฟคต่างๆทำาให้ชิ้น การเตรียมฉากให้พอดีในการ การนำาเสนอน่าสนใจขึ้น MAPของโปรเจคเตอร์
  • 12.
  • 13. ตัวอย่างขั้นตอนของการทำา Mapping ใน เบื้องต้น UV Mapping หมายถึงการสร้าง map เพือโยงแกน 2 มิติ (แกน U และ V ) เข้าหาข้อมูล 3 มิติ ่ (แกน X Y และ Z) ตามระบบพิกัดคาร์ทีเซียน UV อาจถูกสร้างจากการใช้อลกอ ั ริธึมคำานวณโดยซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ หรืออาจทำาขึนโดยคนก็ได้ แบบจำาลอง 3 ้ มิติหนึ่งๆอาจมี UV ได้หลายรูปแบบขึ้นกับความต้องการ โดยทั่วไปมักใช้ในการจัด วางภาพ 2 มิติลงบนพื้นผิว 3 มิติ เช่นการทำา texture หรือในบางกรณีบาง UV ก็ มีหน้าที่ใช้ถ่ายโอนข้อมูลจากแบบจำาลองสามมิติไปยังรูป 2 มิติก็ได้ เช่นการใช้วิธี ระบายสีโดยตรงลงบนแบบจำาลอง 3 มิติ
  • 15. Texture Mapping หมายถึงการใช้ UV map หรือการ หาความสัมพันธ์อื่น ๆ เพื่อคำานวณ ว่าตำาแหน่งบน face (3 มิติ) ใด ๆ ควรจะไปอ้างอิงค่าสีจากจุดไหน บนแผ่น Texture ซึงเป็นภาพ 2 ่ มิติ ทั้งนี้ค่าสีบน Texture อาจจะ เป็นค่าสีจริงที่จะนำาไปเรนเดอร์ หรืออาจเป็นค่าเพือประโยชน์อื่นที่ ่ ไม่ใช่คาสี เช่นอาจเป็นค่าที่ใช้ใน ่ การเฉลียนำ้าหนักสีระหว่าง ่ Texture สี 2 Texture ค่า Normal หรือค่าความสูงของพื้น ผิวเช่นในการทำา Displacement Map ก็ได้
  • 16. Displacement mapping Displacement mapping เป็นการใช้ heightmap ปรับ ความสูงของพื้นผิวแบบจำาลองสามมิติ เช่นใช้คาความ ่ สว่างบน heightmap เคลื่อนตำาแหน่ง vertex ของ แบบจำาลองไปตามแกน normal ของ vertex ถ้าสว่าง มากก็เคลื่อนมาก สว่างน้อยก็เคลื่อนน้อย เป็นต้น โดย heightmap ที่ใช้อาจอยู่ในรูปแบบของเทกซ์เจอร์ และ อาจอ้างอิงตำาแหน่งโดยใช้กระบวนการ UV mapping ประโยชน์ประการหนึ่งของ displace mapping คือใช้ สร้างรายละเอียดพื้นผิว ในลักษณะใกล้เคียงกับ normal mapping หรือ bump mapping หรืออาจใช้ ในการเปลี่ยนรูปทรงของแบบจำาลองเพื่อให้ได้รูปร่างที่ ต้องการก็ได้
  • 17. การใช้งาน displacement mapping มักจำากัดอยู่ใน การเรนเดอร์ภาพนิ่งและวีดิทัศน์ มากกว่าการใช้งาน ในแบบ real-time เช่นในเกมคอมพิวเตอร์สามมิติเมื่อ เทียบกับเทคนิคอื่น ๆ เช่น bump หรือ normal mapping เพราะ displacement mapping จำาเป็น ต้องมีโพลีกอนอยู่ จริง ต่างจากวิธีขางต้นที่ใช้การ ้ เปลี่ยนแปลงการสะท้อนแสงของรายละเอียดพื้นผิว (texture) ดังนั้นหากต้องการใช้ในการเพิ่มราย ละเอียดพื้นผิวก็จำาเป็นต้องสร้างโพลีกอ นเพิ่ม เช่น การใช้ micropolygon หรือการ subdivide ทำาให้ใช้ เวลาในการประมวลผลมากขึ้นแต่มีขอดีคอให้ความ ้ ื สมจริง เพราะโพลีกอนที่ถกสร้างขึ้นใหม่สามารถ ู ทำาให้เกิดเงาจริงขึ้น (self-shadow)
  • 19. Normal Mapping Normal Mapping เป็นการใช้ texture กำาหนดค่านอร์มอลบน แต่ละจุดบนโพลีกอนชิ้นหนึงๆ โดยจะทำาให้การสะท้อนแสงตรงจุด ่ นันเปลี่ยนไป ซึ่งจากหลักการนีทำาให้เราสามารถสร้างภาพลวงตา ้ ้ เพื่อช่วยให้โมเดลสามมิติที่มีความละเอียดตำ่าดูเหมือนมีราย ละเอียดมากขึ้นทังที่มีจำานวนโพลีกอนเท่าเดิม ้ การสร้าง normal map อาจทำาได้โดยการใช้แบบจำาลองสองชุด ชุดแรกเป็นโมเดลละเอียดสูงทีอาจสร้างขึ้นโดยซอฟต์แวร์สำาหรับ ่ ทำา digital sculpt เพื่อให้รายละเอียดทีสมจริง ชุดที่สองเป็น ่ โมเดลที่ถูกลดความละเอียดจากโมเดลแรก จนมีความละเอียดตำ่า เหมาะสมกับงานโดยเฉพาะงานที่ตองการความเร็วในการประมวล ้ ผลสูง เช่นในเกมคอมพิวเตอร์ โมเดลชุดนี้อาจเป็นโครงโมเดล ก่อนจะนำาไปเพิ่มรายละเอียดให้กลายเป็นโมเดลแรกก็ได้ ขึ้นกับ ขั้นตอนการสร้างโมเดล เมื่อได้โมเดลทั้งสองชุดแล้ว จึงคลี่ UV map จากโมเดลชุดทีสองหรือตัวทีมีความละเอียดตำ่า จากนั้นจึงคำา ่ ่ นวนค่า normal จากพื้นผิวของโมเดลที่มีความละเอียดสูง แล้วนำา ไปบันทึกลงใน normal map โดยอิงตำาแหน่งผ่าน UV map ทีคลี่ ่ เอาไว้
  • 22. 3D Projection Mapping เสนอ ดร.สุรพล บุญลือ จัดทำาโดย นาย ชวาล ตระกูลเชิดชูชัย รหัสนักศึกษา 51214581 นาย ณัฐวุฒิ ทวีสุขสิริอนันต์ รหัสนักศึกษา 54218114 นาย พันชนัตถ์ บัวเรือง รหัสนักศึกษา 54218128 นาย พิชชา เจตนเสน รหัสนักศึกษา 54218129 นาย ภาณุเดช ตู้มุกดากร รหัสนักศึกษา 54218132 นาย มนตรี คำาศิริ รหัสนักศึกษา 54218134 นาย เสรีภาพ ซัวตังไล้ รหัสนักศึกษา 54218150 นาย แทนไท แก้วพิชัย รหัสนักศึกษา 54218151 รายวิชา ETM 201 นวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษาและสื่อสาร มวลชน คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Notas do Editor

  1. To view this presentation, first, turn up your volume and second, launch the self-running slide show.
  2. To view this presentation, first, turn up your volume and second, launch the self-running slide show.
  3. For more information, go to www.duarte.com or email us at fiverules@duarte.com.