SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 21
เลขยกกำลัง
เรื่อง  เลขยกกำลัง ความหมายของเลขยกกำลัง บทนิยาม   ถ้า  a  เป็นจำนวนใดๆ   และ  n  เป็นจำนวนเต็มบวก   “  a  ยกกำลัง   n ”  เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์   หมายถึงผลคูณของ  a  ซึ่งมีทั้งหมด   n  ตัว นั่นคือ   =  a  a   a   a   ……   a n  ตัว จำนวนเต็มบวก  n  เรียกว่า  “ เลขชี้กำลัง ”  (exponent)  ของ  a  และเรียกจำนวน  a  ใดๆ ว่า   “ ฐาน ”  (base)
สมบัติของเลขยกกำลัง กำหนดให้   a , b  เป็นจำนวนใดๆ และ  m , n  เป็นจำนวนเต็มบวก 1)      เช่น   2)      ( เมื่อ  m > n )  เช่น       ( เมื่อ  m < n ) เช่น   3)   เช่น   4)   เช่น   5)     ( เมื่อ  b     0 ) เช่น   6)   เช่น   7)   ( เมื่อ  a     0 ) เช่น   และ
8)   เช่น     9)   เช่น 9.1)     9.2)   9.3)   เมื่อ  b     0 9.4)   9.5)   เมื่อ  a     0 ,  a     1  จะได้  x  =  y สมบัติของเลขยกกำลัง  ( ต่อ )
   วิธีดำเนินการ หาค่าของเลขยกกำลังในแต่ละช่องตาราง  (1-25) ลากส่วนของเส้นตรงโดยเริ่มตั้งแต่ช่องตารางที่  (1)  ไปหาช่องตารางที่ติดกัน ซึ่งต้องเป็นช่องตารางที่มีค่าน้อยที่สุด  ( ตัวอย่างลากเส้นจากช่องตารางที่  (1)  ไปหาช่องตารางที่  (7) ซึ่งมีค่าเลขยกกำลังน้อยที่สุด )  แต่ละช่องตารางลากส่วนของเส้นตรงผ่านได้ครั้งเดียว
ฟังก์ชันลอการิทึม   จาก  f = {(x,y)   R  R  /  y = a x  , a>0 , a  1}  ซึ่งเป็นฟังก์ชัน  1-1  จาก  R  ไป  R + จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ  f -1  = {(x,y)   R +  R  /  x = a y  , a>0 , a  1}    จาก  x = a y   สามารถเขียนในรูป  y = f(x)  ได้ โดยกำหนดเป็น  y = log a x   เช่น  9  = 3 2   เขียนในรูปลอการิทึมเป็น  2  = log 3 9   32 = 2 5  เขียนในรูปลอการิทึมเป็น  5 = log 2 32   บทนิยาม   ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป   f = {(x,y)   R +  R  /  y = log a x , a>0 , a  1}    เช่น  y = log 2 x  , f(x) = log 5 x
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมบัติของเลขยกกำลัง ทฤษฎีบท   เมื่อ  a , b  เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ และ  m , n  เป็นจำนวนเต็ม 1)  a m .a n  = a m+n   2)  (a m ) n  = a mn   3)  (ab) n  = a n b n 4)  (a / b) n  = a n / b n   5)  a m / a n  = a m-n ตัวอย่าง   จงหาค่าของ   (2 -3 x 2 y 4 /2 x -1 ) -2
2 .   รากที่  n  ในระบบจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ บทนิยาม   เมื่อ  x , y  เป็นจำนวนจริง  y  เป็นรากที่สองของ  x  ก็ต่อเมื่อ  y 2  = x สมบัติของรากที่สอง 1)  เมื่อ  x    0   , y    0 ตัวอย่าง   จงหาค่าของ  วิธีทำ  2)   เมื่อ  x    0   , y > 0
3.  เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ บทนิยาม   เมื่อ  a  เป็นจำนวนจริง  n  เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า  1  และ  a  มีรากที่  n ตัวอย่าง   จงทำให้ส่วนไม่ติดกรณฑ์ บทนิยาม   เมื่อ  a  เป็นจำนวนจริง  p , q  เป็นจำนวนเต็มที่  (p,q) = 1 , q > 0  และ  R  โดยที่  p < 0  แล้ว  a  ต้องไม่เป็นศูนย์
4.  ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล บทนิยาม   ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ  f = {(x,y)  R  R  /  y = a x  , a>0 , a  1} y   ข้อสังเกต   1)  กราฟของ  y = a x   ผ่านจุด  (0,1)  เสมอ   2)  ถ้า  a > 1  แล้ว  y = a x   เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 3)  ถ้า  0  < a < 1  แล้ว  y = a x   เป็นฟังก์ชันลด 4)  y = a x   เป็นฟังก์ชัน  1-1  จาก  R  ไป  R + 5 )  โดยสมบัติของฟังก์ชัน  1-1  จะได้  a x  = a y   ก็ต่อเมื่อ   x = y
5.  ฟังก์ชันลอการิทึม จาก  f = {(x,y)   R  R  /  y = a x  , a>0 , a  1}  ซึ่งเป็นฟังก์ชัน  1-1  จาก  R  ไป  R + จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ  f -1  = {(x,y)   R +  R  /  x = a y  , a>0 , a  1}  จาก  x = a y   สามารถเขียนในรูป  y = f(x)  ได้ โดยกำหนดเป็น  y = log a x เช่น  9  = 3 2   เขียนในรูปลอการิทึมเป็น  2  = log 3 9 32 = 2 5  เขียนในรูปลอการิทึมเป็น  5 = log 2 32 บทนิยาม   ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป f = {(x,y)   R +  R  /  y = log a x , a>0 , a  1}  เช่น  y = log 2 x  , f(x) = log 5 x
สมบัติของลอการิทึม เมื่อ  a , M , N  เป็นจำนวนจริงบวกที่  a   1  และ  k  เป็นจำนวนจริง 1)  log a MN  =  log a M + log a N 2)  log a  M /  N = log a M – log a N 3)  log a  M k   =  k log a M 4)  log a  a  =  1 5)  log a  1  =  0 6)  log a kM = 1 / k log a M 7)  log b  a  =  1 /  log a b
6.  การหาค่าของลอการิทึม ลอการิทึมสามัญ  หมายถึงลอการิทึมฐาน  10   ซึ่งนิยมเขียนโดยไม่มีฐานกำกับ เช่น  log 10 7  เขียนแทนด้วย  log 7 log 10 15  เขียนแทนด้วย  log 15 พิจารณาค่าของลอการิทึมของจำนวนเต็มที่สามารถเขียนในรูป  10 n   เมื่อ  n   I  log 10  = log 10 1  = 1 log 100 = log 10 2  = 2 log 1000 = log 10 3  = 3 ดังนั้น  log 10 n  = n
จำนวนจริงบวก  N   ใดๆ สามารถเขียนในรูป  N 0 x 10 n   ได้เสมอ เมื่อ  1  < N 0 <10  และ  n  เป็นจำนวนเต็ม   เนื่องจาก  N  =  N 0 x 10 n ดังนั้น  log N  =  log (N 0 x 10 n ) =  log N 0 + log 10 n =  log N 0  + n log N 0   เรียกว่า แมนทิสซา  (mantissa)  ของ  log N n  เรียกว่า แคแรกเทอริสติก  (characteristic)  ของ  log N
ตัวอย่าง  จงหาค่าของ  log 45 2 0   พร้อมทั้งบอก แมนทิสซาและแคแรกเทอริสติก วิธีทำ   เนื่องจาก  log 45 2 0  =  log (4.5 2 x 10 3 ) =  log 4.5 2  + log 10 3 =  0.65 51  + 3 =  3.6542 ดังนั้น  log 4510  =  3.65 51 แมนทิสซาของ  log 45 2 0  คือ  0.6551 แคแรกเทอริสติกของ  log 45 2 0  คือ  3
แอนติลอการิทึม ตัวอย่าง   กำหนดให้  log N = 2.5159  จงหาค่า  N วิธีทำ   เนื่องจาก  log N  =  2.5159 =  0.5159 + 2 =  log 3.28 + log 10 2 =  log (3.28 x 10 2 ) =  log 328 ดังนั้น  N  =  328
7.  การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม กำหนดให้  y  =  log b x จะได้  x  =  b y log a  x  =  log a  b y log a  x  =  y log a  b y  = ดังนั้น  log b x  =  ตัวอย่าง   จงหาค่าของ  log 2 24
ลอการิทึมธรรมชาติ  (Natural logarithms) ลอการิทึมธรรมชาติ คือลอการิทึมฐาน  e  เมื่อ  e  เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวนอตรรกยะ ซึ่งมีค่าประมาณ  2.7182818  หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  “ ลอการิทึมแบบเนเปียร์ ”   (Napierian Logarithms)   ในการเขียนลอการิทึมธรรมชาติจะไม่นิยมเขียนฐานกำกับ ดังนี้ log e x  เขียนแทนด้วย  ln x log e 3  เขียนแทนด้วย  ln 3 log e 20  เขียนแทนด้วย  ln 20 การหาค่าลอการิทึมธรรมชาติทำได้โดยการเปลี่ยนฐานให้เป็นลอการิทึมสามัญ ซึ่ง  log e = log 2.7182818 = 0.4343 ตัวอย่าง   จงหาค่าของ  ln 25
8.  สมการเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทึม สมการเอ็กซ์โพเนนเชียล  คือสมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กำลัง ในการหาคำตอบของสมการ ทำได้โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง   จงหาเซตคำตอบของสมการ  2 x .2 2x+1  = 4 x-2 วิธีทำ   2 x+2x+1   =  (2 2 ) x-2 2 3x+1   =  2 2x-4 จะได้  3x+1  =  2x-4 x  =  -5 ดังนั้น  คำตอบของสมการ คือ  {-5} ตัวอย่าง   จงหาเซตคำตอบของสมการ  4 x  + 2 x+1  – 24 = 0
สมการลอการิทึม  คือสมการที่มีลอการิทึมของตัวแปร การหาคำตอบของสมการทำได้ โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง   จงหาเซตคำตอบของสมการ  log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 วิธีทำ   log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 log 2 (x-2)(x-3)  =  log 2 2 จะได้  (x-2)(x-3)  =  2 x 2 - 5x + 4  =  0 (x-1)(x-4)  =  0 x  =  1 , 4 ดังนั้น  คำตอบของสมการ   คือ  {4}  เพราะว่า เมื่อตรวจคำตอบ  x = 1  หาค่าไม่ได้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)Rangsit
 
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพโครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพteadateada
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ1
กำหนดการโครงการต่าง ๆ1กำหนดการโครงการต่าง ๆ1
กำหนดการโครงการต่าง ๆ1Looktan Kp
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 

Mais procurados (20)

อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)
 
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพโครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ1
กำหนดการโครงการต่าง ๆ1กำหนดการโครงการต่าง ๆ1
กำหนดการโครงการต่าง ๆ1
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 

Semelhante a เลขยกกำลังและลอการิทึม

ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมguestc3a629f6
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมguestc3a629f6
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมguest5ec5625
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมaass012
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005CUPress
 

Semelhante a เลขยกกำลังและลอการิทึม (20)

ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
7
77
7
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 

Mais de Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctJiraprapa Suwannajak
 

Mais de Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
 

เลขยกกำลังและลอการิทึม

  • 2. เรื่อง เลขยกกำลัง ความหมายของเลขยกกำลัง บทนิยาม ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก “ a ยกกำลัง n ” เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ หมายถึงผลคูณของ a ซึ่งมีทั้งหมด n ตัว นั่นคือ = a  a  a  a  ……  a n ตัว จำนวนเต็มบวก n เรียกว่า “ เลขชี้กำลัง ” (exponent) ของ a และเรียกจำนวน a ใดๆ ว่า “ ฐาน ” (base)
  • 3. สมบัติของเลขยกกำลัง กำหนดให้ a , b เป็นจำนวนใดๆ และ m , n เป็นจำนวนเต็มบวก 1) เช่น 2) ( เมื่อ m > n ) เช่น ( เมื่อ m < n ) เช่น 3) เช่น 4) เช่น 5) ( เมื่อ b  0 ) เช่น 6) เช่น 7) ( เมื่อ a  0 ) เช่น และ
  • 4. 8) เช่น 9) เช่น 9.1) 9.2) 9.3) เมื่อ b  0 9.4) 9.5) เมื่อ a  0 , a  1 จะได้ x = y สมบัติของเลขยกกำลัง ( ต่อ )
  • 5. วิธีดำเนินการ หาค่าของเลขยกกำลังในแต่ละช่องตาราง (1-25) ลากส่วนของเส้นตรงโดยเริ่มตั้งแต่ช่องตารางที่ (1) ไปหาช่องตารางที่ติดกัน ซึ่งต้องเป็นช่องตารางที่มีค่าน้อยที่สุด ( ตัวอย่างลากเส้นจากช่องตารางที่ (1) ไปหาช่องตารางที่ (7) ซึ่งมีค่าเลขยกกำลังน้อยที่สุด ) แต่ละช่องตารางลากส่วนของเส้นตรงผ่านได้ครั้งเดียว
  • 6. ฟังก์ชันลอการิทึม จาก f = {(x,y)  R  R / y = a x , a>0 , a  1} ซึ่งเป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R + จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ f -1 = {(x,y)  R +  R / x = a y , a>0 , a  1} จาก x = a y สามารถเขียนในรูป y = f(x) ได้ โดยกำหนดเป็น y = log a x เช่น 9 = 3 2 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 2 = log 3 9 32 = 2 5 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 5 = log 2 32 บทนิยาม ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป f = {(x,y)  R +  R / y = log a x , a>0 , a  1} เช่น y = log 2 x , f(x) = log 5 x
  • 7.
  • 8. สมบัติของเลขยกกำลัง ทฤษฎีบท เมื่อ a , b เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ และ m , n เป็นจำนวนเต็ม 1) a m .a n = a m+n 2) (a m ) n = a mn 3) (ab) n = a n b n 4) (a / b) n = a n / b n 5) a m / a n = a m-n ตัวอย่าง จงหาค่าของ (2 -3 x 2 y 4 /2 x -1 ) -2
  • 9. 2 . รากที่ n ในระบบจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ บทนิยาม เมื่อ x , y เป็นจำนวนจริง y เป็นรากที่สองของ x ก็ต่อเมื่อ y 2 = x สมบัติของรากที่สอง 1) เมื่อ x  0 , y  0 ตัวอย่าง จงหาค่าของ วิธีทำ 2) เมื่อ x  0 , y > 0
  • 10. 3. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง n เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1 และ a มีรากที่ n ตัวอย่าง จงทำให้ส่วนไม่ติดกรณฑ์ บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง p , q เป็นจำนวนเต็มที่ (p,q) = 1 , q > 0 และ  R โดยที่ p < 0 แล้ว a ต้องไม่เป็นศูนย์
  • 11. 4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล บทนิยาม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ f = {(x,y)  R  R / y = a x , a>0 , a  1} y ข้อสังเกต 1) กราฟของ y = a x ผ่านจุด (0,1) เสมอ 2) ถ้า a > 1 แล้ว y = a x เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 3) ถ้า 0 < a < 1 แล้ว y = a x เป็นฟังก์ชันลด 4) y = a x เป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R + 5 ) โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ a x = a y ก็ต่อเมื่อ x = y
  • 12. 5. ฟังก์ชันลอการิทึม จาก f = {(x,y)  R  R / y = a x , a>0 , a  1} ซึ่งเป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R + จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ f -1 = {(x,y)  R +  R / x = a y , a>0 , a  1} จาก x = a y สามารถเขียนในรูป y = f(x) ได้ โดยกำหนดเป็น y = log a x เช่น 9 = 3 2 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 2 = log 3 9 32 = 2 5 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 5 = log 2 32 บทนิยาม ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป f = {(x,y)  R +  R / y = log a x , a>0 , a  1} เช่น y = log 2 x , f(x) = log 5 x
  • 13. สมบัติของลอการิทึม เมื่อ a , M , N เป็นจำนวนจริงบวกที่ a  1 และ k เป็นจำนวนจริง 1) log a MN = log a M + log a N 2) log a M / N = log a M – log a N 3) log a M k = k log a M 4) log a a = 1 5) log a 1 = 0 6) log a kM = 1 / k log a M 7) log b a = 1 / log a b
  • 14. 6. การหาค่าของลอการิทึม ลอการิทึมสามัญ หมายถึงลอการิทึมฐาน 10 ซึ่งนิยมเขียนโดยไม่มีฐานกำกับ เช่น log 10 7 เขียนแทนด้วย log 7 log 10 15 เขียนแทนด้วย log 15 พิจารณาค่าของลอการิทึมของจำนวนเต็มที่สามารถเขียนในรูป 10 n เมื่อ n  I log 10 = log 10 1 = 1 log 100 = log 10 2 = 2 log 1000 = log 10 3 = 3 ดังนั้น log 10 n = n
  • 15. จำนวนจริงบวก N ใดๆ สามารถเขียนในรูป N 0 x 10 n ได้เสมอ เมื่อ 1 < N 0 <10 และ n เป็นจำนวนเต็ม เนื่องจาก N = N 0 x 10 n ดังนั้น log N = log (N 0 x 10 n ) = log N 0 + log 10 n = log N 0 + n log N 0 เรียกว่า แมนทิสซา (mantissa) ของ log N n เรียกว่า แคแรกเทอริสติก (characteristic) ของ log N
  • 16. ตัวอย่าง จงหาค่าของ log 45 2 0 พร้อมทั้งบอก แมนทิสซาและแคแรกเทอริสติก วิธีทำ เนื่องจาก log 45 2 0 = log (4.5 2 x 10 3 ) = log 4.5 2 + log 10 3 = 0.65 51 + 3 = 3.6542 ดังนั้น log 4510 = 3.65 51 แมนทิสซาของ log 45 2 0 คือ 0.6551 แคแรกเทอริสติกของ log 45 2 0 คือ 3
  • 17. แอนติลอการิทึม ตัวอย่าง กำหนดให้ log N = 2.5159 จงหาค่า N วิธีทำ เนื่องจาก log N = 2.5159 = 0.5159 + 2 = log 3.28 + log 10 2 = log (3.28 x 10 2 ) = log 328 ดังนั้น N = 328
  • 18. 7. การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม กำหนดให้ y = log b x จะได้ x = b y log a x = log a b y log a x = y log a b y = ดังนั้น log b x = ตัวอย่าง จงหาค่าของ log 2 24
  • 19. ลอการิทึมธรรมชาติ (Natural logarithms) ลอการิทึมธรรมชาติ คือลอการิทึมฐาน e เมื่อ e เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวนอตรรกยะ ซึ่งมีค่าประมาณ 2.7182818 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ ลอการิทึมแบบเนเปียร์ ” (Napierian Logarithms) ในการเขียนลอการิทึมธรรมชาติจะไม่นิยมเขียนฐานกำกับ ดังนี้ log e x เขียนแทนด้วย ln x log e 3 เขียนแทนด้วย ln 3 log e 20 เขียนแทนด้วย ln 20 การหาค่าลอการิทึมธรรมชาติทำได้โดยการเปลี่ยนฐานให้เป็นลอการิทึมสามัญ ซึ่ง log e = log 2.7182818 = 0.4343 ตัวอย่าง จงหาค่าของ ln 25
  • 20. 8. สมการเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทึม สมการเอ็กซ์โพเนนเชียล คือสมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กำลัง ในการหาคำตอบของสมการ ทำได้โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ 2 x .2 2x+1 = 4 x-2 วิธีทำ 2 x+2x+1 = (2 2 ) x-2 2 3x+1 = 2 2x-4 จะได้ 3x+1 = 2x-4 x = -5 ดังนั้น คำตอบของสมการ คือ {-5} ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ 4 x + 2 x+1 – 24 = 0
  • 21. สมการลอการิทึม คือสมการที่มีลอการิทึมของตัวแปร การหาคำตอบของสมการทำได้ โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 วิธีทำ log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 log 2 (x-2)(x-3) = log 2 2 จะได้ (x-2)(x-3) = 2 x 2 - 5x + 4 = 0 (x-1)(x-4) = 0 x = 1 , 4 ดังนั้น คำตอบของสมการ คือ {4} เพราะว่า เมื่อตรวจคำตอบ x = 1 หาค่าไม่ได้