SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
Baixar para ler offline
คาว่า "ป่าไม้" หมายความว่าอะไร
 ปลายศตวรรษที่ 13 ในยุโรป "ป่าไม้ หมายถึง พื้นที่ที่พระมหากษัตริย์ได้สงวนไว้
เพื่อใช้เป็นสถานที่สาหรับล่าสัตว์ของ ส่วนพระองค์ ส่วนสิทธิในการตัดไม้และการ
ก่อสร้างแผ้วถางป่าเพื่อการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ยังเป็นของประชาชนทั่ว ๆ ไปอยู่
    ปัจจุบันองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติได้ให้คานิยามคาว่า "ป่าไม้"
หมายถึง "บรรดาพื้นที่ที่มีพฤกษชาตินานาชนิดปกคลุมอยู่โดยมีไม้ต้นขนาดต่าง ๆ
เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ โดยไม่คานึงว่าจะมีการทา ไม้ในพื้นที่ดังกล่าวหรือไม่ก็ตาม
สามารถผลิตไม้หรือมีอิทธิพลต่อลมฟ้าอากาศ หรือต่อระบบของน้าในท้องถิ่น"
นอกจากนี้พื้นที่ที่ได้ถูกตัดฟัน หรือแผ้วถางหรือโค่นเผาไม้ลง และมีเป้าหมายที่จะ
ปลูกป่าขึ้นในอนาคต ก็นับ รวมเป็นพื้นที่ป่าไม้ด้วย แต่ทั้งนี้มิได้นับเอาป่าละเมาะ
หรือหมู่ต้นไม้ที่ขึ้นอยู่นอกป่า หรือต้นไม้สองข้างทางคมนาคม หรือที่ยืนต้นอยู่ตาม
หัวไร่ปลายนา หรือที่ขึ้นอยู่ในสวนสาธารณะ ให้เป็นป่าไม้ด้วย
ประเภทของป่าไม้มีอะไรบ้าง

    ป่าไม้ในภาคต่าง ๆ ของโลกพอจะจาแนกออกได้ตามความ
แตกต่างขององค์ประกอบต่าง ๆ เป็นประเภทใหญ่ๆ รวม 6
ประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละประเภท ก็มีขึ้นอยู่ในหลายท้องที่
กระจัดกระจายกันอยู่ทั่วไป ลักษณะและชนิดของพรรณไม้ที่
ขึ้นอยู่ก็แตกต่างกันไป มากบ้างน้อยบ้าง ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้
1. ป่าไม้สนในเขตหนาว (Cool coniferus forests) ขึ้นอยู่ทาง
ซีกโลกเหนือในท้องที่ที่มีอากาศหนาวเท่านั้นมีลักษณะเป็นแถบ
กว้างแผ่กระจายอยู่ทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป
และเอเชีย ตั้งแต่อะลาสกา แคนาดา แถบกลุ่มประเทศใน
สแกนดิเนเวียไปจนถึงไซบีเรีย เนื้อที่ป่าส่วนใหญ่อยู่ในไซบีเรีย
ป่าชนิดนี้มีไม้เนื้ออ่อนหรือไม้ในตระกูลสนเขา(conifer) ขึ้นอยู่
อย่างหนาแน่น แต่ละท้องที่มีพรรณไม้เพียงไม่กี่ชนิด ซึ่งเป็น
ต้นไม้ที่มีขนาดปานกลางและมีความเติบโตไล่เลี่ยกัน
2. ป่าไม้ผสมโซนอบอุ่น (Temperate mixed forests)
ขึ้นอยู่ทางตอนกลางของซีกโลกเหนือเกือบทั้งหมด คือ
ในยุโรปตอนกลาง อเมริกาเหนือ และเอเชียพรรณไม้ใน
ป่าชนิดนี้มีมากกว่า ป่าสนในเขตหนาว มีทั้งป่าไม้
เนื้ออ่อน (soft wood) ซึ่งเป็นไม้ในตระกูลไม้สนเขา และ
ป่าไม้เนื้อแข็ง
3. ป่าชื้นในโซนอบอุ่น (Warm temperate moist forests)
ขึ้นอยู่ทั่วไปในแถบโซนอบอุ่นทั้งทางซีกโลกเหนือและใต้ ใน
อเมริกาเหนือ มีอยู่ทางฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ทางทิศ
ตะวันตกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอเมริกาใต้
นิวซีแลนด์ ชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของออสเตรเลียทาง
ตอนใต้ของญี่ปุ่นและเกาหลีและตอนกลางของแผ่นดินใหญ่
จีน พรรณไม้ที่สาคัญ ได้แก่ ไม้สนชนิดต่าง ๆ ไม้โอ๊ก และ
ยูคาลิปตัสของออสเตรเลีย
4. ป่าดงดิบแถบศูนย์สูตร (Equatorial rain forests)
ขึ้นอยู่ทั่วไปในแถบโซนร้อนที่มีฝนตกชุกเกือบตลอดปี
เป็นป่าไม้เนื้อแข็งที่มีพรรณไม้ขึ้นปะปนกันอยู่มากมาย
หลายชนิด ซึ่งมีลักษณะและขนาดต่าง ๆ กัน ป่าชนิดนี้มี
อยู่ในย่านลาตินอเมริกา แอฟริกา และ เอเซียตะวันออก
เฉียงใต้
5. ป่าผสมชื้นแถบโซนร้อน (Tropical moist
deciduous forests) ขึ้นอยู่ในแถบโซนร้อนที่มีฤดู
แล้งเป็นระยะเวลาค่อนข้างนาน เช่น ในตอนใต้ของ
อเมริกาเหนือและแอฟริกาย่านลาตินอเมริกา และ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
6. ป่าแล้ง (Dry forests) ขึ้นอยู่ในทุกภาคของโลกที่มี
ความแห้งจัด แต่ส่วนมากแล้วขึ้นอยู่ทางแถบโซน
ร้อน พรรณไม้ที่ขึ้นอยู่เป็นไม้ขนาดเล็ก เตี้ย แคระ
แกร็น และปะปนกันมากมายหลายชนิด แต่มีปริมาตร
เนื้อไม้ต่อหน่วยเนื้อที่น้อยมาก ป่าส่วนใหญ่อยู่ใน
แอฟริกาและออสเตรเลีย
ป่าไม้ในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ป่าไม้ไม่ผลัดใบ ได้แก่
                                       1.1 ป่าดงดิบ พบใน
                                       บริเวณที่ฝนตกชุก ไม่มี
                                       ฤดูแล้ง ให้ประโยชน์ทาง
                                       เศรษฐกิจค่อนข้างสูง
                                       ได้แก่ ยาง ตะเคียน
                                       กะบาก และพันธุ์ไม้เล็กๆ
                                       เช่น ไผ่เถาวัลย์ ระกา
                                       เป็นต้น ป่าดงดิบมีมาก
                                       ในภาคใต้และภาค
                                       ตะวันออก
1.2 ป่าดิบเขา มีลักษณะ
คล้ายป่าดงดิบ แต่มีตนไม้
                     ้
ขนาดใหญ่อยู่น้อยมาก ได้แก่
ไม้สกุลตอ และมีพืชประเภท
มอส เฟิน กล้วยไม้ เกาะติดอยู่
มีประโยชน์ในด้านรักษา
ต้นน้าลาธาร ป่าดิบเขา
ปรากฏตามทิวเขาที่มีความสูง
ตั้งแต่1,000 เมตรขึ้นไป
1.3 ป่าสนเขา พบ
บริเวณที่มีพื้นที่ซึ่งมี
ความสูงจากระดับ
น้าทะเลประมาณ 700
เมตรขึ้นไป เช่น
เชียงใหม่และภูกระดึง
1.4 ป่าชายเลน หรือป่า
เลนน้าเค็ม เช่น โกงกาง
แสมทะเล ปรง พบได้
บริเวณต้นอ่าวไทย และ
ชายฝั่งของภาคตะวัน
ออกและตะวันตกของ
อ่าวไทยตั้งแต่เพชรบุรี
ไปถึงนราธิวาส กับทะเล
อันดามันตังแต่ระนอง
            ้
ถึงสตูล ซึ่งมีความอุดม
สมบูรณ์มากที่สุด
2. ป่าไม้ผลัดใบ ได้แก่
                         2.1 ป่าเบญจพรรณ
                         พบมากในภาคเหนือ
                         และภาคกลาง ไม้ที่
                         สาคัญได้แก่ สัก
                         ประดู่ แดง ตะแบก
                         เสลา มะค่าโมง
                         มะเกลือ เป็นป่า
                         เศรษฐกิจที่มี
                         ความสาคัญมาก
2.2 ป่าแดงหรือ
ป่าโคก หรือเต็ง
รัง ปรากฏในดิน
ที่ไม่ค่อยอุดม
สมบูรณ์พบอยู่ใน
ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ
ภาคทีมีป่าไม้หนาแน่นมากเรียงตามลาดับ คือ
     ่

  1.ภาคเหนือ
                    2.ภาคตะวันตก
  3.ภาคตะวันออก
                    4.ภาคใต้
   5.ภาคกลาง

                     6.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ความสาคัญของป่าไม้
    1. ต่อระบบนิเวศวิทยา ป่าไม้ช่วยป้องกันการชะล้างพังทลาย
ของดิน ทาให้ดินอุดมสมบูรณ์ เป็นต้นน้าลาธาร เป็นที่อยู่อาศัยของ
สัตว์ป่า เป็นต้น
    2. ด้านเศรษฐกิจ ป่าไม้ให้ผลผลิตที่นามาใช้ประโยชน์ต่อมนุษย์
ได้อย่างมากมาย
    3. ด้านนันทนาการ ป่าไม้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของมนุษย์
เป็นแหล่งศึกษาธรรมชาติ
วิทยา
วิธีการอนุรักษ์ป่าไม้ที่สาคัญคือ
1. การคุ้มครองป่าไม้
2. การควบคุมการตัดไม้
3. การปลูกป่า
4. การป้องกันไฟป่าและแมลงทาลายต้นไม้
5. การใช้ไม้อย่างประหยัด ใช้วัสดุอื่นแทนไม้ หรือการนาเศษไม้
กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
6. การปรามปราบผู้ลักลอบตัดไม้ทาลายป่า
7. การรณรงค์ปลูกจิตสานึกให้ประชาชนเห็นความสาคัญของป่าไม้
8. มีนโยบายเปิดป่าสัมปทานการทาป่าไม้เพื่อช่วยอนุรักษ์ป่า

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
Tatthep Deesukon
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
1 ecosystem 1
1 ecosystem 11 ecosystem 1
1 ecosystem 1
Wichai Likitponrak
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
tawinee
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
Alatreon Deathqz
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
Jiraporn
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
rdschool
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
rdschool
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
siwimon12090noonuch
 

Mais procurados (16)

Biohmes55
Biohmes55Biohmes55
Biohmes55
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
For
ForFor
For
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
1 ecosystem 1
1 ecosystem 11 ecosystem 1
1 ecosystem 1
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าโครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
 
ป่าไม้
ป่าไม้ป่าไม้
ป่าไม้
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
 
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pageใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 

Destaque

สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
Jiraporn
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
Jiraporn
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
Jiraporn
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
Jiraporn
 
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
peter dontoom
 
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
Nirut Uthatip
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
krupornpana55
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 

Destaque (11)

สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
 
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 

Semelhante a Forest

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Kanjanarut II
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
Duangsuwun Lasadang
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
sisirada
 
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
supanuch
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
Nongruk Srisukha
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
อาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
LookNam Intira
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
pangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
mingpimon
 

Semelhante a Forest (20)

ปกใน
ปกในปกใน
ปกใน
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
 
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ป่าไม้ (Forest)
ป่าไม้ (Forest)ป่าไม้ (Forest)
ป่าไม้ (Forest)
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
ทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชีย
 
The best conservation
The best conservationThe best conservation
The best conservation
 

Mais de Jiraporn

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013
Jiraporn
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom school
Jiraporn
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
Jiraporn
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
Jiraporn
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพ
Jiraporn
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
Jiraporn
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
Jiraporn
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
Jiraporn
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
Jiraporn
 
Attachment
AttachmentAttachment
Attachment
Jiraporn
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
Jiraporn
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
Jiraporn
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Jiraporn
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
Jiraporn
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
Jiraporn
 

Mais de Jiraporn (20)

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom school
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพ
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
M3 91c
M3 91cM3 91c
M3 91c
 
M3 91d
M3 91dM3 91d
M3 91d
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
Eco1
Eco1Eco1
Eco1
 
Attachment
AttachmentAttachment
Attachment
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 

Forest

  • 1.
  • 2. คาว่า "ป่าไม้" หมายความว่าอะไร ปลายศตวรรษที่ 13 ในยุโรป "ป่าไม้ หมายถึง พื้นที่ที่พระมหากษัตริย์ได้สงวนไว้ เพื่อใช้เป็นสถานที่สาหรับล่าสัตว์ของ ส่วนพระองค์ ส่วนสิทธิในการตัดไม้และการ ก่อสร้างแผ้วถางป่าเพื่อการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ยังเป็นของประชาชนทั่ว ๆ ไปอยู่ ปัจจุบันองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติได้ให้คานิยามคาว่า "ป่าไม้" หมายถึง "บรรดาพื้นที่ที่มีพฤกษชาตินานาชนิดปกคลุมอยู่โดยมีไม้ต้นขนาดต่าง ๆ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ โดยไม่คานึงว่าจะมีการทา ไม้ในพื้นที่ดังกล่าวหรือไม่ก็ตาม สามารถผลิตไม้หรือมีอิทธิพลต่อลมฟ้าอากาศ หรือต่อระบบของน้าในท้องถิ่น" นอกจากนี้พื้นที่ที่ได้ถูกตัดฟัน หรือแผ้วถางหรือโค่นเผาไม้ลง และมีเป้าหมายที่จะ ปลูกป่าขึ้นในอนาคต ก็นับ รวมเป็นพื้นที่ป่าไม้ด้วย แต่ทั้งนี้มิได้นับเอาป่าละเมาะ หรือหมู่ต้นไม้ที่ขึ้นอยู่นอกป่า หรือต้นไม้สองข้างทางคมนาคม หรือที่ยืนต้นอยู่ตาม หัวไร่ปลายนา หรือที่ขึ้นอยู่ในสวนสาธารณะ ให้เป็นป่าไม้ด้วย
  • 3. ประเภทของป่าไม้มีอะไรบ้าง ป่าไม้ในภาคต่าง ๆ ของโลกพอจะจาแนกออกได้ตามความ แตกต่างขององค์ประกอบต่าง ๆ เป็นประเภทใหญ่ๆ รวม 6 ประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละประเภท ก็มีขึ้นอยู่ในหลายท้องที่ กระจัดกระจายกันอยู่ทั่วไป ลักษณะและชนิดของพรรณไม้ที่ ขึ้นอยู่ก็แตกต่างกันไป มากบ้างน้อยบ้าง ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้
  • 4. 1. ป่าไม้สนในเขตหนาว (Cool coniferus forests) ขึ้นอยู่ทาง ซีกโลกเหนือในท้องที่ที่มีอากาศหนาวเท่านั้นมีลักษณะเป็นแถบ กว้างแผ่กระจายอยู่ทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป และเอเชีย ตั้งแต่อะลาสกา แคนาดา แถบกลุ่มประเทศใน สแกนดิเนเวียไปจนถึงไซบีเรีย เนื้อที่ป่าส่วนใหญ่อยู่ในไซบีเรีย ป่าชนิดนี้มีไม้เนื้ออ่อนหรือไม้ในตระกูลสนเขา(conifer) ขึ้นอยู่ อย่างหนาแน่น แต่ละท้องที่มีพรรณไม้เพียงไม่กี่ชนิด ซึ่งเป็น ต้นไม้ที่มีขนาดปานกลางและมีความเติบโตไล่เลี่ยกัน
  • 5. 2. ป่าไม้ผสมโซนอบอุ่น (Temperate mixed forests) ขึ้นอยู่ทางตอนกลางของซีกโลกเหนือเกือบทั้งหมด คือ ในยุโรปตอนกลาง อเมริกาเหนือ และเอเชียพรรณไม้ใน ป่าชนิดนี้มีมากกว่า ป่าสนในเขตหนาว มีทั้งป่าไม้ เนื้ออ่อน (soft wood) ซึ่งเป็นไม้ในตระกูลไม้สนเขา และ ป่าไม้เนื้อแข็ง
  • 6. 3. ป่าชื้นในโซนอบอุ่น (Warm temperate moist forests) ขึ้นอยู่ทั่วไปในแถบโซนอบอุ่นทั้งทางซีกโลกเหนือและใต้ ใน อเมริกาเหนือ มีอยู่ทางฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ทางทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอเมริกาใต้ นิวซีแลนด์ ชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของออสเตรเลียทาง ตอนใต้ของญี่ปุ่นและเกาหลีและตอนกลางของแผ่นดินใหญ่ จีน พรรณไม้ที่สาคัญ ได้แก่ ไม้สนชนิดต่าง ๆ ไม้โอ๊ก และ ยูคาลิปตัสของออสเตรเลีย
  • 7. 4. ป่าดงดิบแถบศูนย์สูตร (Equatorial rain forests) ขึ้นอยู่ทั่วไปในแถบโซนร้อนที่มีฝนตกชุกเกือบตลอดปี เป็นป่าไม้เนื้อแข็งที่มีพรรณไม้ขึ้นปะปนกันอยู่มากมาย หลายชนิด ซึ่งมีลักษณะและขนาดต่าง ๆ กัน ป่าชนิดนี้มี อยู่ในย่านลาตินอเมริกา แอฟริกา และ เอเซียตะวันออก เฉียงใต้
  • 8. 5. ป่าผสมชื้นแถบโซนร้อน (Tropical moist deciduous forests) ขึ้นอยู่ในแถบโซนร้อนที่มีฤดู แล้งเป็นระยะเวลาค่อนข้างนาน เช่น ในตอนใต้ของ อเมริกาเหนือและแอฟริกาย่านลาตินอเมริกา และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • 9. 6. ป่าแล้ง (Dry forests) ขึ้นอยู่ในทุกภาคของโลกที่มี ความแห้งจัด แต่ส่วนมากแล้วขึ้นอยู่ทางแถบโซน ร้อน พรรณไม้ที่ขึ้นอยู่เป็นไม้ขนาดเล็ก เตี้ย แคระ แกร็น และปะปนกันมากมายหลายชนิด แต่มีปริมาตร เนื้อไม้ต่อหน่วยเนื้อที่น้อยมาก ป่าส่วนใหญ่อยู่ใน แอฟริกาและออสเตรเลีย
  • 10. ป่าไม้ในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ป่าไม้ไม่ผลัดใบ ได้แก่ 1.1 ป่าดงดิบ พบใน บริเวณที่ฝนตกชุก ไม่มี ฤดูแล้ง ให้ประโยชน์ทาง เศรษฐกิจค่อนข้างสูง ได้แก่ ยาง ตะเคียน กะบาก และพันธุ์ไม้เล็กๆ เช่น ไผ่เถาวัลย์ ระกา เป็นต้น ป่าดงดิบมีมาก ในภาคใต้และภาค ตะวันออก
  • 11. 1.2 ป่าดิบเขา มีลักษณะ คล้ายป่าดงดิบ แต่มีตนไม้ ้ ขนาดใหญ่อยู่น้อยมาก ได้แก่ ไม้สกุลตอ และมีพืชประเภท มอส เฟิน กล้วยไม้ เกาะติดอยู่ มีประโยชน์ในด้านรักษา ต้นน้าลาธาร ป่าดิบเขา ปรากฏตามทิวเขาที่มีความสูง ตั้งแต่1,000 เมตรขึ้นไป
  • 13. 1.4 ป่าชายเลน หรือป่า เลนน้าเค็ม เช่น โกงกาง แสมทะเล ปรง พบได้ บริเวณต้นอ่าวไทย และ ชายฝั่งของภาคตะวัน ออกและตะวันตกของ อ่าวไทยตั้งแต่เพชรบุรี ไปถึงนราธิวาส กับทะเล อันดามันตังแต่ระนอง ้ ถึงสตูล ซึ่งมีความอุดม สมบูรณ์มากที่สุด
  • 14. 2. ป่าไม้ผลัดใบ ได้แก่ 2.1 ป่าเบญจพรรณ พบมากในภาคเหนือ และภาคกลาง ไม้ที่ สาคัญได้แก่ สัก ประดู่ แดง ตะแบก เสลา มะค่าโมง มะเกลือ เป็นป่า เศรษฐกิจที่มี ความสาคัญมาก
  • 15. 2.2 ป่าแดงหรือ ป่าโคก หรือเต็ง รัง ปรากฏในดิน ที่ไม่ค่อยอุดม สมบูรณ์พบอยู่ใน ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ
  • 16. ภาคทีมีป่าไม้หนาแน่นมากเรียงตามลาดับ คือ ่ 1.ภาคเหนือ 2.ภาคตะวันตก 3.ภาคตะวันออก 4.ภาคใต้ 5.ภาคกลาง 6.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 17. ความสาคัญของป่าไม้ 1. ต่อระบบนิเวศวิทยา ป่าไม้ช่วยป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดิน ทาให้ดินอุดมสมบูรณ์ เป็นต้นน้าลาธาร เป็นที่อยู่อาศัยของ สัตว์ป่า เป็นต้น 2. ด้านเศรษฐกิจ ป่าไม้ให้ผลผลิตที่นามาใช้ประโยชน์ต่อมนุษย์ ได้อย่างมากมาย 3. ด้านนันทนาการ ป่าไม้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของมนุษย์ เป็นแหล่งศึกษาธรรมชาติ วิทยา
  • 18. วิธีการอนุรักษ์ป่าไม้ที่สาคัญคือ 1. การคุ้มครองป่าไม้ 2. การควบคุมการตัดไม้ 3. การปลูกป่า 4. การป้องกันไฟป่าและแมลงทาลายต้นไม้ 5. การใช้ไม้อย่างประหยัด ใช้วัสดุอื่นแทนไม้ หรือการนาเศษไม้ กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ 6. การปรามปราบผู้ลักลอบตัดไม้ทาลายป่า 7. การรณรงค์ปลูกจิตสานึกให้ประชาชนเห็นความสาคัญของป่าไม้ 8. มีนโยบายเปิดป่าสัมปทานการทาป่าไม้เพื่อช่วยอนุรักษ์ป่า