SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 29
Baixar para ler offline
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คานา
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ซึ่งเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้นี้
มีจานวน 6 เล่ม
เล่มที่ 1 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 2 เรื่อง สมการเคมี
เล่มที่ 3 เรื่อง มวล พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 4 เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 5 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
เล่มที่ 6 เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียน
สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้
7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบไป
ด้วยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บันทึกกิจกรรมการทดลอง ใบงานและใบความรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน นักเรียนหรือบุคคลที่สนใจทั่วไป
ปรีช์ญภัทร เล่งระบา
ก
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 1
กิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 3
ใบความรู้ที่ 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 9
ใบงานที่ 2.6 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 11
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 12
ภาคผนวก 14
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 15
 เฉลยใบงานที่ 2.6 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 21
 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 22
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 23
บรรณานุกรม 24
ข
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. ถ้าน้ายาขัดพื้นในห้องน้าหรือเครื่องสุขภัณฑ์หกรดร่างกายหรือเสื้อผ้าจะมีผลต่อร่างกายในลักษณะใด
ก. หายใจไม่ออก อาเจียน ข. ผิวหนังอักเสบ เกิดแผลพุพอง
ค. เกิดความพิการหรือเป็นอัมพาต ง. ถูกทั้ง 1 และ 2
2. ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
ก. เครื่องสาอางต่าง ๆ ที่มีราคาแพง จะไม่มีสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ข. อาหารและยามีการใช้สารที่ปรุงแต่งสีกลิ่น รส ซึ่งอาจมีพิษเมื่อบริโภคเข้าไป
ค. สารพิษบางชนิด เช่น ปุ๋ย สารซักล้างและสารกาจัดแมลงเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังได้ง่าย
ง. สารที่ใช้ถนอมอาหารถือว่าเป็นสารจาเป็นในการเก็บรักษาอาหารซึ่งไม่มีพิษต่อการบริโภค
3. หากมีผู้กินยาฆ่าแมลงเข้าไปจะแก้ไขด้วยวิธีใด
ก. ดื่มน้าตามมาก ๆ ข. ให้ดื่มน้านมสด
ค. ให้กินไข่ไก่ดิบ ง. ถูกต้องทั้งข้อ 2 และ 3
4. ถ้าร่างกายถูกกรดควรทาอย่างไรเป็นอันดับแรก
ก. ใส่ยา ข. ล้างน้า
ค. ใช้ผ้าเช็ด ง. เทเบสลงไป
5. ในการฉีดพ่นสารเคมีกาจัดศัตรูพืชควรปฏิบัติตนในลักษณะใด จึงจะมีความปลอดภัยมากที่สุด
ก. พ่นสารเคมีทวนลม
ข. สูบฉีดขณะฉีดพ่นสารเคมี
ค. แต่งกายให้มิดชิดขณะฉีดพ่นสารเคมี
ง. นาภาชนะใส่สารเคมีที่ล้างแล้ว กลับมาใช้งานใหม่
6. สัญลักษณ์ไวไฟส่วนใหญ่จะพบในฉลากของสารข้อใด
ก. อาหารกระป๋อง ข. สารกาจัดมดและแมลง
ค. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ปรุงแต่งอาหาร ง. ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดร่างกาย
7. กระป๋องสารกาจัดแมลงที่ใช้หมดแล้ว ควรกาจัดอย่างไร
ก. ฝังดิน ข. เผาไฟ
ค. ทิ้งลงน้า ง. ทุบให้แบนแล้วทิ้งปนกับขยะอื่นๆ
1
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
8. สัญลักษณ์นี้หมายถึงอะไร
ก. ระวังอันตรายจากสารกัมมันตรังสี ข. ระวังวัตถุมีพิษ
ค. ระวังวัตถุไวไฟ ง. ระวังอันตรายจากเชื้อโรค
9. เศษขยะจากโรงพยาบาลเมื่อบรรจุภาชนะไปทาลายควรติดสัญลักษณ์ใด
ก. ข.
ค. ง.
10. สัญลักษณ์แสดงอันตราย ข้อใดหมายถึงสารกัดกร่อน
ก. ข.
ค. ง.
***********************************************************************
2
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
2. บอกวิธีป้องกันและแก้ไขอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย โดยระดมความคิด
และอภิปราย ร่วมกันภายในกลุ่มของตนเอง
- ซึ่งประกอบไปด้วยหัวข้อย่อยดังนี้
o ประเภทของสารเคมี
o ฉลาก/สัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย
o การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายจากสารเคมี
2. นาผลการค้นคว้าและอภิปราย ไปสรุปเพื่อนาเสนอลงในกระดาษโปสเตอร์
3. แต่ละกลุ่ม นาเสนอผลการค้นคว้าและอภิปรายหน้าชั้นเรียน
3
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบความรู้ที่ 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย
สารเคมีในชีวิตประจาวัน
• ในชีวิตประจาวัน เราจะต้องเกี่ยวข้องกับสารหลายชนิด ซึ่งมีสารเคมีเป็นองค์ประกอบ
• เราสามารถจาแนกเป็นสารสังเคราะห์และสารธรรมชาติ เช่น สารปรุงรสอาหาร สารแต่งสีอาหาร
สารทาความสะอาด สารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืช เป็นต้น
• ในการจาแนกสารเคมีนั้น ใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
เกณฑ์การจาแนกสารเคมี
1. สารปรุงแต่งอาหาร
2. เครื่องดื่ม
3. สารทาความสะอาด
4. สารกาจัดแมลง และสารกาจัดศัตรูพืช
5. เครื่องสาอาง
1. สารปรุงแต่งอาหาร
สารปรุงแต่งอาหาร หมายถึง สารปรุงรสอาหารใช้ใส่ในอาหารเพื่อทาให้อาหารมีรสดีขึ้น หรือเพิ่ม
รสชาติต่างๆ เช่น
- น้าตาล ให้รสหวาน
- เกลือ น้าปลา ให้รสเค็ม
- น้าส้มสายชู น้ามะนาว ซอสมะเขือเทศ ให้รสเปรี้ยว
ประเภทของสารปรุงแต่งอาหาร แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ได้จากการสังเคราะห์ เช่น น้าส้มสายชู น้าปลา ซีอิ้ว ซอสมะเขือเทศ
2. ได้จากธรรมชาติ เช่น เกลือ น้ามะนาว น้ามะขามเปียก อัญชัน เป็นต้น
2. เครื่องดื่ม
เครื่องดื่ม หมายถึง สิ่งที่มนุษย์จัดเตรียมสาหรับดื่ม และมักจะมี “น้า”เป็นองค์ประกอบหลักบาง
ประเภทได้คุณค่าทางโภชนาการ บางประเภทดื่มแล้วไปกระตุ้นระบบประสาท และบางประเภทดื่มเพื่อดับ
กระหาย
แบ่งออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ น้าดื่มสะอาด น้าผลไม้ นม น้าอัดลม เครื่องดื่มบารุงกาลัง ชาและ
กาแฟ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ประเภทของเครื่องดื่ม
1. น้าดื่มสะอาด เป็นเครื่องดื่มที่ไม่สิ่งอื่นเจือปน เป็นประโยชน์ต่อกระบวนการต่างๆ ใน
ร่างกาย
2. น้าผลไม้ เป็นเครื่องดื่มที่มีประโยชน์มากอย่างหนึ่ง ควรเป็นน้าผลไม้สด โดยผู้ผลิตจะนา
ผลไม้ที่มีมากในฤดูกาลมาคั้นเอาเฉพาะน้า
3. นม เป็นแหล่งสาคัญของแคลเซียมและโปรตีน ช่วยให้กระดูกเจริญเติบโตและแข็งแรง
4
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4. น้าอัดลม เป็นเครื่องดื่มที่ไม่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ประกอบด้วย น้า, น้าตาล, สาร
ปรุงแต่งที่เรียกว่า หัวน้าเชื้อ ซึ่งเป็นส่วนผสมของสารที่ให้กลิ่นและสี, และกรดคาร์บอนิกซึ่งถูกอัดเข้า
ในภาชนะบรรจุ บางชนิดอาจมีส่วนผสมของน้าผลไม้เล็กน้อย
5. เครื่องดื่มชูกาลังคือเครื่องดื่มที่ให้พลังงาน มีส่วนผสมของคาเฟอีน (Caffeine) เทารีน
(Taurine)อินโนซิทอล (Inositol) และซูโครสหรือน้าตาลทราย (Sucrose) เป็นต้นเหมาะกับกลุ่มคนที่
มีความต้องการทางานอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน
6. ชาและกาแฟเป็นเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน มีผู้บริโภคเป็นจานวนมาก และมีการทาไร่ผลิตชา
และเมล็ดกาแฟหลายแห่งด้วยกัน เป็นอุตสาหกรรมชั้นนาประเภทหนึ่ง
7. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีเอทิลแอลกอฮอล์ผสมอยู่ ได้แก่ สุรา แอลกอฮอล์มีฤทธิ์กดระบบ
ประสาทส่วนกลาง ผู้ที่กินเหล้าในปริมาณไม่มาก จะรู้สึกผ่อนคลาย เนื่องจากแอลกอฮอล์ไปกดจิตใต้
สานึกที่คอยควบคุมตนเองอยู่ แต่หากดื่มปริมาณมากขึ้นจะทาให้อาการเสียการทรงตัว พูดไม่ชัดหรือ
หมดสติในที่สุด
3. สารทาความสะอาด
สารทาความสะอาด หมายถึง สารที่มีคุณสมบัติในการกาจัดความสกปรกต่างๆ ตลอดจนฆ่าเชื้อโรค
ประเภทของสารทาความสะอาด แบ่งตามการเกิด ได้ 2 ประเภท คือ
1. ได้จากการสังเคราะห์ เช่น น้ายาล้างจาน สบู่ก้อน สบู่เหลว แชมพูสระผมผงซักฟอก สาร
ทาความสะอาดพื้นเป็นต้น
2. ได้จากธรรมชาติ เช่น น้ามะกรูด มะขามเปียก เกลือ เป็นต้นแบ่งตามวัตถุประสงค์ในการ
ใช้งานเป็นเกณฑ์ แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ
2.1 สารประเภททาความสะอาดร่างกาย ได้แก่ สบู่ แชมพูสระผม เป็นต้น
2.2 สารประเภททาความสะอาดเสื้อผ้า ได้แก่ สารซักฟอกชนิดต่างๆ
2.3 สารประเภททาความสะอาดภาชนะ ได้แก่ น้ายาล้างจาน เป็นต้น
2.4 สารประเภททาความสะอาดห้องน้า ได้แก่ สารทาความสะอาด ห้องน้าทั้งชนิดผงและ
ชนิดเหลวสมบัติของสารทาความสะอาด สารทาความสะอาด เช่น สบู่ แชมพูสระผม สารล้างจาน
สารทาความสะอาดห้องน้า สารซักฟอก บางชนิดมีสมบัติเป็นกรด บางชนิดมีสมบัติเป็นเบสซึ่งทดสอบ
ได้ด้วยกระดาษลิตมัส
สารทาความสะอาด ห้องน้าและเครื่องสุขภัณฑ์บางชนิดมีสมบัติเป็นกรดสามารถกัดกร่อน
หินปูนที่ยาไว้ระหว่างกระเบื้องปูพื้นหรือฝาห้องน้าบริเวณ เครื่องสุขภัณฑ์ ทาให้คราบสกปรกที่เกาะ
อยู่หลุดลอกออกมาด้วย ถ้าใช้สาร ชนิดนี้ไปนานๆ พื้นและฝาห้องน้าจะสึกกร่อนไปด้วย และยังทาให้
ผู้ใช้เกิดความระคายเคืองของระบบทางเดินหายใจและผิวหนังอีกด้วย
4. สารกาจัดแมลง และสารกาจัดศัตรูพืช
สารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืช หมายถึง สารเคมีที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ป้องกันการกาจัด และควบคุม
แมลงต่างๆ ไม่ให้มารบกวน มีทั้งชนิดผง ชนิดเม็ด และชนิดน้า
ประเภทของสารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืช แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ได้จากการสังเคราะห์ เช่น สารฆ่ายุง สารกาจัดแมลง เป็นต้น
2. ได้จากธรรมชาติ เช่น เปลือกมะนาว เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม เป็นต้น
5
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5. เครื่องสาอาง
เครื่องสาอาง หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทา ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบร่างกาย เพื่อใช้ทาความ
สะอาดเพื่อให้เกิดความสดชื่น ความสวยงาม และเพิ่มความมั่นใจ
ประเภทของเครื่องสาอาง แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ
1. สาหรับผม เช่น แชมพู ครีมนวด เจลแต่งผม ฯลฯ
2. สาหรับร่างกาย เช่น สบู่ ครีม และโลชั่นทาผิว ยาทาเล็บ น้ายาดับ กลิ่นตัว แป้งโรยตัว ฯลฯ
3. สาหรับใบหน้า เช่น ครีม โฟมล้างหน้า แป้งผัดหน้า ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้วและดินสอเขียนขอบตา
4. น้าหอม
5. เบ็ดเตล็ด เช่น ครีมโกนหนวด ผ้าอนามัย ยาสีฟัน ฯลฯ
ที่มา : https://sites.google.com/site/nopparat04032536/khaa-xthibay-raywicha/bth-thi-2-sar-ni-
chiwit-praca-wan
6
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย
ในชีวิตประจาวันจะต้องเกี่ยวข้องกับสารต่าง ๆ มากมาย เนื่องจากสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเราจัดเป็น
สารประกอบทั้งสิ้น เมื่อนามาใช้ประโยชน์อาจจะทาให้เกิดผลกระทบ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อมได้ถ้าใช้ไม่ถูกต้อง ใช้ในปริมาณมากเกินไป ใช้แล้วไม่จัดเก็บให้เหมาะสม หรือไม่มีความรู้เกี่ยวกับ
สารนั้น เพื่อให้การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัยควรปฏิบัติดังนี้
1. ผู้ใช้ควรมีความรู้เกี่ยวกับสมบัติของสารที่จะใช้ วิธีใช้และจัดเก็บรักษา เช่น สารที่เป็นยาฆ่าแมลงหรือ
สารประเภทสเปรย์ควรเก็บไว้ในที่ห่างไกลจากความร้อน เนื่องจากอาจระเบิดได้ และควรเก็บไว้ในที่ที่เด็กหยิบ
ไม่ถึง
2. ก่อนใช้สารเคมีทุกชนิดต้องอ่านฉลากเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีใช้สาร
3. ไม่ควรใช้สารเคมีมากเกินไปและไม่ทิ้งสารเคมีในที่สารธารณะหรือกองขยะ ควรแยกทิ้ง โดยใส่ถุงสีน้า
เงิน ซึ่งเจ้าหน้าที่จะเก็บไปทาลายได้ถูกต้อง และถ้ามีปริมาณมากต้องแจ้งเจ้าหน้าที่เทศบาลหรือสุขาภิบาลให้
นาไปทาลาย
4. ควรรู้จักสัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย เพื่อหลีกเลี่ยงจากอันตราย
5. ถ้ามีการกลืนสารพิษประเภทยาฆ่าแมลงให้ดื่มนมสดหรือกินไข่ดิบ เพื่อทาให้เกิดการตกตะกอนของ
สารพิษและอาเจียน หลังจากนั้นจึงนาส่งโรงพยาบาล
6. ถ้าถูกสารเคมีให้รีบล้างน้าสะอาดทันที
7. ไม่ควรกาจัดขยะประเภทพลาสติกโดยการเผา เนื่องจากเกิดไอเป็นพิษ
8. สารประเภทโลหะเมื่อใช้แล้วควรเช็ดให้แห้ง เพื่อป้องกันการเกิดสนิม
ที่มา : https://sites.google.com/site/krunarm2/bth-thi-3-kar-chi-sar-khemi-xyang-thuk-khx-ng-
laea-plxd-ph/kar-chi-sar-khemi-xyang-thuk-txng-laea-plxdphay
7
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สารเคมีอันตราย...คืออะไร
สารเคมีอันตราย วัตถุอันตราย สารอันตราย หมายถึง ธาตุ หรือสาร ประกอบ ที่มีคุณสมบัติเป็นพิษ
หรือเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ พืช และทาให้ทรัพย์สินและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม สามารถจาแนกได้ 9
ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด
ประเภทที่ 2 ก๊าซ
ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ
ประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ
ประเภทที่ 5 วัตถุออกซิไดส์และออร์แกนิกเปอร์ออกไซค์
ประเภทที่ 6 วัตถุมีพิษและวัตถุติดเชื้อ
ประเภทที่ 7 วัตถุกัมมันตรังสี
ประเภทที่ 8 วัตถุกัดกร่อน
ประเภทที่ 9 วัตถุอื่นๆ ที่เป็นอันตราย
ทราบว่าเป็นสารอันตรายได้อย่างไร?
เราสามารถทราบว่าสารเคมีที่พบเป็นสารอันตรายหรือไม่ และก่อให้เกิดอันตรายได้อย่างไร? โดยการสังเกต
ฉลากหรือเครื่องหมาย ซึ่งเป็นเครื่องหมายสากล ที่ติดบนภาชนะบรรจุ ถังเหล็ก แท็งก์ หรือป้ายที่ติดบน
รถยนต์หรือรถบรรทุก ดังนี้
วัตถุระเบิด: ระเบิดได้เมื่อถูก
กระแทกเสียดสี หรือความร้อน
เช่น ทีเอ็นที ดินปืน พลุไฟ ดอกไม้
ไฟ
ก๊าซไวไฟ : ติดไฟง่ายเมื่อถูก
ประกายไฟ เช่น ก๊าซหุงต้ม
ก๊าซไฮโดรเจน ก๊าซมีเทน
ก๊าซอะเซทีลีน
ก๊าซไม่ไวไฟ, ไม่เป็นพิษ : อาจเกิด
ระเบิดได้ เมื่อถูกกระแทกอย่าง
แรก หรือได้รับความร้อนสูงจาก
ภายนอก เช่น ก๊าซออกซิเจน ก๊าซ
ไนโตรเจนเหลว ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์
ก๊าซพิษ : อาจตายไปเมื่อสูดดม
เช่น ก๊าซคลอรีน ก๊าซ
แอมโมเนีย ก๊าซไฮโดรเจนคลอ
ไรด์
ของเหลวไวไฟ : ติดไฟง่ายเมื่อถูก
ประกายไฟ เช่น น้ามันเชื้อเพลิง
ทินเนอร์ อะซิโตน ไซลิน
ของแข็งไวไฟ : ลุกติดไฟง่าย
เมื่อถูกเสียดสี หรือความร้อน
สูงภายใน 45 นาที เช่น ผง
กามะถัน ฟอสฟอรัสแดง ไม้ขีด
ไฟ
วัตถุที่ถูกน้าแล้วให้ก๊าซไวไฟ : เช่น
แคลเซียมคาร์ไบด์ โซเดียม
วัตถุที่เกิดการลุกไหม้ได้เอง
: ลุกติดไฟได้เมื่อสัมผัสกับ
อากาศภายใน 5 นาที เช่น
ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัส
เหลือง โซเดียมซัลไฟต์
8
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
วัตถุออกซิไดส์ : ไม่ติดไฟแต่ช่วย
ให้สารอื่นเกิดการลุกไหม้ได้ดีขึ้น
เช่น ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
โปแตสเซียมคลอเรต แอมโมเนียม
ไนเตรท
ออร์แกนิคเปอร์ออกไซด์: อาจ
เกิดระเบิดได้เมื่อถูกความร้อน
ไวต่อการกระทบและเสียดสีทา
ปฏิกริยารุนแรงกับสารอื่น ๆ
เช่น อะซิโตนเปอร์ออกไซด์
วัตถุติดเชื้อ : ;วัตถุที่มีเชื้อโรค
ปนเปื้อนและทาให้เกิดโรคได้ เช่น
ของเสียอันตรายจากโรงพยาบาล
เข็มฉีดยาที่ใช้แล้ว เชื้อโรคต่างๆ
วัตถุมีพิษ : อาจทาให้เสียชีวิต
หรือบาดเจ็บอย่างรุนแรงจาก
การกิน การสูดดม หรือจาการ
สัมผัสทางผิวหนัง เช่น อาร์ซี
นิค ไซนาไนด์ ปรอท สารฆ่า
แมลง สารปรอทศัตรูพืช โลหะ
หนักเป็นพิษ
วัตถุกัมมันตรังสี : วัตถุที่สามารถ
ให้รังสีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
เช่น โคบอลต์ เรเดียม
วัตถุกัดกร่อน :สามารถกัด
กร่อนผิวหนังและเป็นอันตราย
ต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น
กรดเกลือ กรดกามะถัน
โซเดียม โฮดรอกไซด์
แคลเซียมไฮโปคลอไรต์
วัตถุอื่นๆ ที่เป็นอันตราย : เช่น
ของเสีย อันตราย แอสเบสทอ
สขาว เบนซัลดีไฮด์ของเสีย
ปนเปื้อน ไดออกซิน
9
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สามารถเข้าสู่ร่างกายได้อย่างไร?
1. การหายใจ :การหายใจเป็นการเข้าสู่ร่างกายที่สาคัญของสารเคมีที่อยู่ในรูป
ของไอระเหย ก๊าซ ละออง หรือ อนุภาค เมื่อสารเคมีเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
อาจทาลายระบบทางเดินหายใจ หรือเข้าสู่ปอด กระแสเลือดแล้วทาลายอวัยวะ
ภายใน
2. ดูดซึมผ่านผิวหนัง (หรือตา) :โดยการสัมผัสหรือจับกันสารพิษ อาจมีผลกระทบ
ที่ค่อนข้างน้อย เช่น เป็นผื่นแดง หรือรุนแรงมากขึ้น เช่น ทาลายโครงสร้างของ
ผิว หรือทาให้อ่อนเพลียหรืออาจซึมเข้าสู่กระแสเลือด ทาลายอวัยวะหรือระบบ
ต่าง ๆ ภายในร่างกายขั้นรุนแรง และอาจตายได้
3. การกินเข้าไป : หาสารที่กินเข้าไปมีฤทธิ์กัดกร่อน จะทาให้เกิดการระคายเคือง
ต่อระบบทางเดินอาหารสารที่ไม่ละลายในของเหลวในทางเดินอาหารจะถูกขับ
ออกทางอุจจาระ ส่วนสารที่ละลายได้จากถูกดูดซึมผ่านผนังของทางเดินอาหาร
เข้าสู่กระแสเลือดไปยังอวัยวะภายใน ความเป็นพิษขึ้นอยู่กับชนิดและปริมาณ
ของสารเคมีที่กินเข้าไป
4. การฉีดเข้าไป: สารอาจเข้าสู่ร่างการได้ถ้าผิวหนังถูกแทงหรือทาให้ฉีกขาดด้วย
วัตถุที่ปนเปื้อน ผลกระทบเกิดขึ้นเมื่อสารนั้นเข้าสู่กระแสเลือดและสะสมใน
อวัยวะเป้าหมาย
มีผลต่อร่างกายอย่างไร?
โดยธรรมชาติของร่างกายมนุษย์ เมื่อได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายจะมีขบวนการทาลายพิษให้น้อยลงและ
พยายามขับสารนั้นออก ทางเหงื่อ น้านม ปัสสาวะ อุจจาระ น้าลาย ลมหายใจ แต่หากได้รับสารพิษมากเกินไป
จะเกิดการสะสมและเกิดผลเสียหายต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกายทั้งในลักษณะเฉียบพลันหรือเรื้อรัง ดังนี้
1. ผลต่อระบบทางเดินหาย ระบบทางเดินหายใจซึ่งเป็นทางผ่านของก๊าซไอระเหย ฝุ่นละอองของสารพิษ ทา
ให้เกิดความระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจในส่วนต้น ทาลายเนื้อเยื่อปอด ทาลายความยืดหยุ่นปอด เกิด
การแพ้สาร หรือเกิดมะเร็งหากสัมผัสสารอย่างต่อเนื่องซ้า ๆ เป็นเวลานาน เช่น มะเร็งปอด มะเร็งโพรงจมูก
เป็นต้น
2. ผลต่อผิวหนัง เกิดการระคายเคืองขั้นต้น เกิดการแพ้แสง ทาลายผิวหนังอย่างถาวร เกิดมะเร็งผิวหนัง
3. ผลต่อตา เกิดอาการระคายเคือง แสบตา เยื่อยุตาอักเสบ ตาพร่ามัว น้าตาไหลและอาจตาบอดได้ถ้ารับสาร
ในปริมาณมาก เช่น เมธานอล
10
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4. ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้ขาดออกซิเจนในเลือด มีผลกระทบโดยตรงต่อระบบประสาท เช่น ตา
พร่ามัว กระสับกระส่าย กล้ามเนื้อสั่น ชัก ขาดความจากล้ามเนื้อทางานไม่ประสานกัน และการรับความรู้สึกไม่
ปรกติ
5. ผลต่ออวัยวะภายใน
ตับ : แบบเฉียบพลัน (เซลล์ตาย) แบบเรื้อรัง (ตับแข็ง มะเร็ง) สารที่เป็นพิษต่อตับ เช่น คาร์บอนเต
ตระคลอไรด์ คลอโรฟอร์ม
ไต :สารที่เป็นพิษต่อไต เช่น โลหะหนัก คาร์บอนไดซัลไฟด์
เลือด : กระทบต่อระบบการการสร้างเม็ดเลือด (ไขกระดูก) องค์ประกอบของเลือด (เกล็ดเลือด เม็ด
เลือดแดง เม็ดเลือดขาว) หรือความสามารถในการขนส่งออกซิเจนของเซลล์เม็ดเลือด สารที่เป็นพิษ
ต่อเลือด เช่น เบนซิน กัมมันตรังสี
ม้าม : สารที่เป็นพิษต่อม้าม เช่น คลอโรฟีน ไนโตรเบนซิน
ระบบสืบพันธ์ ุ: เป็นหมัน อสุจิผิดปกติ มีอสุจิน้อย ระบบฮอร์โมนทางานผิดปกติ สารที่เป็นพิษต่อ
ระบบสืบพันธ์ เช่น โลหะหนักไดออกซิน
เกิดอาการอย่างไร?..เมื่อได้รับสารอันตราย
แบบเฉียบพลัน : เป็นการสัมผัสที่เกิดขึ้นครั้งเดียวในระยะเวลาที่ค่อนข้างสั้น เช่น หนึ่งนาทีถึงสองสาม
วัน อาการที่เกิดขึ้น ได้แก่ เกิดผลผื่นคันระคายเคือง ผิวหนังไหม้ อักเสบ ขาดอากาศ หน้ามืด วิงเวียน
เกิดผดผื่นคัน ระคายเคือง ผิวหนังไหม้ อักเสบ
ขาดอากาศ หน้ามืด วิงเวียน
11
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบเรื้อรัง : เป็นการสัมผัสสารที่ระดับค่อนข้างต่าในระยะเวลานานตั้งแต่เป็นเดือนถึงเป็นปี อาการที่
เกิดขึ้น
ได้แก่ การเกิดความพิการในทารก (Teratogenic) การเกิดความผิดปกติทางสายพันธ์ในตัวอ่อน หรือ
การผ่าเหล่า (Uutagenic) การผิดปกติทางพันธุกรรม เช่น การเปลี่ยนแปลงของ DNA การเกิดมะเร็ง
(Carcinogenic)
มะเร็ง อัมพาต
ผลต่อทารกในครรภ์ ตาย
ป้องกันตนเองจากสารเคมีอันตราย..ได้อย่างไร
ไม่สัมผัสภาชนะบรรจุที่
ชารุดหรือสารที่รั่วไหล
อย่าเข้าใกล้แนวกั้นเขต
อันตราย สังเกตจากแถบ
เหลือง-ดา หรือแถบขาว-
แดง
อยู่เหนือลม หรือที่สูง
หรือออกจากบริเวณที่
เกิดเหตุทันที หากเห็นว่า
ไม่ปลอดภัย
12
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ประสบอุบัติภัยสารเคมี..ต้องทาอย่างไร?
1. พยายามจาแนกว่าสารเคมี
ดังกล่าวเป็นสารเคมีชนิดไหน โดย
พิจารณาจากฉลากหรือแผ่นป้ายที่
ติดอยู่ข้างฝาภาชนะ เพื่อจะสามารถ
ระมัดระวังตัวเองจากสารเคมี
อันตรายได้อย่างเหมาะสม
2. อย่าพยายามกระทาในสิ่งที่ไม่รู้
จริง เพราะอาจก่อให้เกิดผลเสียหาย
อย่างรุนแรงโดยมิได้คาดคิด เช่น
การล้างภาชนะบรรจุหรือบริเวณที่มี
กรดหกรดอาจทาให้เกิดปฏิกิริยา
รุนแรงได้
3. โทรศัพท์ขอความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
เกิดเหตุในกรุงเทพมหานคร โทร. 199
หรือศูนย์กรุงเทพมหานคร โทร. 1555
หรือกรมควบคุมมลพิษ โทร. 1650
เกิดเหตุในต่างจังหวัด โทร. 1999 หรือ
กรมควบคุมมลพิษ โทร. 1650
เกิดเหตุบนทางหลวง โทร. 1193
เกิดเหตุบนทางด่วน โทร. 1543
เกิดเหตุบนท้องถนน แจ้งศูนย์ปลอดภัยคมนาคม โทร. 0 2280 8000
เกิดเหตุเกี่ยวกับวัตถุกัมมันตรังสี แจ้งสานักงานปรมาณูเพื่อสันติในเวลาราชการ โทร. 0 2579 5230-4 ต่อ
552, 553, 139 นอกเวลาราชการ โทร. 0 2579 5230 -4 หรือ 0 2562 0123
แจ้งศูนย์รับแจ้งเหตุและประสานงานด้านการบรรเทาสาธารณภัย โทร. 0 2241 7450-9
ศูนย์อานวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โทร. 1784
ศูนย์นเรนทร โทร. 1669
13
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4. ข้อมูลที่ท่านควรแจ้ง เมื่อพบเห็น
เหตุการณ์
สถานที่เกิดเหตุ
ลักษณะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ชนิด/ประเภทของสารเคมี(ถ้าทราบ)
จานวน/ปริมาณของสารเคมีที่หก
หรือรั่วไหล (ถ้าทราบ)
มีแหล่งน้าหรือชุมชนอยู่ใกล้เคียง
บริเวณที่เกิดเหตุหรือไม่
จะช่วยเหลือผู้ป่วย..ได้อย่างไร
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปอยู่ใน
ที่อากาศบริสุทธิ์
ถอดเสื้อที่เปื้อนสารเคมี
ออก และแยกใส่ถุงหรือ
ภาชนะต่างหาก
หากสัมผัสสารให้ล้างด้วย
น้ามากๆ อย่างน้อย 15
นาที
ไปพบแพทย์
ที่มา : http://www.pcd.go.th/info_serv/haz_manual.htm
14
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายจากสารเคมี
สารเคมีที่มีอันตราย เมื่อถูกนาเข้าสู่ร่างกายจะโดยการกิน การสัมผัส หรือการสูดดม ก็สามารถทาให้
เกิดอันตรายต่ออวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ได้
ดังนั้นเมื่อมีผู้ได้รับอันตรายจากสารเคมี ควรติดต่อแพทย์และโรงพยาบาลทันที แต่ในระหว่างการ
เตรียมตัวและเดินทางไปพบแพทย์นั้น ควรได้รับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเสียก่อนเพื่อช่วยลดความเจ็บป่วย
ลดโอกาสพิการและเสียชีวิตได้
หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้นผู้ได้รับสารเคมีมีดังต่อไปนี้
1. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีโดยการรับประทาน
- ลดอัตราการดูดซึมและทาให้สารเคมีเจือจางลง โดยให้ผู้ป่วยรีบดื่มนม หรือไข่ดิบ หรือดื่ม
น้าเปล่าทันที แต่ในกรณีที่ผู้ได้รับสารเคมีกาลังชักหรือสลบ อย่าให้ดื่มอะไรทั้งสิ้น
- หากเป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรด ด่าง หรือสารกัดกร่อน (มีกลิ่น) ห้ามทาให้อาเจียน
เด็ดขาด
2. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ผิวหนัง ให้ล้างผิวหนังในบริเวณที่ถูกสารเคมี โดยใช้น้าสะอาด
ล้างให้มากที่สุด เพื่อทาให้เจือจางและ ขับออก ถ้าสารเคมีหกรดเสื้อผ้าให้รีบถอดเสื้อผ้าออกก่อน ห้ามใช้สาร
แก้พิษใด ๆ เทลงไปบนผิวหนัง เพราะอาจเกิดความร้อนจากปฏิกิริยาเคมีทาให้แผลกว้างและเจ็บมากขึ้น
3. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ตา ให้ล้างตาด้วยน้าสะอาดให้มากที่สุดทันที โดยเปิดเปลือกตา
ขึ้นให้น้าไหลผ่านตาอย่างน้อย15 นาที ป้ายขี้ผึ้งป้ายตา แล้วรีบนาส่งแพทย์โดยเร็วห้ามใช้สารเคมีแก้พิษใด ๆ
ทั้งสิ้น
4. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีในการสูดดม ให้ย้ายผู้ได้รับสารเคมีนั้นออกจากบรรยากาศของ
สารเคมี ไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ช่วยผายปอด หรือกระตุ้นการหายใจด้วยยาดมฉุน ๆ
ที่มา : http://www.thaiemsinfo.com/autopagev4/show_page.php?topic_id=327&auto_id=7&TopicPk
15
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2.6 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
จากสัญลักษณ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 1-5
1. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากสารกัดกร่อน ตอบ……………………..
2. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากเชื้อโรค ตอบ……………………..
3. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากการระเบิด ตอบ……………………..
4. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากสารกัมมันตรังสี ตอบ……………………..
5. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากชองเหลวไวไฟ ตอบ……………………..
6. สารเคมีสามารถเข้าสู่ร่างกายทางใดได้บ้าง.............................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
7. เรามีวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสาหรับผู้ที่ได้รับสารพิษจากการรับประทานได้อย่างไร
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
8. ถ้าสารเคมีเข้าตาควรปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างไร
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
9. ผู้ที่ได้รับสารอันตรายแบบเฉียบพลัน มีอาการอย่างไร
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
10. ผู้ที่ได้รับสารอันตรายแบบเรื้อรัง อาจเกิดอาการผิดปกติใดได้บ้าง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
***************************************************************************
1 2 3 4 5
16
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. สัญลักษณ์แสดงอันตราย ข้อใดหมายถึงสารกัดกร่อน
ก. ข.
ค. ง.
2. สัญลักษณ์นี้หมายถึงอะไร
ก. ระวังอันตรายจากสารกัมมันตรังสี ข. ระวังวัตถุมีพิษ
ค. ระวังวัตถุไวไฟ ง. ระวังอันตรายจากเชื้อโรค
3. ถ้าน้ายาขัดพื้นในห้องน้าหรือเครื่องสุขภัณฑ์หกรดร่างกายหรือเสื้อผ้าจะมีผลต่อร่างกายในลักษณะใด
ก. หายใจไม่ออก อาเจียน ข. ผิวหนังอักเสบ เกิดแผลพุพอง
ค. เกิดความพิการหรือเป็นอัมพาต ง. ถูกทั้ง 1 และ 2
4. หากมีผู้กินยาฆ่าแมลงเข้าไปจะแก้ไขด้วยวิธีใด
ก. ดื่มน้าตามมาก ๆ ข. ให้ดื่มน้านมสด
ค. ให้กินไข่ไก่ดิบ ง. ถูกต้องทั้งข้อ 2 และ 3
17
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5. กระป๋องสารกาจัดแมลงที่ใช้หมดแล้ว ควรกาจัดอย่างไร
ก. ฝังดิน ข. เผาไฟ
ค. ทิ้งลงน้า ง. ทุบให้แบนแล้วทิ้งปนกับขยะอื่นๆ
6. ในการฉีดพ่นสารเคมีกาจัดศัตรูพืชควรปฏิบัติตนในลักษณะใด จึงจะมีความปลอดภัยมากที่สุด
ก. พ่นสารเคมีทวนลม
ข. สูบฉีดขณะฉีดพ่นสารเคมี
ค. แต่งกายให้มิดชิดขณะฉีดพ่นสารเคมี
ง. นาภาชนะใส่สารเคมีที่ล้างแล้ว กลับมาใช้งานใหม่
7. เศษขยะจากโรงพยาบาลเมื่อบรรจุภาชนะไปทาลายควรติดสัญลักษณ์ใด
ก. ข.
ค. ง.
8. ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
ก. เครื่องสาอางต่าง ๆ ที่มีราคาแพง จะไม่มีสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ข. อาหารและยามีการใช้สารที่ปรุงแต่งสีกลิ่น รส ซึ่งอาจมีพิษเมื่อบริโภคเข้าไป
ค. สารพิษบางชนิด เช่น ปุ๋ย สารซักล้างและสารกาจัดแมลงเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังได้ง่าย
ง. สารที่ใช้ถนอมอาหารถือว่าเป็นสารจาเป็นในการเก็บรักษาอาหารซึ่งไม่มีพิษต่อการบริโภค
9. ถ้าร่างกายถูกกรดควรทาอย่างไรเป็นอันดับแรก
ก. ใส่ยา ข. ล้างน้า
ค. ใช้ผ้าเช็ด ง. เทเบสลงไป
10. สัญลักษณ์ไวไฟส่วนใหญ่จะพบในฉลากของสารข้อใด
ก. อาหารกระป๋อง ข. สารกาจัดมดและแมลง
ค. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ปรุงแต่งอาหาร ง. ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดร่างกาย
***********************************************************************
18
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
19
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง
ปลอดภัย
 เฉลยใบงานที่ 2.6 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
2. บอกวิธีป้องกันและแก้ไขอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย โดยระดมความคิด
และอภิปราย ร่วมกันภายในกลุ่มของตนเอง
- ซึ่งประกอบไปด้วยหัวข้อย่อยดังนี้
o ประเภทของสารเคมี
o ฉลาก/สัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย
o การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายจากสารเคมี
2. นาผลการค้นคว้าและอภิปราย ไปสรุปเพื่อนาเสนอลงในกระดาษโปสเตอร์
3. แต่ละกลุ่ม นาเสนอผลการค้นคว้าและอภิปรายหน้าชั้นเรียน
20
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างบันทึกกิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
1. ผู้ใช้ควรมีความรู้เกี่ยวกับสมบัติของสารที่จะใช้ วิธีใช้และจัดเก็บรักษา เช่น สารที่เป็นยาฆ่า
แมลงหรือสารประเภทสเปรย์ควรเก็บไว้ในที่ห่างไกลจากความร้อน เนื่องจากอาจระเบิดได้ และควร
เก็บไว้ในที่ที่เด็กหยิบไม่ถึง
2. ก่อนใช้สารเคมีทุกชนิดต้องอ่านฉลากเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีใช้สาร
3. ไม่ควรใช้สารเคมีมากเกินไปและไม่ทิ้งสารเคมีในที่สารธารณะหรือกองขยะ ควรแยกทิ้ง โดย
ใส่ถุงสีน้าเงิน ซึ่งเจ้าหน้าที่จะเก็บไปทาลายได้ถูกต้อง และถ้ามีปริมาณมากต้องแจ้งเจ้าหน้าที่เทศบาล
หรือสุขาภิบาลให้นาไปทาลาย
4. ควรรู้จักสัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย เพื่อหลีกเลี่ยงจากอันตราย
5. ถ้ามีการกลืนสารพิษประเภทยาฆ่าแมลงให้ดื่มนมสดหรือกินไข่ดิบ เพื่อทาให้เกิดการ
ตกตะกอนของสารพิษและอาเจียน หลังจากนั้นจึงนาส่งโรงพยาบาล
6. ถ้าถูกสารเคมีให้รีบล้างน้าสะอาดทันที
7. ไม่ควรกาจัดขยะประเภทพลาสติกโดยการเผา เนื่องจากเกิดไอเป็นพิษ
8. สารประเภทโลหะเมื่อใช้แล้วควรเช็ดให้แห้ง เพื่อป้องกันการเกิดสนิม
o ประเภทของสารเคมี
1. สารปรุงแต่งอาหาร ได้แก่ น้าส้มสายชู น้าปลา ซอสมะเขือเทศ เกลือ น้ามะนาว เป็นต้น
2. เครื่องดื่ม ได้แก่ น้าสะอาด น้าผลไม้ น้านม เครื่องดื่มชูกาลัง เป็นต้น
3. สารทาความสะอาด ได้แก่ สบู่ ยาสระผม ผงซักฟอก น้ายาขัดห้องน้า เป็นต้น
4. สารกาจัดแมลง และสารกาจัดศัตรูพืช ได้แก่ สารฆ่ายุง สารกาจัดแมลง เปลือกมะนาว
เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม เป็นต้น
5. เครื่องสาอาง ได้แก่ ครีม โฟมล้างหน้า แป้งผัดหน้า ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้ว เป็นต้น
o ฉลาก/สัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย
วัตถุออกซิไดส์ : ไม่ติดไฟแต่
ช่วยให้สารอื่นเกิดการลุกไหม้
ได้ดีขึ้น เช่น ไฮโดรเจนเปอร์
ออกไซด์ โปแตสเซียม
คลอเรต แอมโมเนียม ไนเต
รท
ออร์แกนิคเปอร์ออกไซด์ : อาจเกิด
ระเบิดได้เมื่อถูกความร้อนไวต่อการ
กระทบและเสียดสีทาปฏิกริยา
รุนแรงกับสารอื่น ๆ เช่น อะซิโตน
เปอร์ออกไซด์
วัตถุติดเชื้อ : ;วัตถุที่มีเชื้อโรค
ปนเปื้อนและทาให้เกิดโรคได้
เช่น ของเสียอันตรายจาก
โรงพยาบาล เข็มฉีดยาที่ใช้
แล้ว เชื้อโรคต่างๆ
วัตถุมีพิษ : อาจทาให้เสียชีวิตหรือ
บาดเจ็บอย่างรุนแรงจากการกิน
การสูดดม หรือจาการสัมผัสทาง
ผิวหนัง เช่น อาร์ซีนิค ไซนาไนด์
ปรอท สารฆ่าแมลง สารปรอท
ศัตรูพืช โลหะหนักเป็นพิษ
21
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
วัตถุกัมมันตรังสี : วัตถุที่
สามารถให้รังสีที่เป็นอันตราย
ต่อสิ่งมีชีวิต เช่น โคบอลต์
เรเดียม
วัตถุกัดกร่อน :สามารถกัดกร่อน
ผิวหนังและเป็นอันตรายต่อระบบ
ทางเดินหายใจ เช่น กรดเกลือ กรด
กามะถัน โซเดียม โฮดรอกไซด์
แคลเซียมไฮโปคลอไรต์
วัตถุอื่นๆ ที่เป็นอันตราย
: เช่น ของเสีย อันตราย แอส
เบสทอสขาว เบนซัลดีไฮด์
ของเสียปนเปื้อน ไดออกซิน
o การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายจากสารเคมี
1. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีโดยการรับประทาน
- ลดอัตราการดูดซึมและทาให้สารเคมีเจือจางลง โดยให้ผู้ป่วยรีบดื่มนม หรือไข่ดิบ หรือดื่ม
น้าเปล่าทันที แต่ในกรณีที่ผู้ได้รับสารเคมีกาลังชักหรือสลบ อย่าให้ดื่มอะไรทั้งสิ้น
- หากเป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรด ด่าง หรือสารกัดกร่อน (มีกลิ่น) ห้ามทาให้อาเจียน
เด็ดขาด
2. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ผิวหนัง ให้ล้างผิวหนังในบริเวณที่ถูกสารเคมี โดยใช้น้าสะอาด
ล้างให้มากที่สุด เพื่อทาให้เจือจางและ ขับออก ถ้าสารเคมีหกรดเสื้อผ้าให้รีบถอดเสื้อผ้าออกก่อน ห้ามใช้สาร
แก้พิษใด ๆ เทลงไปบนผิวหนัง เพราะอาจเกิดความร้อนจากปฏิกิริยาเคมีทาให้แผลกว้างและเจ็บมาก
ขึ้น
3. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ตา ให้ล้างตาด้วยน้าสะอาดให้มากที่สุดทันที โดยเปิดเปลือกตา
ขึ้นให้น้าไหลผ่านตาอย่างน้อย15 นาที ป้ายขี้ผึ้งป้ายตา แล้วรีบนาส่งแพทย์โดยเร็วห้ามใช้สารเคมีแก้พิษใด ๆ
ทั้งสิ้น
4. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีในการสูดดม ให้ย้ายผู้ได้รับสารเคมีนั้นออกจากบรรยากาศของ
สารเคมี ไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ช่วยผายปอด หรือกระตุ้นการหายใจด้วยยาดมฉุน ๆ
22
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยใบงานที่ 2.6 หลักการเลือกใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
จากสัญลักษณ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 1-5
1. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากสารกัดกร่อน ตอบ……4…………..
2. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากเชื้อโรค ตอบ………2……………..
3. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากการระเบิด ตอบ………5……………..
4. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากสารกัมมันตรังสี ตอบ………3……………..
5. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากของเหลวไวไฟ ตอบ………1……………..
6. สารเคมีสามารถเข้าสู่ร่างกายทางใดได้บ้าง การรับประทาน การสัมผัสทางผิวหนัง การ
สูดดม การเข้าตา การฉีดเข้าเส้น
7. เรามีวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสาหรับผู้ที่ได้รับสารพิษจากการรับประทานได้อย่างไร
- ลดอัตราการดูดซึมและทาให้สารเคมีเจือจางลง โดยให้ผู้ป่วยรีบดื่มนม หรือไข่ดิบ หรือดื่มน้าเปล่า
ทันที แต่ในกรณีที่ผู้ได้รับสารเคมีกาลังชักหรือสลบ อย่าให้ดื่มอะไรทั้งสิ้น
- หากเป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรด ด่าง หรือสารกัดกร่อน (มีกลิ่น) ห้ามทาให้อาเจียน เด็ดขาด
8. ถ้าสารเคมีเข้าตาควรปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างไร
ให้ล้างตาด้วยน้าสะอาดให้มากที่สุดทันที โดยเปิดเปลือกตาขึ้นให้น้าไหลผ่านตาอย่างน้อย15 นาที
ป้ายขี้ผึ้งป้ายตา แล้วรีบนาส่งแพทย์โดยเร็วห้ามใช้สารเคมีแก้พิษใด ๆ ทั้งสิ้น
9. ผู้ที่ได้รับสารอันตรายแบบเฉียบพลัน มีอาการอย่างไร
เกิดผลผื่นคันระคายเคือง ผิวหนังไหม้ อักเสบ ขาดอากาศ หน้ามืด วิงเวียน
10. ผู้ที่ได้รับสารอันตรายแบบเรื้อรัง อาจเกิดอาการผิดปกติใดได้บ้าง
การเกิดความพิการในทารก (Teratogenic) การเกิดความผิดปกติทางสายพันธ์ในตัวอ่อน หรือการผ่า
เหล่า (Uutagenic) การผิดปกติทางพันธุกรรม เช่น การเปลี่ยนแปลงของ DNA การเกิดมะเร็ง
(Carcinogenic)
***************************************************************************
23
1 2 3 4 5
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องหลักการเลือกใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
24
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง หลักการเลือกใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
25
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
_____.(2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
_____. เทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
เสียง เชษฐศิริพงศ์. (2556). MINI วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์
พ.ศ. พัฒนา จากัด.
_____. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด.
ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 51.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมสุขบุญ. (2555). วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด.
รศ. ดร. ยุพา วรยศ และคนอื่น ๆ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด.
26

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกิตติธัช สืบสุนทร
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานNoonnu Ka-noon
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้BoomCNC
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
คำสั่งงานวันเด็ก
คำสั่งงานวันเด็กคำสั่งงานวันเด็ก
คำสั่งงานวันเด็กAunrak Bunpasit
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์kaoijai
 

Mais procurados (20)

บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
คำสั่งงานวันเด็ก
คำสั่งงานวันเด็กคำสั่งงานวันเด็ก
คำสั่งงานวันเด็ก
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
 

Semelhante a เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย

เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือfreelance
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06jirupi
 

Semelhante a เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย (20)

เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ป.4
ป.4ป.4
ป.4
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7 ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
16442806.ppt
16442806.ppt16442806.ppt
16442806.ppt
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 
6.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 46.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 4
 
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
 

Mais de Preeyapat Lengrabam

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์Preeyapat Lengrabam
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...Preeyapat Lengrabam
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 

Mais de Preeyapat Lengrabam (10)

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 

เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย

  • 1.
  • 2. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี คานา เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ซึ่งเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้นี้ มีจานวน 6 เล่ม เล่มที่ 1 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 2 เรื่อง สมการเคมี เล่มที่ 3 เรื่อง มวล พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 4 เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 5 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน เล่มที่ 6 เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียน สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบไป ด้วยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บันทึกกิจกรรมการทดลอง ใบงานและใบความรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน นักเรียนหรือบุคคลที่สนใจทั่วไป ปรีช์ญภัทร เล่งระบา ก
  • 3. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 1 กิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 3 ใบความรู้ที่ 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 9 ใบงานที่ 2.6 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 11 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 12 ภาคผนวก 14  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 15  เฉลยใบงานที่ 2.6 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 21  เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 22  เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 23 บรรณานุกรม 24 ข
  • 4. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************** 1. ถ้าน้ายาขัดพื้นในห้องน้าหรือเครื่องสุขภัณฑ์หกรดร่างกายหรือเสื้อผ้าจะมีผลต่อร่างกายในลักษณะใด ก. หายใจไม่ออก อาเจียน ข. ผิวหนังอักเสบ เกิดแผลพุพอง ค. เกิดความพิการหรือเป็นอัมพาต ง. ถูกทั้ง 1 และ 2 2. ข้อความใดกล่าวถูกต้อง ก. เครื่องสาอางต่าง ๆ ที่มีราคาแพง จะไม่มีสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ข. อาหารและยามีการใช้สารที่ปรุงแต่งสีกลิ่น รส ซึ่งอาจมีพิษเมื่อบริโภคเข้าไป ค. สารพิษบางชนิด เช่น ปุ๋ย สารซักล้างและสารกาจัดแมลงเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังได้ง่าย ง. สารที่ใช้ถนอมอาหารถือว่าเป็นสารจาเป็นในการเก็บรักษาอาหารซึ่งไม่มีพิษต่อการบริโภค 3. หากมีผู้กินยาฆ่าแมลงเข้าไปจะแก้ไขด้วยวิธีใด ก. ดื่มน้าตามมาก ๆ ข. ให้ดื่มน้านมสด ค. ให้กินไข่ไก่ดิบ ง. ถูกต้องทั้งข้อ 2 และ 3 4. ถ้าร่างกายถูกกรดควรทาอย่างไรเป็นอันดับแรก ก. ใส่ยา ข. ล้างน้า ค. ใช้ผ้าเช็ด ง. เทเบสลงไป 5. ในการฉีดพ่นสารเคมีกาจัดศัตรูพืชควรปฏิบัติตนในลักษณะใด จึงจะมีความปลอดภัยมากที่สุด ก. พ่นสารเคมีทวนลม ข. สูบฉีดขณะฉีดพ่นสารเคมี ค. แต่งกายให้มิดชิดขณะฉีดพ่นสารเคมี ง. นาภาชนะใส่สารเคมีที่ล้างแล้ว กลับมาใช้งานใหม่ 6. สัญลักษณ์ไวไฟส่วนใหญ่จะพบในฉลากของสารข้อใด ก. อาหารกระป๋อง ข. สารกาจัดมดและแมลง ค. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ปรุงแต่งอาหาร ง. ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดร่างกาย 7. กระป๋องสารกาจัดแมลงที่ใช้หมดแล้ว ควรกาจัดอย่างไร ก. ฝังดิน ข. เผาไฟ ค. ทิ้งลงน้า ง. ทุบให้แบนแล้วทิ้งปนกับขยะอื่นๆ 1
  • 5. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 8. สัญลักษณ์นี้หมายถึงอะไร ก. ระวังอันตรายจากสารกัมมันตรังสี ข. ระวังวัตถุมีพิษ ค. ระวังวัตถุไวไฟ ง. ระวังอันตรายจากเชื้อโรค 9. เศษขยะจากโรงพยาบาลเมื่อบรรจุภาชนะไปทาลายควรติดสัญลักษณ์ใด ก. ข. ค. ง. 10. สัญลักษณ์แสดงอันตราย ข้อใดหมายถึงสารกัดกร่อน ก. ข. ค. ง. *********************************************************************** 2
  • 6. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี กิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... จุดประสงค์ของกิจกรรม 1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 2. บอกวิธีป้องกันและแก้ไขอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย โดยระดมความคิด และอภิปราย ร่วมกันภายในกลุ่มของตนเอง - ซึ่งประกอบไปด้วยหัวข้อย่อยดังนี้ o ประเภทของสารเคมี o ฉลาก/สัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย o การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายจากสารเคมี 2. นาผลการค้นคว้าและอภิปราย ไปสรุปเพื่อนาเสนอลงในกระดาษโปสเตอร์ 3. แต่ละกลุ่ม นาเสนอผลการค้นคว้าและอภิปรายหน้าชั้นเรียน 3
  • 7. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบความรู้ที่ 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย สารเคมีในชีวิตประจาวัน • ในชีวิตประจาวัน เราจะต้องเกี่ยวข้องกับสารหลายชนิด ซึ่งมีสารเคมีเป็นองค์ประกอบ • เราสามารถจาแนกเป็นสารสังเคราะห์และสารธรรมชาติ เช่น สารปรุงรสอาหาร สารแต่งสีอาหาร สารทาความสะอาด สารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืช เป็นต้น • ในการจาแนกสารเคมีนั้น ใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เกณฑ์การจาแนกสารเคมี 1. สารปรุงแต่งอาหาร 2. เครื่องดื่ม 3. สารทาความสะอาด 4. สารกาจัดแมลง และสารกาจัดศัตรูพืช 5. เครื่องสาอาง 1. สารปรุงแต่งอาหาร สารปรุงแต่งอาหาร หมายถึง สารปรุงรสอาหารใช้ใส่ในอาหารเพื่อทาให้อาหารมีรสดีขึ้น หรือเพิ่ม รสชาติต่างๆ เช่น - น้าตาล ให้รสหวาน - เกลือ น้าปลา ให้รสเค็ม - น้าส้มสายชู น้ามะนาว ซอสมะเขือเทศ ให้รสเปรี้ยว ประเภทของสารปรุงแต่งอาหาร แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ได้จากการสังเคราะห์ เช่น น้าส้มสายชู น้าปลา ซีอิ้ว ซอสมะเขือเทศ 2. ได้จากธรรมชาติ เช่น เกลือ น้ามะนาว น้ามะขามเปียก อัญชัน เป็นต้น 2. เครื่องดื่ม เครื่องดื่ม หมายถึง สิ่งที่มนุษย์จัดเตรียมสาหรับดื่ม และมักจะมี “น้า”เป็นองค์ประกอบหลักบาง ประเภทได้คุณค่าทางโภชนาการ บางประเภทดื่มแล้วไปกระตุ้นระบบประสาท และบางประเภทดื่มเพื่อดับ กระหาย แบ่งออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ น้าดื่มสะอาด น้าผลไม้ นม น้าอัดลม เครื่องดื่มบารุงกาลัง ชาและ กาแฟ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ประเภทของเครื่องดื่ม 1. น้าดื่มสะอาด เป็นเครื่องดื่มที่ไม่สิ่งอื่นเจือปน เป็นประโยชน์ต่อกระบวนการต่างๆ ใน ร่างกาย 2. น้าผลไม้ เป็นเครื่องดื่มที่มีประโยชน์มากอย่างหนึ่ง ควรเป็นน้าผลไม้สด โดยผู้ผลิตจะนา ผลไม้ที่มีมากในฤดูกาลมาคั้นเอาเฉพาะน้า 3. นม เป็นแหล่งสาคัญของแคลเซียมและโปรตีน ช่วยให้กระดูกเจริญเติบโตและแข็งแรง 4
  • 8. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4. น้าอัดลม เป็นเครื่องดื่มที่ไม่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ประกอบด้วย น้า, น้าตาล, สาร ปรุงแต่งที่เรียกว่า หัวน้าเชื้อ ซึ่งเป็นส่วนผสมของสารที่ให้กลิ่นและสี, และกรดคาร์บอนิกซึ่งถูกอัดเข้า ในภาชนะบรรจุ บางชนิดอาจมีส่วนผสมของน้าผลไม้เล็กน้อย 5. เครื่องดื่มชูกาลังคือเครื่องดื่มที่ให้พลังงาน มีส่วนผสมของคาเฟอีน (Caffeine) เทารีน (Taurine)อินโนซิทอล (Inositol) และซูโครสหรือน้าตาลทราย (Sucrose) เป็นต้นเหมาะกับกลุ่มคนที่ มีความต้องการทางานอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน 6. ชาและกาแฟเป็นเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน มีผู้บริโภคเป็นจานวนมาก และมีการทาไร่ผลิตชา และเมล็ดกาแฟหลายแห่งด้วยกัน เป็นอุตสาหกรรมชั้นนาประเภทหนึ่ง 7. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีเอทิลแอลกอฮอล์ผสมอยู่ ได้แก่ สุรา แอลกอฮอล์มีฤทธิ์กดระบบ ประสาทส่วนกลาง ผู้ที่กินเหล้าในปริมาณไม่มาก จะรู้สึกผ่อนคลาย เนื่องจากแอลกอฮอล์ไปกดจิตใต้ สานึกที่คอยควบคุมตนเองอยู่ แต่หากดื่มปริมาณมากขึ้นจะทาให้อาการเสียการทรงตัว พูดไม่ชัดหรือ หมดสติในที่สุด 3. สารทาความสะอาด สารทาความสะอาด หมายถึง สารที่มีคุณสมบัติในการกาจัดความสกปรกต่างๆ ตลอดจนฆ่าเชื้อโรค ประเภทของสารทาความสะอาด แบ่งตามการเกิด ได้ 2 ประเภท คือ 1. ได้จากการสังเคราะห์ เช่น น้ายาล้างจาน สบู่ก้อน สบู่เหลว แชมพูสระผมผงซักฟอก สาร ทาความสะอาดพื้นเป็นต้น 2. ได้จากธรรมชาติ เช่น น้ามะกรูด มะขามเปียก เกลือ เป็นต้นแบ่งตามวัตถุประสงค์ในการ ใช้งานเป็นเกณฑ์ แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ 2.1 สารประเภททาความสะอาดร่างกาย ได้แก่ สบู่ แชมพูสระผม เป็นต้น 2.2 สารประเภททาความสะอาดเสื้อผ้า ได้แก่ สารซักฟอกชนิดต่างๆ 2.3 สารประเภททาความสะอาดภาชนะ ได้แก่ น้ายาล้างจาน เป็นต้น 2.4 สารประเภททาความสะอาดห้องน้า ได้แก่ สารทาความสะอาด ห้องน้าทั้งชนิดผงและ ชนิดเหลวสมบัติของสารทาความสะอาด สารทาความสะอาด เช่น สบู่ แชมพูสระผม สารล้างจาน สารทาความสะอาดห้องน้า สารซักฟอก บางชนิดมีสมบัติเป็นกรด บางชนิดมีสมบัติเป็นเบสซึ่งทดสอบ ได้ด้วยกระดาษลิตมัส สารทาความสะอาด ห้องน้าและเครื่องสุขภัณฑ์บางชนิดมีสมบัติเป็นกรดสามารถกัดกร่อน หินปูนที่ยาไว้ระหว่างกระเบื้องปูพื้นหรือฝาห้องน้าบริเวณ เครื่องสุขภัณฑ์ ทาให้คราบสกปรกที่เกาะ อยู่หลุดลอกออกมาด้วย ถ้าใช้สาร ชนิดนี้ไปนานๆ พื้นและฝาห้องน้าจะสึกกร่อนไปด้วย และยังทาให้ ผู้ใช้เกิดความระคายเคืองของระบบทางเดินหายใจและผิวหนังอีกด้วย 4. สารกาจัดแมลง และสารกาจัดศัตรูพืช สารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืช หมายถึง สารเคมีที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ป้องกันการกาจัด และควบคุม แมลงต่างๆ ไม่ให้มารบกวน มีทั้งชนิดผง ชนิดเม็ด และชนิดน้า ประเภทของสารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืช แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ได้จากการสังเคราะห์ เช่น สารฆ่ายุง สารกาจัดแมลง เป็นต้น 2. ได้จากธรรมชาติ เช่น เปลือกมะนาว เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม เป็นต้น 5
  • 9. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 5. เครื่องสาอาง เครื่องสาอาง หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทา ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบร่างกาย เพื่อใช้ทาความ สะอาดเพื่อให้เกิดความสดชื่น ความสวยงาม และเพิ่มความมั่นใจ ประเภทของเครื่องสาอาง แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ 1. สาหรับผม เช่น แชมพู ครีมนวด เจลแต่งผม ฯลฯ 2. สาหรับร่างกาย เช่น สบู่ ครีม และโลชั่นทาผิว ยาทาเล็บ น้ายาดับ กลิ่นตัว แป้งโรยตัว ฯลฯ 3. สาหรับใบหน้า เช่น ครีม โฟมล้างหน้า แป้งผัดหน้า ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้วและดินสอเขียนขอบตา 4. น้าหอม 5. เบ็ดเตล็ด เช่น ครีมโกนหนวด ผ้าอนามัย ยาสีฟัน ฯลฯ ที่มา : https://sites.google.com/site/nopparat04032536/khaa-xthibay-raywicha/bth-thi-2-sar-ni- chiwit-praca-wan 6
  • 10. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย ในชีวิตประจาวันจะต้องเกี่ยวข้องกับสารต่าง ๆ มากมาย เนื่องจากสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเราจัดเป็น สารประกอบทั้งสิ้น เมื่อนามาใช้ประโยชน์อาจจะทาให้เกิดผลกระทบ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อมได้ถ้าใช้ไม่ถูกต้อง ใช้ในปริมาณมากเกินไป ใช้แล้วไม่จัดเก็บให้เหมาะสม หรือไม่มีความรู้เกี่ยวกับ สารนั้น เพื่อให้การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัยควรปฏิบัติดังนี้ 1. ผู้ใช้ควรมีความรู้เกี่ยวกับสมบัติของสารที่จะใช้ วิธีใช้และจัดเก็บรักษา เช่น สารที่เป็นยาฆ่าแมลงหรือ สารประเภทสเปรย์ควรเก็บไว้ในที่ห่างไกลจากความร้อน เนื่องจากอาจระเบิดได้ และควรเก็บไว้ในที่ที่เด็กหยิบ ไม่ถึง 2. ก่อนใช้สารเคมีทุกชนิดต้องอ่านฉลากเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีใช้สาร 3. ไม่ควรใช้สารเคมีมากเกินไปและไม่ทิ้งสารเคมีในที่สารธารณะหรือกองขยะ ควรแยกทิ้ง โดยใส่ถุงสีน้า เงิน ซึ่งเจ้าหน้าที่จะเก็บไปทาลายได้ถูกต้อง และถ้ามีปริมาณมากต้องแจ้งเจ้าหน้าที่เทศบาลหรือสุขาภิบาลให้ นาไปทาลาย 4. ควรรู้จักสัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย เพื่อหลีกเลี่ยงจากอันตราย 5. ถ้ามีการกลืนสารพิษประเภทยาฆ่าแมลงให้ดื่มนมสดหรือกินไข่ดิบ เพื่อทาให้เกิดการตกตะกอนของ สารพิษและอาเจียน หลังจากนั้นจึงนาส่งโรงพยาบาล 6. ถ้าถูกสารเคมีให้รีบล้างน้าสะอาดทันที 7. ไม่ควรกาจัดขยะประเภทพลาสติกโดยการเผา เนื่องจากเกิดไอเป็นพิษ 8. สารประเภทโลหะเมื่อใช้แล้วควรเช็ดให้แห้ง เพื่อป้องกันการเกิดสนิม ที่มา : https://sites.google.com/site/krunarm2/bth-thi-3-kar-chi-sar-khemi-xyang-thuk-khx-ng- laea-plxd-ph/kar-chi-sar-khemi-xyang-thuk-txng-laea-plxdphay 7
  • 11. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี สารเคมีอันตราย...คืออะไร สารเคมีอันตราย วัตถุอันตราย สารอันตราย หมายถึง ธาตุ หรือสาร ประกอบ ที่มีคุณสมบัติเป็นพิษ หรือเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ พืช และทาให้ทรัพย์สินและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม สามารถจาแนกได้ 9 ประเภท ดังนี้ ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด ประเภทที่ 2 ก๊าซ ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ ประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ ประเภทที่ 5 วัตถุออกซิไดส์และออร์แกนิกเปอร์ออกไซค์ ประเภทที่ 6 วัตถุมีพิษและวัตถุติดเชื้อ ประเภทที่ 7 วัตถุกัมมันตรังสี ประเภทที่ 8 วัตถุกัดกร่อน ประเภทที่ 9 วัตถุอื่นๆ ที่เป็นอันตราย ทราบว่าเป็นสารอันตรายได้อย่างไร? เราสามารถทราบว่าสารเคมีที่พบเป็นสารอันตรายหรือไม่ และก่อให้เกิดอันตรายได้อย่างไร? โดยการสังเกต ฉลากหรือเครื่องหมาย ซึ่งเป็นเครื่องหมายสากล ที่ติดบนภาชนะบรรจุ ถังเหล็ก แท็งก์ หรือป้ายที่ติดบน รถยนต์หรือรถบรรทุก ดังนี้ วัตถุระเบิด: ระเบิดได้เมื่อถูก กระแทกเสียดสี หรือความร้อน เช่น ทีเอ็นที ดินปืน พลุไฟ ดอกไม้ ไฟ ก๊าซไวไฟ : ติดไฟง่ายเมื่อถูก ประกายไฟ เช่น ก๊าซหุงต้ม ก๊าซไฮโดรเจน ก๊าซมีเทน ก๊าซอะเซทีลีน ก๊าซไม่ไวไฟ, ไม่เป็นพิษ : อาจเกิด ระเบิดได้ เมื่อถูกกระแทกอย่าง แรก หรือได้รับความร้อนสูงจาก ภายนอก เช่น ก๊าซออกซิเจน ก๊าซ ไนโตรเจนเหลว ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซพิษ : อาจตายไปเมื่อสูดดม เช่น ก๊าซคลอรีน ก๊าซ แอมโมเนีย ก๊าซไฮโดรเจนคลอ ไรด์ ของเหลวไวไฟ : ติดไฟง่ายเมื่อถูก ประกายไฟ เช่น น้ามันเชื้อเพลิง ทินเนอร์ อะซิโตน ไซลิน ของแข็งไวไฟ : ลุกติดไฟง่าย เมื่อถูกเสียดสี หรือความร้อน สูงภายใน 45 นาที เช่น ผง กามะถัน ฟอสฟอรัสแดง ไม้ขีด ไฟ วัตถุที่ถูกน้าแล้วให้ก๊าซไวไฟ : เช่น แคลเซียมคาร์ไบด์ โซเดียม วัตถุที่เกิดการลุกไหม้ได้เอง : ลุกติดไฟได้เมื่อสัมผัสกับ อากาศภายใน 5 นาที เช่น ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัส เหลือง โซเดียมซัลไฟต์ 8
  • 12. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี วัตถุออกซิไดส์ : ไม่ติดไฟแต่ช่วย ให้สารอื่นเกิดการลุกไหม้ได้ดีขึ้น เช่น ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โปแตสเซียมคลอเรต แอมโมเนียม ไนเตรท ออร์แกนิคเปอร์ออกไซด์: อาจ เกิดระเบิดได้เมื่อถูกความร้อน ไวต่อการกระทบและเสียดสีทา ปฏิกริยารุนแรงกับสารอื่น ๆ เช่น อะซิโตนเปอร์ออกไซด์ วัตถุติดเชื้อ : ;วัตถุที่มีเชื้อโรค ปนเปื้อนและทาให้เกิดโรคได้ เช่น ของเสียอันตรายจากโรงพยาบาล เข็มฉีดยาที่ใช้แล้ว เชื้อโรคต่างๆ วัตถุมีพิษ : อาจทาให้เสียชีวิต หรือบาดเจ็บอย่างรุนแรงจาก การกิน การสูดดม หรือจาการ สัมผัสทางผิวหนัง เช่น อาร์ซี นิค ไซนาไนด์ ปรอท สารฆ่า แมลง สารปรอทศัตรูพืช โลหะ หนักเป็นพิษ วัตถุกัมมันตรังสี : วัตถุที่สามารถ ให้รังสีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เช่น โคบอลต์ เรเดียม วัตถุกัดกร่อน :สามารถกัด กร่อนผิวหนังและเป็นอันตราย ต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น กรดเกลือ กรดกามะถัน โซเดียม โฮดรอกไซด์ แคลเซียมไฮโปคลอไรต์ วัตถุอื่นๆ ที่เป็นอันตราย : เช่น ของเสีย อันตราย แอสเบสทอ สขาว เบนซัลดีไฮด์ของเสีย ปนเปื้อน ไดออกซิน 9
  • 13. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถเข้าสู่ร่างกายได้อย่างไร? 1. การหายใจ :การหายใจเป็นการเข้าสู่ร่างกายที่สาคัญของสารเคมีที่อยู่ในรูป ของไอระเหย ก๊าซ ละออง หรือ อนุภาค เมื่อสารเคมีเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ อาจทาลายระบบทางเดินหายใจ หรือเข้าสู่ปอด กระแสเลือดแล้วทาลายอวัยวะ ภายใน 2. ดูดซึมผ่านผิวหนัง (หรือตา) :โดยการสัมผัสหรือจับกันสารพิษ อาจมีผลกระทบ ที่ค่อนข้างน้อย เช่น เป็นผื่นแดง หรือรุนแรงมากขึ้น เช่น ทาลายโครงสร้างของ ผิว หรือทาให้อ่อนเพลียหรืออาจซึมเข้าสู่กระแสเลือด ทาลายอวัยวะหรือระบบ ต่าง ๆ ภายในร่างกายขั้นรุนแรง และอาจตายได้ 3. การกินเข้าไป : หาสารที่กินเข้าไปมีฤทธิ์กัดกร่อน จะทาให้เกิดการระคายเคือง ต่อระบบทางเดินอาหารสารที่ไม่ละลายในของเหลวในทางเดินอาหารจะถูกขับ ออกทางอุจจาระ ส่วนสารที่ละลายได้จากถูกดูดซึมผ่านผนังของทางเดินอาหาร เข้าสู่กระแสเลือดไปยังอวัยวะภายใน ความเป็นพิษขึ้นอยู่กับชนิดและปริมาณ ของสารเคมีที่กินเข้าไป 4. การฉีดเข้าไป: สารอาจเข้าสู่ร่างการได้ถ้าผิวหนังถูกแทงหรือทาให้ฉีกขาดด้วย วัตถุที่ปนเปื้อน ผลกระทบเกิดขึ้นเมื่อสารนั้นเข้าสู่กระแสเลือดและสะสมใน อวัยวะเป้าหมาย มีผลต่อร่างกายอย่างไร? โดยธรรมชาติของร่างกายมนุษย์ เมื่อได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายจะมีขบวนการทาลายพิษให้น้อยลงและ พยายามขับสารนั้นออก ทางเหงื่อ น้านม ปัสสาวะ อุจจาระ น้าลาย ลมหายใจ แต่หากได้รับสารพิษมากเกินไป จะเกิดการสะสมและเกิดผลเสียหายต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกายทั้งในลักษณะเฉียบพลันหรือเรื้อรัง ดังนี้ 1. ผลต่อระบบทางเดินหาย ระบบทางเดินหายใจซึ่งเป็นทางผ่านของก๊าซไอระเหย ฝุ่นละอองของสารพิษ ทา ให้เกิดความระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจในส่วนต้น ทาลายเนื้อเยื่อปอด ทาลายความยืดหยุ่นปอด เกิด การแพ้สาร หรือเกิดมะเร็งหากสัมผัสสารอย่างต่อเนื่องซ้า ๆ เป็นเวลานาน เช่น มะเร็งปอด มะเร็งโพรงจมูก เป็นต้น 2. ผลต่อผิวหนัง เกิดการระคายเคืองขั้นต้น เกิดการแพ้แสง ทาลายผิวหนังอย่างถาวร เกิดมะเร็งผิวหนัง 3. ผลต่อตา เกิดอาการระคายเคือง แสบตา เยื่อยุตาอักเสบ ตาพร่ามัว น้าตาไหลและอาจตาบอดได้ถ้ารับสาร ในปริมาณมาก เช่น เมธานอล 10
  • 14. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4. ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้ขาดออกซิเจนในเลือด มีผลกระทบโดยตรงต่อระบบประสาท เช่น ตา พร่ามัว กระสับกระส่าย กล้ามเนื้อสั่น ชัก ขาดความจากล้ามเนื้อทางานไม่ประสานกัน และการรับความรู้สึกไม่ ปรกติ 5. ผลต่ออวัยวะภายใน ตับ : แบบเฉียบพลัน (เซลล์ตาย) แบบเรื้อรัง (ตับแข็ง มะเร็ง) สารที่เป็นพิษต่อตับ เช่น คาร์บอนเต ตระคลอไรด์ คลอโรฟอร์ม ไต :สารที่เป็นพิษต่อไต เช่น โลหะหนัก คาร์บอนไดซัลไฟด์ เลือด : กระทบต่อระบบการการสร้างเม็ดเลือด (ไขกระดูก) องค์ประกอบของเลือด (เกล็ดเลือด เม็ด เลือดแดง เม็ดเลือดขาว) หรือความสามารถในการขนส่งออกซิเจนของเซลล์เม็ดเลือด สารที่เป็นพิษ ต่อเลือด เช่น เบนซิน กัมมันตรังสี ม้าม : สารที่เป็นพิษต่อม้าม เช่น คลอโรฟีน ไนโตรเบนซิน ระบบสืบพันธ์ ุ: เป็นหมัน อสุจิผิดปกติ มีอสุจิน้อย ระบบฮอร์โมนทางานผิดปกติ สารที่เป็นพิษต่อ ระบบสืบพันธ์ เช่น โลหะหนักไดออกซิน เกิดอาการอย่างไร?..เมื่อได้รับสารอันตราย แบบเฉียบพลัน : เป็นการสัมผัสที่เกิดขึ้นครั้งเดียวในระยะเวลาที่ค่อนข้างสั้น เช่น หนึ่งนาทีถึงสองสาม วัน อาการที่เกิดขึ้น ได้แก่ เกิดผลผื่นคันระคายเคือง ผิวหนังไหม้ อักเสบ ขาดอากาศ หน้ามืด วิงเวียน เกิดผดผื่นคัน ระคายเคือง ผิวหนังไหม้ อักเสบ ขาดอากาศ หน้ามืด วิงเวียน 11
  • 15. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบบเรื้อรัง : เป็นการสัมผัสสารที่ระดับค่อนข้างต่าในระยะเวลานานตั้งแต่เป็นเดือนถึงเป็นปี อาการที่ เกิดขึ้น ได้แก่ การเกิดความพิการในทารก (Teratogenic) การเกิดความผิดปกติทางสายพันธ์ในตัวอ่อน หรือ การผ่าเหล่า (Uutagenic) การผิดปกติทางพันธุกรรม เช่น การเปลี่ยนแปลงของ DNA การเกิดมะเร็ง (Carcinogenic) มะเร็ง อัมพาต ผลต่อทารกในครรภ์ ตาย ป้องกันตนเองจากสารเคมีอันตราย..ได้อย่างไร ไม่สัมผัสภาชนะบรรจุที่ ชารุดหรือสารที่รั่วไหล อย่าเข้าใกล้แนวกั้นเขต อันตราย สังเกตจากแถบ เหลือง-ดา หรือแถบขาว- แดง อยู่เหนือลม หรือที่สูง หรือออกจากบริเวณที่ เกิดเหตุทันที หากเห็นว่า ไม่ปลอดภัย 12
  • 16. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ประสบอุบัติภัยสารเคมี..ต้องทาอย่างไร? 1. พยายามจาแนกว่าสารเคมี ดังกล่าวเป็นสารเคมีชนิดไหน โดย พิจารณาจากฉลากหรือแผ่นป้ายที่ ติดอยู่ข้างฝาภาชนะ เพื่อจะสามารถ ระมัดระวังตัวเองจากสารเคมี อันตรายได้อย่างเหมาะสม 2. อย่าพยายามกระทาในสิ่งที่ไม่รู้ จริง เพราะอาจก่อให้เกิดผลเสียหาย อย่างรุนแรงโดยมิได้คาดคิด เช่น การล้างภาชนะบรรจุหรือบริเวณที่มี กรดหกรดอาจทาให้เกิดปฏิกิริยา รุนแรงได้ 3. โทรศัพท์ขอความช่วยเหลือจาก หน่วยงานที่รับผิดชอบ เกิดเหตุในกรุงเทพมหานคร โทร. 199 หรือศูนย์กรุงเทพมหานคร โทร. 1555 หรือกรมควบคุมมลพิษ โทร. 1650 เกิดเหตุในต่างจังหวัด โทร. 1999 หรือ กรมควบคุมมลพิษ โทร. 1650 เกิดเหตุบนทางหลวง โทร. 1193 เกิดเหตุบนทางด่วน โทร. 1543 เกิดเหตุบนท้องถนน แจ้งศูนย์ปลอดภัยคมนาคม โทร. 0 2280 8000 เกิดเหตุเกี่ยวกับวัตถุกัมมันตรังสี แจ้งสานักงานปรมาณูเพื่อสันติในเวลาราชการ โทร. 0 2579 5230-4 ต่อ 552, 553, 139 นอกเวลาราชการ โทร. 0 2579 5230 -4 หรือ 0 2562 0123 แจ้งศูนย์รับแจ้งเหตุและประสานงานด้านการบรรเทาสาธารณภัย โทร. 0 2241 7450-9 ศูนย์อานวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โทร. 1784 ศูนย์นเรนทร โทร. 1669 13
  • 17. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4. ข้อมูลที่ท่านควรแจ้ง เมื่อพบเห็น เหตุการณ์ สถานที่เกิดเหตุ ลักษณะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ชนิด/ประเภทของสารเคมี(ถ้าทราบ) จานวน/ปริมาณของสารเคมีที่หก หรือรั่วไหล (ถ้าทราบ) มีแหล่งน้าหรือชุมชนอยู่ใกล้เคียง บริเวณที่เกิดเหตุหรือไม่ จะช่วยเหลือผู้ป่วย..ได้อย่างไร เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปอยู่ใน ที่อากาศบริสุทธิ์ ถอดเสื้อที่เปื้อนสารเคมี ออก และแยกใส่ถุงหรือ ภาชนะต่างหาก หากสัมผัสสารให้ล้างด้วย น้ามากๆ อย่างน้อย 15 นาที ไปพบแพทย์ ที่มา : http://www.pcd.go.th/info_serv/haz_manual.htm 14
  • 18. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายจากสารเคมี สารเคมีที่มีอันตราย เมื่อถูกนาเข้าสู่ร่างกายจะโดยการกิน การสัมผัส หรือการสูดดม ก็สามารถทาให้ เกิดอันตรายต่ออวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ได้ ดังนั้นเมื่อมีผู้ได้รับอันตรายจากสารเคมี ควรติดต่อแพทย์และโรงพยาบาลทันที แต่ในระหว่างการ เตรียมตัวและเดินทางไปพบแพทย์นั้น ควรได้รับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเสียก่อนเพื่อช่วยลดความเจ็บป่วย ลดโอกาสพิการและเสียชีวิตได้ หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้นผู้ได้รับสารเคมีมีดังต่อไปนี้ 1. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีโดยการรับประทาน - ลดอัตราการดูดซึมและทาให้สารเคมีเจือจางลง โดยให้ผู้ป่วยรีบดื่มนม หรือไข่ดิบ หรือดื่ม น้าเปล่าทันที แต่ในกรณีที่ผู้ได้รับสารเคมีกาลังชักหรือสลบ อย่าให้ดื่มอะไรทั้งสิ้น - หากเป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรด ด่าง หรือสารกัดกร่อน (มีกลิ่น) ห้ามทาให้อาเจียน เด็ดขาด 2. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ผิวหนัง ให้ล้างผิวหนังในบริเวณที่ถูกสารเคมี โดยใช้น้าสะอาด ล้างให้มากที่สุด เพื่อทาให้เจือจางและ ขับออก ถ้าสารเคมีหกรดเสื้อผ้าให้รีบถอดเสื้อผ้าออกก่อน ห้ามใช้สาร แก้พิษใด ๆ เทลงไปบนผิวหนัง เพราะอาจเกิดความร้อนจากปฏิกิริยาเคมีทาให้แผลกว้างและเจ็บมากขึ้น 3. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ตา ให้ล้างตาด้วยน้าสะอาดให้มากที่สุดทันที โดยเปิดเปลือกตา ขึ้นให้น้าไหลผ่านตาอย่างน้อย15 นาที ป้ายขี้ผึ้งป้ายตา แล้วรีบนาส่งแพทย์โดยเร็วห้ามใช้สารเคมีแก้พิษใด ๆ ทั้งสิ้น 4. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีในการสูดดม ให้ย้ายผู้ได้รับสารเคมีนั้นออกจากบรรยากาศของ สารเคมี ไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ช่วยผายปอด หรือกระตุ้นการหายใจด้วยยาดมฉุน ๆ ที่มา : http://www.thaiemsinfo.com/autopagev4/show_page.php?topic_id=327&auto_id=7&TopicPk 15
  • 19. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบงานที่ 2.6 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย จากสัญลักษณ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 1-5 1. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากสารกัดกร่อน ตอบ…………………….. 2. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากเชื้อโรค ตอบ…………………….. 3. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากการระเบิด ตอบ…………………….. 4. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากสารกัมมันตรังสี ตอบ…………………….. 5. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากชองเหลวไวไฟ ตอบ…………………….. 6. สารเคมีสามารถเข้าสู่ร่างกายทางใดได้บ้าง............................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 7. เรามีวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสาหรับผู้ที่ได้รับสารพิษจากการรับประทานได้อย่างไร ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... 8. ถ้าสารเคมีเข้าตาควรปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างไร ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... 9. ผู้ที่ได้รับสารอันตรายแบบเฉียบพลัน มีอาการอย่างไร ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... 10. ผู้ที่ได้รับสารอันตรายแบบเรื้อรัง อาจเกิดอาการผิดปกติใดได้บ้าง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... *************************************************************************** 1 2 3 4 5 16
  • 20. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************** 1. สัญลักษณ์แสดงอันตราย ข้อใดหมายถึงสารกัดกร่อน ก. ข. ค. ง. 2. สัญลักษณ์นี้หมายถึงอะไร ก. ระวังอันตรายจากสารกัมมันตรังสี ข. ระวังวัตถุมีพิษ ค. ระวังวัตถุไวไฟ ง. ระวังอันตรายจากเชื้อโรค 3. ถ้าน้ายาขัดพื้นในห้องน้าหรือเครื่องสุขภัณฑ์หกรดร่างกายหรือเสื้อผ้าจะมีผลต่อร่างกายในลักษณะใด ก. หายใจไม่ออก อาเจียน ข. ผิวหนังอักเสบ เกิดแผลพุพอง ค. เกิดความพิการหรือเป็นอัมพาต ง. ถูกทั้ง 1 และ 2 4. หากมีผู้กินยาฆ่าแมลงเข้าไปจะแก้ไขด้วยวิธีใด ก. ดื่มน้าตามมาก ๆ ข. ให้ดื่มน้านมสด ค. ให้กินไข่ไก่ดิบ ง. ถูกต้องทั้งข้อ 2 และ 3 17
  • 21. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 5. กระป๋องสารกาจัดแมลงที่ใช้หมดแล้ว ควรกาจัดอย่างไร ก. ฝังดิน ข. เผาไฟ ค. ทิ้งลงน้า ง. ทุบให้แบนแล้วทิ้งปนกับขยะอื่นๆ 6. ในการฉีดพ่นสารเคมีกาจัดศัตรูพืชควรปฏิบัติตนในลักษณะใด จึงจะมีความปลอดภัยมากที่สุด ก. พ่นสารเคมีทวนลม ข. สูบฉีดขณะฉีดพ่นสารเคมี ค. แต่งกายให้มิดชิดขณะฉีดพ่นสารเคมี ง. นาภาชนะใส่สารเคมีที่ล้างแล้ว กลับมาใช้งานใหม่ 7. เศษขยะจากโรงพยาบาลเมื่อบรรจุภาชนะไปทาลายควรติดสัญลักษณ์ใด ก. ข. ค. ง. 8. ข้อความใดกล่าวถูกต้อง ก. เครื่องสาอางต่าง ๆ ที่มีราคาแพง จะไม่มีสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ข. อาหารและยามีการใช้สารที่ปรุงแต่งสีกลิ่น รส ซึ่งอาจมีพิษเมื่อบริโภคเข้าไป ค. สารพิษบางชนิด เช่น ปุ๋ย สารซักล้างและสารกาจัดแมลงเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังได้ง่าย ง. สารที่ใช้ถนอมอาหารถือว่าเป็นสารจาเป็นในการเก็บรักษาอาหารซึ่งไม่มีพิษต่อการบริโภค 9. ถ้าร่างกายถูกกรดควรทาอย่างไรเป็นอันดับแรก ก. ใส่ยา ข. ล้างน้า ค. ใช้ผ้าเช็ด ง. เทเบสลงไป 10. สัญลักษณ์ไวไฟส่วนใหญ่จะพบในฉลากของสารข้อใด ก. อาหารกระป๋อง ข. สารกาจัดมดและแมลง ค. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ปรุงแต่งอาหาร ง. ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดร่างกาย *********************************************************************** 18
  • 22. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 19  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง ปลอดภัย  เฉลยใบงานที่ 2.6 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย  เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย  เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
  • 23. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี กิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... จุดประสงค์ของกิจกรรม 1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 2. บอกวิธีป้องกันและแก้ไขอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย โดยระดมความคิด และอภิปราย ร่วมกันภายในกลุ่มของตนเอง - ซึ่งประกอบไปด้วยหัวข้อย่อยดังนี้ o ประเภทของสารเคมี o ฉลาก/สัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย o การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายจากสารเคมี 2. นาผลการค้นคว้าและอภิปราย ไปสรุปเพื่อนาเสนอลงในกระดาษโปสเตอร์ 3. แต่ละกลุ่ม นาเสนอผลการค้นคว้าและอภิปรายหน้าชั้นเรียน 20
  • 24. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างบันทึกกิจกรรม 2.8 หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย 1. ผู้ใช้ควรมีความรู้เกี่ยวกับสมบัติของสารที่จะใช้ วิธีใช้และจัดเก็บรักษา เช่น สารที่เป็นยาฆ่า แมลงหรือสารประเภทสเปรย์ควรเก็บไว้ในที่ห่างไกลจากความร้อน เนื่องจากอาจระเบิดได้ และควร เก็บไว้ในที่ที่เด็กหยิบไม่ถึง 2. ก่อนใช้สารเคมีทุกชนิดต้องอ่านฉลากเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีใช้สาร 3. ไม่ควรใช้สารเคมีมากเกินไปและไม่ทิ้งสารเคมีในที่สารธารณะหรือกองขยะ ควรแยกทิ้ง โดย ใส่ถุงสีน้าเงิน ซึ่งเจ้าหน้าที่จะเก็บไปทาลายได้ถูกต้อง และถ้ามีปริมาณมากต้องแจ้งเจ้าหน้าที่เทศบาล หรือสุขาภิบาลให้นาไปทาลาย 4. ควรรู้จักสัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย เพื่อหลีกเลี่ยงจากอันตราย 5. ถ้ามีการกลืนสารพิษประเภทยาฆ่าแมลงให้ดื่มนมสดหรือกินไข่ดิบ เพื่อทาให้เกิดการ ตกตะกอนของสารพิษและอาเจียน หลังจากนั้นจึงนาส่งโรงพยาบาล 6. ถ้าถูกสารเคมีให้รีบล้างน้าสะอาดทันที 7. ไม่ควรกาจัดขยะประเภทพลาสติกโดยการเผา เนื่องจากเกิดไอเป็นพิษ 8. สารประเภทโลหะเมื่อใช้แล้วควรเช็ดให้แห้ง เพื่อป้องกันการเกิดสนิม o ประเภทของสารเคมี 1. สารปรุงแต่งอาหาร ได้แก่ น้าส้มสายชู น้าปลา ซอสมะเขือเทศ เกลือ น้ามะนาว เป็นต้น 2. เครื่องดื่ม ได้แก่ น้าสะอาด น้าผลไม้ น้านม เครื่องดื่มชูกาลัง เป็นต้น 3. สารทาความสะอาด ได้แก่ สบู่ ยาสระผม ผงซักฟอก น้ายาขัดห้องน้า เป็นต้น 4. สารกาจัดแมลง และสารกาจัดศัตรูพืช ได้แก่ สารฆ่ายุง สารกาจัดแมลง เปลือกมะนาว เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม เป็นต้น 5. เครื่องสาอาง ได้แก่ ครีม โฟมล้างหน้า แป้งผัดหน้า ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้ว เป็นต้น o ฉลาก/สัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย วัตถุออกซิไดส์ : ไม่ติดไฟแต่ ช่วยให้สารอื่นเกิดการลุกไหม้ ได้ดีขึ้น เช่น ไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ โปแตสเซียม คลอเรต แอมโมเนียม ไนเต รท ออร์แกนิคเปอร์ออกไซด์ : อาจเกิด ระเบิดได้เมื่อถูกความร้อนไวต่อการ กระทบและเสียดสีทาปฏิกริยา รุนแรงกับสารอื่น ๆ เช่น อะซิโตน เปอร์ออกไซด์ วัตถุติดเชื้อ : ;วัตถุที่มีเชื้อโรค ปนเปื้อนและทาให้เกิดโรคได้ เช่น ของเสียอันตรายจาก โรงพยาบาล เข็มฉีดยาที่ใช้ แล้ว เชื้อโรคต่างๆ วัตถุมีพิษ : อาจทาให้เสียชีวิตหรือ บาดเจ็บอย่างรุนแรงจากการกิน การสูดดม หรือจาการสัมผัสทาง ผิวหนัง เช่น อาร์ซีนิค ไซนาไนด์ ปรอท สารฆ่าแมลง สารปรอท ศัตรูพืช โลหะหนักเป็นพิษ 21
  • 25. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี วัตถุกัมมันตรังสี : วัตถุที่ สามารถให้รังสีที่เป็นอันตราย ต่อสิ่งมีชีวิต เช่น โคบอลต์ เรเดียม วัตถุกัดกร่อน :สามารถกัดกร่อน ผิวหนังและเป็นอันตรายต่อระบบ ทางเดินหายใจ เช่น กรดเกลือ กรด กามะถัน โซเดียม โฮดรอกไซด์ แคลเซียมไฮโปคลอไรต์ วัตถุอื่นๆ ที่เป็นอันตราย : เช่น ของเสีย อันตราย แอส เบสทอสขาว เบนซัลดีไฮด์ ของเสียปนเปื้อน ไดออกซิน o การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายจากสารเคมี 1. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีโดยการรับประทาน - ลดอัตราการดูดซึมและทาให้สารเคมีเจือจางลง โดยให้ผู้ป่วยรีบดื่มนม หรือไข่ดิบ หรือดื่ม น้าเปล่าทันที แต่ในกรณีที่ผู้ได้รับสารเคมีกาลังชักหรือสลบ อย่าให้ดื่มอะไรทั้งสิ้น - หากเป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรด ด่าง หรือสารกัดกร่อน (มีกลิ่น) ห้ามทาให้อาเจียน เด็ดขาด 2. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ผิวหนัง ให้ล้างผิวหนังในบริเวณที่ถูกสารเคมี โดยใช้น้าสะอาด ล้างให้มากที่สุด เพื่อทาให้เจือจางและ ขับออก ถ้าสารเคมีหกรดเสื้อผ้าให้รีบถอดเสื้อผ้าออกก่อน ห้ามใช้สาร แก้พิษใด ๆ เทลงไปบนผิวหนัง เพราะอาจเกิดความร้อนจากปฏิกิริยาเคมีทาให้แผลกว้างและเจ็บมาก ขึ้น 3. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ตา ให้ล้างตาด้วยน้าสะอาดให้มากที่สุดทันที โดยเปิดเปลือกตา ขึ้นให้น้าไหลผ่านตาอย่างน้อย15 นาที ป้ายขี้ผึ้งป้ายตา แล้วรีบนาส่งแพทย์โดยเร็วห้ามใช้สารเคมีแก้พิษใด ๆ ทั้งสิ้น 4. ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีในการสูดดม ให้ย้ายผู้ได้รับสารเคมีนั้นออกจากบรรยากาศของ สารเคมี ไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ช่วยผายปอด หรือกระตุ้นการหายใจด้วยยาดมฉุน ๆ 22
  • 26. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยใบงานที่ 2.6 หลักการเลือกใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย จากสัญลักษณ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 1-5 1. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากสารกัดกร่อน ตอบ……4………….. 2. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากเชื้อโรค ตอบ………2…………….. 3. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากการระเบิด ตอบ………5…………….. 4. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากสารกัมมันตรังสี ตอบ………3…………….. 5. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึง ให้ระวังอันตรายจากของเหลวไวไฟ ตอบ………1…………….. 6. สารเคมีสามารถเข้าสู่ร่างกายทางใดได้บ้าง การรับประทาน การสัมผัสทางผิวหนัง การ สูดดม การเข้าตา การฉีดเข้าเส้น 7. เรามีวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสาหรับผู้ที่ได้รับสารพิษจากการรับประทานได้อย่างไร - ลดอัตราการดูดซึมและทาให้สารเคมีเจือจางลง โดยให้ผู้ป่วยรีบดื่มนม หรือไข่ดิบ หรือดื่มน้าเปล่า ทันที แต่ในกรณีที่ผู้ได้รับสารเคมีกาลังชักหรือสลบ อย่าให้ดื่มอะไรทั้งสิ้น - หากเป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรด ด่าง หรือสารกัดกร่อน (มีกลิ่น) ห้ามทาให้อาเจียน เด็ดขาด 8. ถ้าสารเคมีเข้าตาควรปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างไร ให้ล้างตาด้วยน้าสะอาดให้มากที่สุดทันที โดยเปิดเปลือกตาขึ้นให้น้าไหลผ่านตาอย่างน้อย15 นาที ป้ายขี้ผึ้งป้ายตา แล้วรีบนาส่งแพทย์โดยเร็วห้ามใช้สารเคมีแก้พิษใด ๆ ทั้งสิ้น 9. ผู้ที่ได้รับสารอันตรายแบบเฉียบพลัน มีอาการอย่างไร เกิดผลผื่นคันระคายเคือง ผิวหนังไหม้ อักเสบ ขาดอากาศ หน้ามืด วิงเวียน 10. ผู้ที่ได้รับสารอันตรายแบบเรื้อรัง อาจเกิดอาการผิดปกติใดได้บ้าง การเกิดความพิการในทารก (Teratogenic) การเกิดความผิดปกติทางสายพันธ์ในตัวอ่อน หรือการผ่า เหล่า (Uutagenic) การผิดปกติทางพันธุกรรม เช่น การเปลี่ยนแปลงของ DNA การเกิดมะเร็ง (Carcinogenic) *************************************************************************** 23 1 2 3 4 5
  • 27. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องหลักการเลือกใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย ข้อ ก ข ค ง 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  24
  • 28. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง หลักการเลือกใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย ข้อ ก ข ค ง 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  25
  • 29. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. _____.(2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. _____. เทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. เสียง เชษฐศิริพงศ์. (2556). MINI วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด. _____. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด. ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 51. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด. ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมสุขบุญ. (2555). วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด. รศ. ดร. ยุพา วรยศ และคนอื่น ๆ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด. 26