SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 50
ประวัติลูกเสือโลก
โรเบิร์ต สตีเฟนสัน สไมธ์ เบเดน-โพเอลล์
(Robert Stephenson Smyth Baden -
Powell) หรือมักจะเรียกกันสั้น ๆ ว่าลอร์ด
เบเดน-โพเอลล์และรู้จักกันดีในวงการ
ลูกเสือในนาม บี.พี. (B.P.) คือผู้ที่ให้กาเนิด
กิจการลูกเสือ (SCOUT) ขึ้นมาในโลกใบนี้
บิดาเป็นนักบวชในคริสต์ศาสนา ชื่อ เอช. จี. เบเดน
โพเอลล์ ( H.G. Baden Powell )
เป็นศาสตรจารย์ในมหาวิทยาลัย อ็อกฟอร์ด เป็น
นักวิทยาศาสตร์ มารดาชื่อ นางเฮนริเอตต้า เกรช
สไมธ์
ท่านถึงแก่กรรม เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2484
( ค.ศ. 1941 ) ที่เมืองไนเยอรี ประเทศเคนยา
ในปี พ.ศ. 2451 ลอร์ด บาเดน เพาเวลล์ ได้แต่งหนังสือคู่มือการ
ฝึกอบรมลูกเสือขึ้นมาเล่มหนึ่ง มีชื่อว่า Scouting For
Boys และคาว่า “Scout” จึงใช้เป็นคาเรียกผู้ที่เป็นลูกเสือ
ซึ่งมีความหมายมาจาก
S ย่อมาจาก Sincerity แปลว่า ความจริงใจ
C ย่อมาจาก Courtesy แปลว่า ความสุภาพอ่อนโยน
O ย่อมาจาก Obedience แปลว่า การเชื่อฟัง
U ย่อมาจาก Unity แปลว่า ความเป็นใจเดียวกัน
T ย่อมาจาก Thrifty แปลว่า ความประหยัด
ในปี ค.ศ.1912 บี.พี.ได้เดินทางรอบโลกเพื่อไปพบกับลูกเสือ
ในประเทศต่างๆ เรื่องนี้เป็นจุดตั้งต้นของการลูกเสือที่จะ
เสริมสร้างความเป็นพี่น้องทั่วโลก สงครามโลกครั้งแรกได้ทา
ให้งานนี้หยุดชะงักลงชั่วขณะหนึ่ง แต่พอการรบพุ่งยุติลง งาน
นี้ก็เริ่มต้นใหม่ และในปีค.ศ. 1920 ลูกเสือจากทุกประเทศทั่ว
โลกก็ได้มาพบกันในกรุงลอนดอน เพื่อเข้าร่วมการชุมนุม
ลูกเสือระหว่างประเทศครั้งแรก กล่าวคือ เป็นการชุมนุมลูกเสือ
โลกครั้งแรก First World Jamboree
ความเป็นพี่น้องกันทั่วโลก
ประวัติลูกเสือไทย
กิจการลูกเสือไทยถือกาเนิด โดย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๖ เมื่อครั้งพระองค์มี
พระชนมายุ ๑๔ พรรษา ได้เสด็จไป
ศึกษา ณ ทวีปยุโรป ทรงศึกษา
ภาษาอังกฤษ ได้ทรงเรียนรู้ถึงการสู้รบ
เพื่อรักษาเมืองมาฟิคิง ของลอร์ด เบเด็ล
โพเอลล์ โดยใช้กองทหารเด็กเป็นกาลัง
ช่วยเหลือ ซึ่งปรากฏว่าได้ผลดีมาก
เมื่อทรงเสด็จขึ้นครองราชย์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดตั้งกองเสือ
ป่าเมื่อวันเสาร์ที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ ทรงพระราชทานคาขวัญว่า "
แม้หวังตั้งสงบ จงเตรียมรบให้พร้อมสรรพ ศัตรูกล้ามาประจัญ จะอาจสู้
ริปูสลาย" และหลังจากนั้นอีก ๒ เดือน ทรงจัดตั้งกองลูกเสือขึ้นใน
ประเทศไทย เป็นครั้งแรกที่ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง (โรงเรียนวชิราวุธ
วิทยาลัย ในปัจจุบัน) เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ นับเป็นประเทศ
ที่ 3 ของโลกรองจากสหรัฐอเมริกา จากนั้นนานาชาติในยุโรปจึงจัดตั้ง
กองลูกเสือของตนขึ้น ลูกเสือกลายเป็นองค์การสากลและมีความสัมพันธ์
กันทั่วโลก เป็นสื่อผูกมิตรไมตรีกันโดยใช้กฎของลูกเสือ 10 ประการ ผูก
สัมพันธ์กันไม่เว้นเชื้อชาติใด ศาสนาใดทั้งสิ้น ถือว่าลูกเสือทั่วโลกเป็นพี่
น้องกันหมด
ถือว่า วันที่ ๑ กรกฎาคม เป็นวันกาเนิดลูกเสือ
ไทย ทรงพระราชทานคติพจน์ให้แก่คณะ
ลูกเสือแห่งชาติว่า "เสียชีพอย่าเสียสัตย์" ลูกเสือ
คนแรกคือ " นายชัพพ์บุนนาค " (ต่อมาได้รับ
พระราชทานยศเป็น นายลิขิต สารสนอง)
เพราะเป็นผู้กล่าวคาปฏิญาณของลูกเสือได้เป็น
คนแรก
สัญลักษณ์ลูกเสือ
คาปฏิญาณของลูกเสือ
ด้วยเกียรติของข้า ข้าสัญญาว่า
ข้อ 1. ข้าจะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ข้อ 2. ข้าจะช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมือ
ข้อ 3 . ข้าจะปฏิบัติตามกฎของลูกเสือ
ข้อ 1. ลูกเสือมีเกียรติเชื่อถือได้
ข้อ 2. ลูกเสือมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และซื่อตรงต่อผู้
มีพระคุณ
ข้อ 3. ลูกเสือมีหน้าที่กระทาตนให้เป็นประโยชน์และช่วยเหลือผู้อื่น
ข้อ 4. ลูกเสือเป็นมิตรของคนทุกคนและเป็นพีน้องกับลูกเสืออื่นทั่วโลก
ข้อ 5. ลูกเสือเป็นผู้สุภาพเรียบร้อย
ข้อ 6. ลูกเสือมีความเมตตากรุณาต่อสัตว์
ข้อ 7. ลูกเสือเชื่อฟังคาสั่งของบิดามารดา และผู้บังคับบัญชาด้วยความเคารพ
ข้อ 8. ลูกเสือมีใจร่าเริง และไม่ย่อท้อต่อความยากลาบาก
ข้อ 9. ลูกเสือเป็นผู้มัธยัสถ์
ข้อ 10. ลูกเสือประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ
กฎของลูกเสือ
ลูกเสือ คือ เยาวชนชายและหญิงอายุระหว่าง 8 – 25 ปี ที่รับการ
ฝึกอบรมตามหลักสูตรวิชาลูกเสือ โดยยึดมั่นในหลักการ
(Principle) วิธีการ (Method) และวัตถุประสงค์ (Purpose) ของการ
ลูกเสือ (Scouting) อย่างเคร่งครัดตามพระราชบัญญัติลูกเสือ (ฉบับที่
3) พ.ศ. 2528 และข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. 2509 ได้กาหนดประเภทและเหล่า
ลูกเสือว่า ลูกเสือมี 4 ประเภท คือ สารอง สามัญ สามัญรุ่น
ใหญ่ วิสามัญ และอาจจัดให้มีลูกเสือเหล่าสมุทร และลูกเสือเหล่า
อากาศได้สาหรับลูกเสือที่เป็นหญิง อาจใช้ชื่อเรียกว่า เนตรนารี หรือ
ชื่ออื่นซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติให้
หมายถึง ลูกเสือที่เป็นหญิงด้วย
ประเภทของลูกเสือ
การแต่งกายชุดลูกเสือ
ลูกเสือสารอง
ลูกเสือสามัญ-เนตรนารี
ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่-เนตรนารี
การเปิด-ปิด ประชุมกองลูกเสือ
พิธีเปิด -> ชักธงขึ้น -> สวดมนต์ -> สงบนิ่ง -> ตรวจ -> แยก
1. เปิด – ผู้กากับยืนอยู่หน้าเสาธง หันหลังให้เสาธง ห่าง
ประมาณ 3 ก้าว
2. ผู้กากับใช้คาสั่งเรียก "กอง" ใช้สัญญาณมือเรียกแถวรูป
ครึ่งวงกลม
ลาดับขั้นตอนพิธีเปิดประชุมกองลูกเสือ
การเรียกเข้าแถวครึ่งวงกลม
3. ชักธงขึ้น - เมื่อลูกเสือเข้าแถวเรียบร้อยแล้วผู้กากับขยับ
ตนเองเฉียงออกไปด้านข้างประมาณ 3- 4 ก้าว แล้ว สั่ง “กอง-
ตรง” แล้วลูกเสือที่เป็นหมู่บริการหรือทาหน้าที่หมู่บริการ 2 คน
เป็นผู้ชักธง
ฝากพลองไว้กับเพื่อนด้านข้าง จากนั้นวิ่งเหยาะ ๆ ไป
ตรงหน้าเสาธงห่างประมาณ 3 ก้าว ทั้งสองแสดงความเคารพ
ทา “วันทยหัตถ์” พร้อมกัน ลดมือลงแล้วคนที่อยู่ด้านขวามือ
ก้าวไปข้างหน้า 2 ก้าวเพื่อแก้เชือกที่ผูกธงออกแล้วถอยหลัง
ออกมาตามเดิม มอบเชือกธงให้กับคนที่จะชักส่วนตัวเองถือ
เชือกด้านที่มีธงชาติไว้
เมื่อพร้อมแล้ว ผู้กากับเป็นผู้สั่ง “ กองเคารพธงชาติ..วันทยา -
วุธ” (ในกรณีมีอาวุธทุกคน) หมู่บริการนาร้องเพลงชาติ เมื่อจบ
เพลงคนขวามือคนเดิมก้าวเข้าไป 2 ก้าว ผูกเชือกธงแล้วถอยหลัง
ออกมาที่เดิมทั้งสองทา “วันทยหัตถ์” พร้อมกัน ลดมือ
ลง กลับหลังหันวิ่งเหยาะๆ กลับเข้าที่ของตนรับพลองคืนแล้ว
ทาวันทยาวุธเหมือนลูกเสือในแถว ซึ่งขณะนั้น ลูกเสือทั้งหมด
ยังทาความเคารพในท่าอาวุธอยู่ (ส่วนผู้กากับและรองผู้กากับอื่น
ๆให้ลดมือลงจากการทาวันทยหัตถ์พร้อมกับลูกเสือทั้งสองที่
เป็นผู้ชักธงขึ้น) ผู้กากับสั่ง “เรียบ-อาวุธ”
4. สวดมนต์ - พอลูกเสือทั้งหมดลดมือลงแล้วทุกคนอยู่ในท่าตรง ถอด
หมวกเตรียมสวดมนต์(ลูกเสือพักพลองโดยการยกส่วนล่างของไม้พลอง
มาวางไว้กึ่งกลางระหว่างปลายเท้าทั้งสองไม้พลองส่วนบนพิงข้อศอก
ด้านในที่งอเป็นมุมฉากรับไว้) จากนั้นหมู่บริการนาสวดมนต์
5. สงบนิ่ง - เมื่อสวดมนต์เสร็จทุกคนสงบนิ่ง
6. ตรวจ - ในตอนนี้เป็นการตรวจเพื่อให้เกิดความพร้อมในการเรียน
หรือตรวจความสะอาด หรืออื่น ๆ แล้วแต่ความเหมาะสม ก่อนตรวจผู้
กากับสั่งก่อนว่าจะให้ใครตรวจ (รองผู้กากับหรือนายหมู่) ตรวจอะไร
เมื่อตรวจเสร็จก็ต้องมีการรายงานผลการตรวจต่อผู้กากับ
7. แยก - เมื่อผู้ตรวจรายงานเสร็จ ผู้กากับอาจจะ
สรุปหรือพูดอะไรเล็กน้อย จากนั้นสั่ง “กอง-ตรง”
สั่งต่อ “กอง-แยก” ลูกเสือทาขวาหัน แล้วแยก
ย้ายกันไป
ลาดับขั้นตอนพิธีปิดกองลูกเสือ
พิธีปิด -> นัดหมาย -> ตรวจ(เน้นการตรวจเครื่องแบบ) -> ชักธงลง -> เลิก
1. ปิด - ผู้กากับยืนอยู่หน้าเสาธง ห่างจากเสาธงพอสมควร เรียก
ลูกเสือเข้าแถวรูปครึ่งวงกลม
2. นัดหมาย - เมื่อลูกเสือเข้าแถวเรียบร้อยแล้ว ผู้กากับสั่ง “กอง-
ตรง”ตามด้วย “ตามระเบียบ-พัก” จากนั้นผู้กากับนัดหมายเป็นการนัด
หมายให้ลูกเสือได้รู้ หรือเตรียมการในการเรียนชั่วโมงหน้า
3. ตรวจ – การตรวจควรจะเป็นการตรวจเครื่องแบบลูกเสือทั้งนี้เพราะลูกเสือ
จะต้องเดินทางกลับบ้านจะต้องแต่งเครื่องแบบให้ถูกต้องเรียบร้อย เพื่อเป็น
การปลูกฝังความมีระเบียบ วินัย ให้กับลูกเสือ
4. ชักธงลง - เมื่อสวดมนต์เสร็จทุกคนสงบนิ่ง
5. ตรวจ - เมื่อตรวจเสร็จผู้กากับ สั่ง “กอง-ตรง) หมู่บริการสองคนวิ่งเหยาะ
ๆ ออกมาที่หน้าเสาธง ยืนห่างจากเสาธง 3 ก้าว แล้วทา วันทยหัตถ์พร้อมกัน
มือลง คนที่ยืนด้านขวามือก้าวไปข้างหน้า2 ก้าวแก้เชือกธงชาติที่ผูกกับเสาธง
ออกมาถอยหลัง 2 ก้าว พร้อมเชือกที่มัดธงชาติกลับมาที่เดิม มอบเชือก
ให้กับคนที่ยืนทางซ้ายมือถือไว้เมื่อพร้อมแล้ว ผู้กากับ สั่ง “เคารพธงชาติ -
วันทยาวุธ”
ผู้กากับเป่านกหวีด พร้อมลูกเสือที่ถือเชือกด้านมีธงชาติค่อยๆ ชักธงลง
ตามจังหวะการเป่านกหวีดของผู้กากับเมื่อธงลงมาแล้วผู้ที่ชักธงลงก้าวไป
ข้างหน้า 2 ก้าว นาธงไปผูกไวที่เสาธง ถอยหลัง 2 ก้าวมาที่เดิมทา
วันทยหัตถ์ พร้อมกัน ลดมือลง กลับหลังหันวิ่งเหยาะๆ เข้าที่เดิมรับ
พลองคืน ทาวันทยาวุธ ผู้กากับมองดูความเรียบร้อยจากนั้น สั่ง “เรียบ-
อาวุธ” สั่งต่อ “ตามระเบียบ-พัก”
6. เลิก - ผู้กากับสั่ง “กอง-ตรง” สั่งต่อ “กอง-เลิก” ลูกเสือทุกคนทา
วันทยาวุธ แล้วเรียบอาวุธ
(กรณีมีอาวุธ) จากนั้นทาขวาหัน แล้วแยกย้ายกันไป
ประมวลภาพกิจกรรม
พิธีเปิดประชุมกอง
เคารพธงชาติ
ตรวจความสะอาดของเล็บมือ
รายงานผลการตรวจเล็บ
เกม/ร้องเพลง
เข้าฐาน
ฐานเงื่อน
ฐานการปฐมพยาบาล
ฐานสัญญาณนกหวีด
ฐานกฎและคาปฏิญาณ
http://scouttroops-krumax.blogspot.com/p/blog-page_9045.html
แหล่งอ้างอิง
http://www.kroobannok.com/blog/32655
http://www.act.ac.th/boyscout/index_7.htm
คณะผู้จัดทา
นายธีรธรรม ศรีประไหม 54010517018 ETC
นางสาวจิรภัทร์ โฉมวิไล 54010513010 EN
นายทนงศักดิ์ ไชยเสนา 54010513017 EN
นางสาวธัญญชล ลดาวัลย์ 54010513020 EN
นางสาวนัทชา ทองกาล 54010513023 EN
นายปัญญพงศ์ ธีรพงศธร 54010513026 EN
นางสาวธนัญญา พัฒนตรีคุปต์ 54010513045 EN
นายนฤนนท์ ประธรรมสาร 54010513047 EN
นางสาวกมลชนก ปัญญัง 54010513057 EN
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุนApirak Potpipit
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาenksodsoon
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 

Mais procurados (20)

ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 

Destaque

สาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือสาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือpreecha klamrassamee
 
สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือProud N. Boonrak
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]preecha klamrassamee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10watdang
 
ประวัติลูกเสือโลก
ประวัติลูกเสือโลกประวัติลูกเสือโลก
ประวัติลูกเสือโลกNew Nan
 
รายงานกิจกรรมลูกเสือ49
รายงานกิจกรรมลูกเสือ49รายงานกิจกรรมลูกเสือ49
รายงานกิจกรรมลูกเสือ49Dmath Danai
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1ดอย บาน ลือ
 

Destaque (9)

สาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือสาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือ
 
สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ประวัติลูกเสือโลก
ประวัติลูกเสือโลกประวัติลูกเสือโลก
ประวัติลูกเสือโลก
 
รายงานกิจกรรมลูกเสือ49
รายงานกิจกรรมลูกเสือ49รายงานกิจกรรมลูกเสือ49
รายงานกิจกรรมลูกเสือ49
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Semelhante a ลูกเสือ-เนตรนารี

ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Wataustin Austin
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80Rose Banioki
 
เสือโคร่ง โครงงาน เกวลิน
เสือโคร่ง โครงงาน เกวลินเสือโคร่ง โครงงาน เกวลิน
เสือโคร่ง โครงงาน เกวลินSuvimol Lhuangpraditkul
 
Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookJintana Deenang
 
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านตอหลัง
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านตอหลัง รายงานการพัฒนาหมู่บ้านตอหลัง
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านตอหลัง ntgmail
 

Semelhante a ลูกเสือ-เนตรนารี (8)

ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
 
เสือโคร่ง โครงงาน เกวลิน
เสือโคร่ง โครงงาน เกวลินเสือโคร่ง โครงงาน เกวลิน
เสือโคร่ง โครงงาน เกวลิน
 
Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital Book
 
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านตอหลัง
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านตอหลัง รายงานการพัฒนาหมู่บ้านตอหลัง
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านตอหลัง
 

Mais de Jirapat Chomvilai

Mais de Jirapat Chomvilai (14)

การสังเกตโรงเรียน
การสังเกตโรงเรียนการสังเกตโรงเรียน
การสังเกตโรงเรียน
 
Electronic Journal
Electronic JournalElectronic Journal
Electronic Journal
 
Paper Journal
Paper JournalPaper Journal
Paper Journal
 
Starbucks : Culture
Starbucks : CultureStarbucks : Culture
Starbucks : Culture
 
Symmetry : CLIL2
Symmetry : CLIL2Symmetry : CLIL2
Symmetry : CLIL2
 
Balance : CLIL1
Balance : CLIL1Balance : CLIL1
Balance : CLIL1
 
วิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอน
วิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอนวิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอน
วิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอน
 
Season : Writing Skill
Season : Writing SkillSeason : Writing Skill
Season : Writing Skill
 
Caffeine : Reading Skill
Caffeine : Reading SkillCaffeine : Reading Skill
Caffeine : Reading Skill
 
Place : Speaking Skill
Place : Speaking SkillPlace : Speaking Skill
Place : Speaking Skill
 
Food : Listening Skill
Food : Listening SkillFood : Listening Skill
Food : Listening Skill
 
Solar system : CBI
Solar system : CBISolar system : CBI
Solar system : CBI
 
Holiday : PPP
Holiday : PPPHoliday : PPP
Holiday : PPP
 
Personality traits : B-Slim
Personality traits : B-Slim Personality traits : B-Slim
Personality traits : B-Slim
 

ลูกเสือ-เนตรนารี

  • 1.
  • 2. ประวัติลูกเสือโลก โรเบิร์ต สตีเฟนสัน สไมธ์ เบเดน-โพเอลล์ (Robert Stephenson Smyth Baden - Powell) หรือมักจะเรียกกันสั้น ๆ ว่าลอร์ด เบเดน-โพเอลล์และรู้จักกันดีในวงการ ลูกเสือในนาม บี.พี. (B.P.) คือผู้ที่ให้กาเนิด กิจการลูกเสือ (SCOUT) ขึ้นมาในโลกใบนี้
  • 3. บิดาเป็นนักบวชในคริสต์ศาสนา ชื่อ เอช. จี. เบเดน โพเอลล์ ( H.G. Baden Powell ) เป็นศาสตรจารย์ในมหาวิทยาลัย อ็อกฟอร์ด เป็น นักวิทยาศาสตร์ มารดาชื่อ นางเฮนริเอตต้า เกรช สไมธ์ ท่านถึงแก่กรรม เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2484 ( ค.ศ. 1941 ) ที่เมืองไนเยอรี ประเทศเคนยา
  • 4. ในปี พ.ศ. 2451 ลอร์ด บาเดน เพาเวลล์ ได้แต่งหนังสือคู่มือการ ฝึกอบรมลูกเสือขึ้นมาเล่มหนึ่ง มีชื่อว่า Scouting For Boys และคาว่า “Scout” จึงใช้เป็นคาเรียกผู้ที่เป็นลูกเสือ ซึ่งมีความหมายมาจาก S ย่อมาจาก Sincerity แปลว่า ความจริงใจ C ย่อมาจาก Courtesy แปลว่า ความสุภาพอ่อนโยน O ย่อมาจาก Obedience แปลว่า การเชื่อฟัง U ย่อมาจาก Unity แปลว่า ความเป็นใจเดียวกัน T ย่อมาจาก Thrifty แปลว่า ความประหยัด
  • 5. ในปี ค.ศ.1912 บี.พี.ได้เดินทางรอบโลกเพื่อไปพบกับลูกเสือ ในประเทศต่างๆ เรื่องนี้เป็นจุดตั้งต้นของการลูกเสือที่จะ เสริมสร้างความเป็นพี่น้องทั่วโลก สงครามโลกครั้งแรกได้ทา ให้งานนี้หยุดชะงักลงชั่วขณะหนึ่ง แต่พอการรบพุ่งยุติลง งาน นี้ก็เริ่มต้นใหม่ และในปีค.ศ. 1920 ลูกเสือจากทุกประเทศทั่ว โลกก็ได้มาพบกันในกรุงลอนดอน เพื่อเข้าร่วมการชุมนุม ลูกเสือระหว่างประเทศครั้งแรก กล่าวคือ เป็นการชุมนุมลูกเสือ โลกครั้งแรก First World Jamboree ความเป็นพี่น้องกันทั่วโลก
  • 6. ประวัติลูกเสือไทย กิจการลูกเสือไทยถือกาเนิด โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ เมื่อครั้งพระองค์มี พระชนมายุ ๑๔ พรรษา ได้เสด็จไป ศึกษา ณ ทวีปยุโรป ทรงศึกษา ภาษาอังกฤษ ได้ทรงเรียนรู้ถึงการสู้รบ เพื่อรักษาเมืองมาฟิคิง ของลอร์ด เบเด็ล โพเอลล์ โดยใช้กองทหารเด็กเป็นกาลัง ช่วยเหลือ ซึ่งปรากฏว่าได้ผลดีมาก
  • 7. เมื่อทรงเสด็จขึ้นครองราชย์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดตั้งกองเสือ ป่าเมื่อวันเสาร์ที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ ทรงพระราชทานคาขวัญว่า " แม้หวังตั้งสงบ จงเตรียมรบให้พร้อมสรรพ ศัตรูกล้ามาประจัญ จะอาจสู้ ริปูสลาย" และหลังจากนั้นอีก ๒ เดือน ทรงจัดตั้งกองลูกเสือขึ้นใน ประเทศไทย เป็นครั้งแรกที่ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง (โรงเรียนวชิราวุธ วิทยาลัย ในปัจจุบัน) เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ นับเป็นประเทศ ที่ 3 ของโลกรองจากสหรัฐอเมริกา จากนั้นนานาชาติในยุโรปจึงจัดตั้ง กองลูกเสือของตนขึ้น ลูกเสือกลายเป็นองค์การสากลและมีความสัมพันธ์ กันทั่วโลก เป็นสื่อผูกมิตรไมตรีกันโดยใช้กฎของลูกเสือ 10 ประการ ผูก สัมพันธ์กันไม่เว้นเชื้อชาติใด ศาสนาใดทั้งสิ้น ถือว่าลูกเสือทั่วโลกเป็นพี่ น้องกันหมด
  • 8. ถือว่า วันที่ ๑ กรกฎาคม เป็นวันกาเนิดลูกเสือ ไทย ทรงพระราชทานคติพจน์ให้แก่คณะ ลูกเสือแห่งชาติว่า "เสียชีพอย่าเสียสัตย์" ลูกเสือ คนแรกคือ " นายชัพพ์บุนนาค " (ต่อมาได้รับ พระราชทานยศเป็น นายลิขิต สารสนอง) เพราะเป็นผู้กล่าวคาปฏิญาณของลูกเสือได้เป็น คนแรก
  • 10. คาปฏิญาณของลูกเสือ ด้วยเกียรติของข้า ข้าสัญญาว่า ข้อ 1. ข้าจะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ข้อ 2. ข้าจะช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมือ ข้อ 3 . ข้าจะปฏิบัติตามกฎของลูกเสือ
  • 11. ข้อ 1. ลูกเสือมีเกียรติเชื่อถือได้ ข้อ 2. ลูกเสือมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และซื่อตรงต่อผู้ มีพระคุณ ข้อ 3. ลูกเสือมีหน้าที่กระทาตนให้เป็นประโยชน์และช่วยเหลือผู้อื่น ข้อ 4. ลูกเสือเป็นมิตรของคนทุกคนและเป็นพีน้องกับลูกเสืออื่นทั่วโลก ข้อ 5. ลูกเสือเป็นผู้สุภาพเรียบร้อย ข้อ 6. ลูกเสือมีความเมตตากรุณาต่อสัตว์ ข้อ 7. ลูกเสือเชื่อฟังคาสั่งของบิดามารดา และผู้บังคับบัญชาด้วยความเคารพ ข้อ 8. ลูกเสือมีใจร่าเริง และไม่ย่อท้อต่อความยากลาบาก ข้อ 9. ลูกเสือเป็นผู้มัธยัสถ์ ข้อ 10. ลูกเสือประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ กฎของลูกเสือ
  • 12. ลูกเสือ คือ เยาวชนชายและหญิงอายุระหว่าง 8 – 25 ปี ที่รับการ ฝึกอบรมตามหลักสูตรวิชาลูกเสือ โดยยึดมั่นในหลักการ (Principle) วิธีการ (Method) และวัตถุประสงค์ (Purpose) ของการ ลูกเสือ (Scouting) อย่างเคร่งครัดตามพระราชบัญญัติลูกเสือ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2528 และข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. 2509 ได้กาหนดประเภทและเหล่า ลูกเสือว่า ลูกเสือมี 4 ประเภท คือ สารอง สามัญ สามัญรุ่น ใหญ่ วิสามัญ และอาจจัดให้มีลูกเสือเหล่าสมุทร และลูกเสือเหล่า อากาศได้สาหรับลูกเสือที่เป็นหญิง อาจใช้ชื่อเรียกว่า เนตรนารี หรือ ชื่ออื่นซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติให้ หมายถึง ลูกเสือที่เป็นหญิงด้วย ประเภทของลูกเสือ
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 21. พิธีเปิด -> ชักธงขึ้น -> สวดมนต์ -> สงบนิ่ง -> ตรวจ -> แยก 1. เปิด – ผู้กากับยืนอยู่หน้าเสาธง หันหลังให้เสาธง ห่าง ประมาณ 3 ก้าว 2. ผู้กากับใช้คาสั่งเรียก "กอง" ใช้สัญญาณมือเรียกแถวรูป ครึ่งวงกลม ลาดับขั้นตอนพิธีเปิดประชุมกองลูกเสือ
  • 23. 3. ชักธงขึ้น - เมื่อลูกเสือเข้าแถวเรียบร้อยแล้วผู้กากับขยับ ตนเองเฉียงออกไปด้านข้างประมาณ 3- 4 ก้าว แล้ว สั่ง “กอง- ตรง” แล้วลูกเสือที่เป็นหมู่บริการหรือทาหน้าที่หมู่บริการ 2 คน เป็นผู้ชักธง ฝากพลองไว้กับเพื่อนด้านข้าง จากนั้นวิ่งเหยาะ ๆ ไป ตรงหน้าเสาธงห่างประมาณ 3 ก้าว ทั้งสองแสดงความเคารพ ทา “วันทยหัตถ์” พร้อมกัน ลดมือลงแล้วคนที่อยู่ด้านขวามือ ก้าวไปข้างหน้า 2 ก้าวเพื่อแก้เชือกที่ผูกธงออกแล้วถอยหลัง ออกมาตามเดิม มอบเชือกธงให้กับคนที่จะชักส่วนตัวเองถือ เชือกด้านที่มีธงชาติไว้
  • 24. เมื่อพร้อมแล้ว ผู้กากับเป็นผู้สั่ง “ กองเคารพธงชาติ..วันทยา - วุธ” (ในกรณีมีอาวุธทุกคน) หมู่บริการนาร้องเพลงชาติ เมื่อจบ เพลงคนขวามือคนเดิมก้าวเข้าไป 2 ก้าว ผูกเชือกธงแล้วถอยหลัง ออกมาที่เดิมทั้งสองทา “วันทยหัตถ์” พร้อมกัน ลดมือ ลง กลับหลังหันวิ่งเหยาะๆ กลับเข้าที่ของตนรับพลองคืนแล้ว ทาวันทยาวุธเหมือนลูกเสือในแถว ซึ่งขณะนั้น ลูกเสือทั้งหมด ยังทาความเคารพในท่าอาวุธอยู่ (ส่วนผู้กากับและรองผู้กากับอื่น ๆให้ลดมือลงจากการทาวันทยหัตถ์พร้อมกับลูกเสือทั้งสองที่ เป็นผู้ชักธงขึ้น) ผู้กากับสั่ง “เรียบ-อาวุธ”
  • 25. 4. สวดมนต์ - พอลูกเสือทั้งหมดลดมือลงแล้วทุกคนอยู่ในท่าตรง ถอด หมวกเตรียมสวดมนต์(ลูกเสือพักพลองโดยการยกส่วนล่างของไม้พลอง มาวางไว้กึ่งกลางระหว่างปลายเท้าทั้งสองไม้พลองส่วนบนพิงข้อศอก ด้านในที่งอเป็นมุมฉากรับไว้) จากนั้นหมู่บริการนาสวดมนต์ 5. สงบนิ่ง - เมื่อสวดมนต์เสร็จทุกคนสงบนิ่ง 6. ตรวจ - ในตอนนี้เป็นการตรวจเพื่อให้เกิดความพร้อมในการเรียน หรือตรวจความสะอาด หรืออื่น ๆ แล้วแต่ความเหมาะสม ก่อนตรวจผู้ กากับสั่งก่อนว่าจะให้ใครตรวจ (รองผู้กากับหรือนายหมู่) ตรวจอะไร เมื่อตรวจเสร็จก็ต้องมีการรายงานผลการตรวจต่อผู้กากับ
  • 26.
  • 27.
  • 28. 7. แยก - เมื่อผู้ตรวจรายงานเสร็จ ผู้กากับอาจจะ สรุปหรือพูดอะไรเล็กน้อย จากนั้นสั่ง “กอง-ตรง” สั่งต่อ “กอง-แยก” ลูกเสือทาขวาหัน แล้วแยก ย้ายกันไป
  • 29. ลาดับขั้นตอนพิธีปิดกองลูกเสือ พิธีปิด -> นัดหมาย -> ตรวจ(เน้นการตรวจเครื่องแบบ) -> ชักธงลง -> เลิก 1. ปิด - ผู้กากับยืนอยู่หน้าเสาธง ห่างจากเสาธงพอสมควร เรียก ลูกเสือเข้าแถวรูปครึ่งวงกลม 2. นัดหมาย - เมื่อลูกเสือเข้าแถวเรียบร้อยแล้ว ผู้กากับสั่ง “กอง- ตรง”ตามด้วย “ตามระเบียบ-พัก” จากนั้นผู้กากับนัดหมายเป็นการนัด หมายให้ลูกเสือได้รู้ หรือเตรียมการในการเรียนชั่วโมงหน้า
  • 30. 3. ตรวจ – การตรวจควรจะเป็นการตรวจเครื่องแบบลูกเสือทั้งนี้เพราะลูกเสือ จะต้องเดินทางกลับบ้านจะต้องแต่งเครื่องแบบให้ถูกต้องเรียบร้อย เพื่อเป็น การปลูกฝังความมีระเบียบ วินัย ให้กับลูกเสือ 4. ชักธงลง - เมื่อสวดมนต์เสร็จทุกคนสงบนิ่ง 5. ตรวจ - เมื่อตรวจเสร็จผู้กากับ สั่ง “กอง-ตรง) หมู่บริการสองคนวิ่งเหยาะ ๆ ออกมาที่หน้าเสาธง ยืนห่างจากเสาธง 3 ก้าว แล้วทา วันทยหัตถ์พร้อมกัน มือลง คนที่ยืนด้านขวามือก้าวไปข้างหน้า2 ก้าวแก้เชือกธงชาติที่ผูกกับเสาธง ออกมาถอยหลัง 2 ก้าว พร้อมเชือกที่มัดธงชาติกลับมาที่เดิม มอบเชือก ให้กับคนที่ยืนทางซ้ายมือถือไว้เมื่อพร้อมแล้ว ผู้กากับ สั่ง “เคารพธงชาติ - วันทยาวุธ”
  • 31. ผู้กากับเป่านกหวีด พร้อมลูกเสือที่ถือเชือกด้านมีธงชาติค่อยๆ ชักธงลง ตามจังหวะการเป่านกหวีดของผู้กากับเมื่อธงลงมาแล้วผู้ที่ชักธงลงก้าวไป ข้างหน้า 2 ก้าว นาธงไปผูกไวที่เสาธง ถอยหลัง 2 ก้าวมาที่เดิมทา วันทยหัตถ์ พร้อมกัน ลดมือลง กลับหลังหันวิ่งเหยาะๆ เข้าที่เดิมรับ พลองคืน ทาวันทยาวุธ ผู้กากับมองดูความเรียบร้อยจากนั้น สั่ง “เรียบ- อาวุธ” สั่งต่อ “ตามระเบียบ-พัก” 6. เลิก - ผู้กากับสั่ง “กอง-ตรง” สั่งต่อ “กอง-เลิก” ลูกเสือทุกคนทา วันทยาวุธ แล้วเรียบอาวุธ (กรณีมีอาวุธ) จากนั้นทาขวาหัน แล้วแยกย้ายกันไป
  • 36.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 44.
  • 48.
  • 50. คณะผู้จัดทา นายธีรธรรม ศรีประไหม 54010517018 ETC นางสาวจิรภัทร์ โฉมวิไล 54010513010 EN นายทนงศักดิ์ ไชยเสนา 54010513017 EN นางสาวธัญญชล ลดาวัลย์ 54010513020 EN นางสาวนัทชา ทองกาล 54010513023 EN นายปัญญพงศ์ ธีรพงศธร 54010513026 EN นางสาวธนัญญา พัฒนตรีคุปต์ 54010513045 EN นายนฤนนท์ ประธรรมสาร 54010513047 EN นางสาวกมลชนก ปัญญัง 54010513057 EN คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม