SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
Baixar para ler offline
รายงาน
เรื่อง พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษา

                 อ. วจนะ ภูผานี




                   จัดทาโดย
 นาย พงศ์พิสุทธิ์ แสนธรรมพล 54010911124 MK543

   นายฐิศิวฒน์ ด่านประเสริ ฐ 54010911172 MK543
           ั

     นาย ธงไท โพธิยนต์ 54010911027 MK 543
                   ั

  นาย พีร์นิธิ พฤทธิ์ พรชนัน 54010911041 MK 543




          มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คณะบัญชีและการจัดการ สาขาวิชา การตลาด
คานา
           วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษาและปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม
การบริ โภคอาหารของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐมดังนั้นจึงควรจัดเอกสารทางด้านอาหารและ
โภชนาการที่ทนสมัยให้นกศึกษาไว้ศึกษาค้นคว้า รวมทั้งจัดนิทรรศการเพื่อให้ความรู ้แก่นกศึกษาเพิ่มมาก
               ั         ั                                                         ั
ขึ้น บิดา – มารดา ของนักศึกษาควรมีส่วนร่ วมในการให้ความรู ้ให้คาปรึ กษาเกี่ยวกับการบริ โภคอาหารที่
ถูกต้องกับนักศึกษาด้วย




                                                                   จัดทาโดย

                                               นาย พงศ์พิสุทธิ์ แสนธรรมพล 54010911124 MK543

                                               นายฐิศิวฒน์ ด่านประเสริ ฐ 54010911172 MK543
                                                       ั

                                              นาย ธงไท โพธิยนต์ 54010911027 MK 543
                                                            ั

                                              นาย พีร์นิธิ พฤทธิ์ พรชนัน 54010911041 MK 543
สารบัญ
เรื่อง                                               หน้ า

ตอนที่ 1 ปั จจัยส่ วนบุคคลของนักศึกษา                 1-2
ตอนที่ 2 ปั จจัยเกี่ยวกับครอบครัวนักศึกษา              3
ตอนที่ 3 ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร            4-5
ตอนที่ 4 พฤติกรรมการบริ โภคอาหาร                     6-7
ตอนที่ 5 ทดสอบสมมติฐาน                                8

สรุ ป และข้อเสนอแนะ                                  9-11

อ้ างอิง                                              12
งานวิจัย
                                พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษา
                                     มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
                                       ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

        การวิจยเรื่ อง พฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม ผลการ
              ั
วิเคราะห์ขอมูลผูวจยได้นาเสนอโดยแบ่งเป็ น 5 ตอน ดังนี้ คือ
          ้     ้ิั

ตอนที่ 1 ปั จจัยส่ วนบุคคลของนักศึกษา
ตอนที่ 2 ปั จจัยเกี่ยวกับครอบครัวนักศึกษา
ตอนที่ 3 ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร
ตอนที่ 4 พฤติกรรมการบริ โภคอาหาร
ตอนที่ 5 ทดสอบสมมติฐาน
ตอนที่ 1 ปัจจัยส่ วนบุคคลของนักศึกษา
ปั จจัยพื้นฐานของนักศึกษา ประกอบด้วย เพศ อายุ ศาสนาที่นบถือ บุคคลที่นกศึกษาอาศัยอยู่
                                                        ั            ั
ด้วย และรายได้ที่นกศึกษาได้รับจากบิดา – มารดา หรื อผูปกครอง ผลการศึกษา มีรายละเอียดดังตาราง
                    ั                                ้
ตารางที่ 1 จานวนและร้ อยละข้ อมูลทัวไปของนักศึกษา
                                   ่

ข้ อมูลทัวไปของนักศึกษา
         ่                                                   จานวน           ร้ อยละ
เพศ
               ชาย                                           165             42.2
               หญิง                                          226             57.8
               รวม                                           391             100.00
ช่ วงอายุ (ปี )
               18-21                                         369             94.4
               มากกว่า 21                                    22               5.6
               รวม                                           391             100.00
บุคคลทีนักศึกษาอาศัยอยู่ด้วย
             ่
               บิดา – มารดา                                  176             45.0
               บิดา                                          7               1.8
               มารดา                                         22              5.6
                  ่
               อยูหอพัก                                      143             36.6
               บุคคลอื่น                                     43              11.0
               รวม                                           391             100.00
ตารางที่ 1.2 จานวนและค่ าร้ อยละข้ อมูลทัวไปของนักศึกษา
                                         ่
ข้ อมูลทัวไปของนักศึกษา
           ่                                                 จานวน           ร้ อยละ
รายได้นิสิตที่ได้รับ/เดือน
               น้อยกว่า2,000 บาท                             59              15.1
               2,000-3,999 บาท                               228             58.3
               4,000-5,999 บาท                               79              20.2
               มากกว่า 5,999 บาท                             19              4.9
               ไม่ตอบ                                        6               1.5
               รวม                                           391             100.00
จากตาราง มีผลการวิเคราะห์จาแนกตามข้อมูลทัวไปของนักศึกษาได้ ดังนี้
                                                      ่
1.) เพศ พบว่า จานวนนักศึกษาที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างนั้นกว่าครึ่ งหนึ่งเป็ นนักศึกษาเพศหญิง
คิดเป็ นร้อยละ 57.8 และเพศชาย คิดเป็ นร้อยละ 42.2
2.) ช่วงอายุ พบว่า อายุต่าสุ ด 18 ปี อายุสูงสุ ด 24 ปี อายุโดยเฉลี่ย 20.2 S.D. .91 กลุ่ม
ตัวอย่างที่ศึกษาส่ วนใหญ่มีอายุ 18 – 21 ปี คิดเป็ นร้อยละ 94.4 ที่เหลือมีอายุมากกว่า 21 ปี
3.) ศาสนา พบว่า นักศึกษาที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง ส่ วนใหญ่นบถือศาสนาพุทธ คิดเป็ นร้อยละ95.9 ที่เหลือเพียง
                                                             ั
4.1 นับถือศาสนาอื่น โดยแยกเป็ นศาสนาคริ สต์ ร้อยละ 2.6 และอิสลาม ร้อยละ 1.5ตามลาดับ
4.) บุคคลที่นกศึกษาอาศัยอยูดวย พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 45.0 อาศัยอยูกบบิดา – มารดา
                ั              ่ ้                                            ่ ั
              ่                                      ่ ั
รองลงมาอยูหอพัก คิดเป็ นร้อยละ 36.6 อาศัยอยูกบบิดาหรื อมารดา คิดเป็ นร้อยละ 7.4 โดยแยกเป็ น
                                                 ่ ั
อาศัยกับบิดา คิดเป็ นร้อยละ 1.8 และอาศัยอยูกบมารดา คิดเป็ นร้อยละ 5.6 และพักอาศัยอยูกบบุคคล่ ั
อื่น คิดเป็ นร้อยละ 11.0
5.) รายได้ที่นกศึกษาได้รับ พบว่า รายได้ต่าสุ ด 1,000 บาท รายได้สูงสุ ด 15,000 บาท
                  ั
รายได้เฉลี่ย 3,682.8 บาท S.D. = 1,671.7 กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่ได้รับเงินจากบิดา – มารดา หรื อผูปกครอง
                                                                                               ้
2,00 – 3,999 บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ 58.3 รองลงมาได้รับเงิน 4,000 – 5,999 บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อย
ละ 20.2 ได้รับเงินน้อยกว่า 2,000 บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ 15.1 และได้รับเงินมากกว่า 5,999 บาทต่อ
เดือน คิดเป็ นร้อยละ 4.9
ตอนที่2 ปัจจัยเกียวกับครอบครัว
                 ่

จานวนและค่าร้อยละข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัว
ข้ อมูลเกียวกับครอบครัว
          ่                                                         จานวน               ร้ อยละ
ระดับการศึกษาบิดา
            ไม่ได้เรี ยนหนังสื อ                                        3               0.8
            ชั้นประถมปี ที่4                                            83              21.2
            ชั้นประถมปี ที่ 6 หรื อ7                                    24              6.1
            มัธยมศึกษาตอนต้น                                            12              3.0
            มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.                                      57              14.6
            อนุปริ ญญา/ปวส.                                             60              15.3
            ปริ ญญาตรี                                                  114             29.2
            ปริ ญญาโท                                                   28              7.2
            ปริ ญญาเอก                                                  10              26
            รวม                                                         391             100.00
ระดับการศึกษามารดา
            ไม่ได้เรี ยนหนังสื อ                                        4               1.0
            ชั้นประถมปี ที่4                                            113             28.9
            ชั้นประถมปี ที่ 6 หรื อ7                                    28              7.2

1.) ระดับการศึกษาของบิดา พบว่า บิดาของนักศึกษาจบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี คิดเป็ น
ร้อยละ 29.2รองลงมาจบชั้ นประถมปี ที่ 4 ร้อยละ 21.2 และจบการศึกษาสู งกว่าปริ ญญาตรี เพียงร้อยละ9.8
โดยแยกเป็ นจบปริ ญญาโท ร้อยละ 7.2 ส่ วนจบปริ ญญาเอกมีเพียง ร้อยละ 2.6 ตามลาดับ
2.) ระดับการศึกษาของมารดา พบว่า มารดานักศึกษาจบชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 คิดเป็ นร้อย
ละ 28.9 รองลงมาซึ่ งมีจานวนใกล้เคียงกันคือ จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ร้อยละ 28.4 และจบ
40การศึกษาสู งกว่าปริ ญญาตรี เพียงร้อยละ 5.9 โดยแยกเป็ นจบระดับปริ ญญาโท และปริ ญญาเอก ร้อย
ละ 4.1 และ 0.8 ตามลาดับ
ตอนที่3 จานวนและร้ อยละของความรู้ เกียวกับการบริ โภคอาหาร
                                     ่

ข้ อคาถาม                                                    ตอบถูก          ตอบผิด
                                                                 จานวน (ร้ อยละ) จานวน (ร้ อยละ)
1. ปริ มาณของประเภทอาหารที่คนเราควรรับประทาน                 264             127
จากมากไปหาน้อยใน 1 วัน                                       (67.5)          (32.5)
2 .อาหารจานใดที่ให้สารอาหารประเภทไขมันมากที่สุด              246             145
                                                                    (62.9)          (37.1)
3. อาหารฟาสต์ฟู้ด เช่น แซนวิส แฮมเบอร์ เกอร์ มีส่วน          343             48
ประกอบของสารอาหารอะไรน้อยที่สุด                              (87.7)          (12.3)
4. อาหารชุดใดให้โปรตีนมากที่สุด                                     196             195
                                                                    (50.1)          (49.9)
5. พืชใดที่ให้สารอาหารต่างจากข้ออื่น                         292             99
                                                                    (74.7)          (25.3)
6. อาหารในข้อใดให้คุณค่าอาหารแทนเนื้ อสัตว์                  310             81
                                                                    (59.3)          (40.7)
 7. ถ้านิสิตไม่อยากเป็ นโรคโลหิ ตจางควรกินอาหารในข้อ         349             42
ใด                                                           (89.3)          (10.7)
          8. เพื่อป้ องกันอาหารท้องผูก ควรกินอาหารในข้อใด           238             153
                                                                    (60.9)           (39.1)
        9. อาหารที่ไม่ควรกินเป็ นประจาคือข้อใด                      185             206
                                                                    (47.3)          (52.7)
        10. ข้อใดเป็ นอาหารและเครื่ องดื่มที่ควรรับประทาน           261             130
                                                                    (66.8)          (33.2)
        11. เพื่อป้ องกันโรคออกตามไรฟัน นักศึกษาควรเลือก            136             255
        กินผลไม้ในข้อใด                                             (34.8)           (65.2)
        12. ถ้าไม่กินผัก/ผลไม้ที่มีสีเหลือง เช่น ฟักทอง             235             156
        มะละกอสุ ก จะทาให้มีปัญหาสุ ขภาพอย่างไร                     (60.1)          (39.9)

        13. อาหารมื้อเช้าที่นิสิตควรเลือกกินที่ให้สารอาหาร          350              41
        ครบ 5 หมู่คือข้อใด                                          (89.5)          (10.5)
14. การรับประทานอาหารประเภทแป้ งและน้ าตาลใน                      370                21
        ปริ มาณมากเกินความต้องการของร่ างกาย                              (94.6)              (5.4)
        จะถูกเก็บสะสมในรู ปใด

        ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร พบว่า ร้อยละ 62.9 ของนักศึกษามีความรู ้เกี่ยวกับ
                                               ่
สารอาหารประเภทไขมัน ร้อยละ 50.1 มีความรู ้วาอาหารชนิดใดให้คุณค่าของสารอาหารประเภท
โปรตีน มีนกศึกษาทราบว่าจะเลือกรับประทานอาหารชนิ ดที่ป้องกันโรคโลหิ ตจาง คิดเป็ นร้อยละ
            ั
89.3 นักศึกษาไม่ทราบว่าผลไม้ชนิดใดมีวตามินซี มากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ 65.2 ส่ วนใหญ่นกศึกษามี
                                         ิ                                               ั
        ความรู ้เกี่ยวกับอาหารที่มีสารอาหารครบ 5 หมู่ และมีความรู ้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารประเภท
แป้ งและน้ าตาลปริ มาณมากเกินความต้องการจะถูกนาไปเก็บสะสมในรู ปใด คิดเป็ นร้อยละ 89.6 และ
94.6 ตามลาดับ

3,2คะแนนความรู้ เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร
ช่ วงคะแนน                                                        จานวน            ร้ อยละ
        1 - 5 คะแนน (ความรู้ระดับน้อย/ต่า)                        73               18.7
        6 -10 คะแนน ( ความรู้ระดับพอใช้)                          251              64.2
        11-15 คะแนน (ความรู้ระดับดี)                              67               17.1
        รวม                                                       391              100.00

          คะแนนความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร พบว่า คะแนนต่าสุ ด 2 คะแนนสู งสุ ด 14
คะแนนโดยเฉลี่ย 8.9 S.D.= 2.5 เกณฑ์การตัดสิ นเกี่ยวกับความรู ้การบริ โภคอาหารเป็ น 3 กลุ่ม โดย
ใช้ช่วงส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่า กลุ่มที่มีความรู ้นอยเป็ นผูที่ได้คะแนนอยูระหว่าง 1 – 5 คะแนน
                                                          ้        ้          ่
คิดเป็ นร้อยละ 18.7 ส่ วนกลุ่มที่มีความรู ้ระดับพอใช้ เป็ นผูที่ได้คะแนนอยูระหว่าง 6-10 คะแนน คิด
                                                              ้            ่
เป็ นร้อยละ 64.2 สาหรับกลุ่มที่มีความรู ้ระดับดีเป็ นผูที่ได้คะแนนอยูระหว่าง 11-15 คะแนน มีเพียง
                                                       ้               ่
ร้อยละ 17.1
ตอนที่ 4 พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษา

ศึกษาพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษา ปรากฏดังตาราง 4.5 – 4.6
ตารางที่ 4.5 จานวนและร้อยละพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษา
n =391

พฤติกรรม                                   ทาประจา         ทาบ่ อยครั้ง ทานานๆ          ไม่ เคยทา
                                          จานวน(ร้ อยละ) จานวน(ร้ อยละ) จานวน(ร้ อยละ) จานวน(ร้ อยละ)
  1. ฉันดื่มน้ าอัดลม                           32             151           203              5
                                              (8.2)          (38.6)        (51.9)           (1.3)
  2. ฉันกินเครื่ องในสัตว์ เช่น ตับ หัวใจ ไส้หมู 20             138         174              59
                                                (5.1)         (35.3)       (44.5)         (15.1)
  3. ฉันกินขนมหวาน ไอศกรี ม คุกกี้ ขนมเค้ก 73                    171        146               1
                                              (18.7)           (43.7)       (37.3)           (0.3)
4. ฉันดื่มนม                                   250              110           20            11
                                               (63.9)           (28.1)       (5.1)        (0.3)
5. ฉันกินอาหารที่มีรสจัด                         73                139       161              18
                                               (18.7)            (35.5)       (41.2)      (4.6)
6. ฉันกินอาหารที่มีเส้นใยและกากอาหารมาก 181                       166           43             1
                                              (46.3)              (42.5)      (10.9)        (0.3)
7. ฉันกินอาหารที่ปรุ งเองมากว่าซื้ อนอกบ้าน 164                   112           107             8
                                                (41.9)            (28.6)       (27.4)         (2.0)
8. ในการเลือกซื้ ออาหารฉันคานึงถึงสารอาหาร 73                     144            146            28
                                                (18.7)             (38.8)       (37.6)        (7.2)
9. ฉันดื่มน้ าสะอาดอย่างน้อยวันละ 6- 8 แก้ว 176                      133          76             6
                                                (45.0)              (34.0)      (19.5)         (1.5)
10. ฉันกินอาหารตรงเวลาทุกมื้อ                      36              168         177            31
                                                  (9.2)             (43.0)       (45.3)        (2.6)
11. ฉันใช้ชอนกลางตักอาหารเวลากินอาหาร 101
              ้                                                      94          174          22
                                                  (25.8)           (24.1)      (44.5)        (5.6)
12. ฉันกินอาหารด้วยความเร่ งรี บ                 50              178            153           10
                                                (12.8)          45.5)          (31.7)        (2.6)
          พฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษาพบว่า นักศึกษา ดื่มนมเป็ นประจา
คิดเป็ นร้อยละ 63.9 รองลงมาดื่มบ่อยครั้ง ร้อยละ 28.1 และไม่เคยดื่มเลย ร้อยละ 2.8 นักศึกษาที่
รับประทานอาหารที่มีเส้นใยและกากอาหารเป็ นประจา ร้อยละ 46.3 รองลงมาบ่อยครั้ง ร้อยละ 42.5
นักศึกษาที่รับประทานอาหารที่ปรุ งเองมากกว่าชื้ออาหารนอกบ้าน เป็ นประจา คิดเป็ นร้อยละ 41.9
รองลงมาบ่อยครั้ง ร้อยละ 28.6 นักศึกษาที่ดื่มน้ าสะอาดอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว เป็ นประจา ร้อยละ
45.0 รองลงมาบ่อยครั้ง ร้อยละ 34.0 สาหรับการรับประทานอาหารตรงเวลาทุกมื้อนักศึกษาทานาน ๆ
ครั้ง คิดเป็ นร้อยละ 45.3 รองลงมาทาบ่อยครั้ง ร้อยละ 43.0 ส่ วนรับประทานอาหารตรงเวลาทุกมื้อมี
นักศึกษาปฏิบติเพียง ร้อยละ 9.2 ส่ วนวิธีการรับประทานอาหารได้แก่ การใช้ชอนกลาง นักศึกษาทา
                 ั                                                         ้
นาน ๆ ครั้ง ร้อยละ 44.5 รองลงมาทาบ่อยครั้ง ร้อยละ 24.1 ทาเป็ นประจามีเพียง ร้อยละ 25.8 และมี
นักศึกษาที่ไม่เคยใช้ชอนกลางในการตักอาหารรับประทานเลย ร้อยละ 5.6 ส่ วนใหญ่นกศึกษามีการ
                       ้                                                            ั
ล้างผัก และ ผลไม้ ให้สะอาดก่อนรับประทาน ทาเป็ นประจา คิดเป็ นร้อยละ82.4 ในการเลือก
                                                  ั ่
รับประทานอาหารในร้านที่ดูสะอาดนักศึกษาปฏิบติบอยครั้ง คิดเป็ นร้อยละ 58.6 รองลงมาทาเป็ นประจา
ร้อยละ 33.0
]
คะแนนพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษา
ช่วงคะแนน                                                                  จานวน             ร้อยละ
          12 – 24 (ระดับต้องปรับปรุ ง)                                       52              13.3
          25 – 37 (ระดับพอใช้)                                             281               71.9
          38 – 50 (ระดับดี)                                                58                14.8
          รวม                                                              391               100.00

คะแนนต่าสุ ด 12 คะแนน คะแนนสู งสุ ด 50 คะแนน
คะแนนเฉลี่ย 32.5 S.D. = 7.3

        ผูวจยกาหนดเกณฑ์การตัดสิ น แบ่งเป็ น 3 กลุ่ม โดยใช้ 1ช่วงส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผล
          ้ิั
ปรากฏว่ากลุ่มที่มีพฤติกรรมการบริ โภคอาหารที่อยูในระดับต้องปรับปรุ ง คิดเป็ นร้อยละ 13.3 โดยมี
                                               ่
คะแนนอยูระหว่าง 12 – 24 คะแนน ส่ วนกลุ่มที่มีพฤติกรรมการบริ โภคอาหารระดับพอใช้ คิดเป็ นร้อย
          ่
ละ 71.9 โดยมีคะแนนอยูระหว่าง 25 – 37 คะแนน สาหรับกลุ่มที่มีพฤติกรรมระดับดี คิดเป็ นร้อยละ
                        ่
                    ่
14.8 โดยมีคะแนนอยูระหว่าง 38 – 50 คะแนน โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 32.5 คะแนน
ตอนที่ 5 การทดสอบสมมติฐาน

การทดสอบสมมุติฐานนี้ใช้สถิติหาความสาพันธ์โดยหาค่าไค-สแควร์ (Chi - Square) และค่า r
ของ Pearson product moment co-efficient

สมมติฐานที่ 1 ปั จจัยส่ วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ศาสนา ลักษณะการพัก
                                       ั
อาศัย รายได้ที่ได้รับ มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการบริ โภคอาหาร
                  ปั จจัยส่ วนบุคคล ระดับพฤติกรรม      การบริ โภคอาหาร       χ       df
                                    ต้องปรับปรุ ง      พอใช้          ดี
เพศ
        ชาย                              22            116            27
                                         (13.3)        (70.3)         (16.4)
                                                                             .76     1
        หญิง                             30            165           22
                                         (13.3)         (73.0)       (13.7)
อายุ
        18 – 21 ปี                       50            272           47
                                         ( 13.4)       (74)          (12.6)
                                                                             .37     2
        มากกว่า                          21            5             12 5
                                         (23)         (54)          (23)



                                           ั                                  ่
        จากตาราง พบว่า เพศ มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการบริ โภคอาหาร (.76) อยูในระดับ
                                 ั                                 ่
ค่อนข้างสู ง อายุ มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการบริ โภคอาหาร (.37) อยูในระดับค่อนข้างต่า
สรุ ป และข้ อเสนอแนะ

        การวิจยเรื่ องปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ
                ั
นครปฐม มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษาและหาความสัมพันธ์
              ั
ระหว่างปั จจัยบางประการกับพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างมหาวิทยาลัยราช
ภัฏนครปฐม ได้จานวน 391 คน
        ผูวจยดาเนินการวิจยโดยใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือ แบ่งเป็ น 4 ตอน คือ ปั จจัยส่ วนบุคคล
          ้ิั                ั
ของนักศึกษา ปั จจัยเกี่ยวกับครอบครัว ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร พฤติกรรมการบริ โภคอาหาร
และนาแบบสอบถามไปใช้กบกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จานวน 391 คน
                               ั
สถิติทาการวิเคราะห์คือ (Chi-Square) และสัมประสิ ทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ( Pearson s product
moment correlation coefficient )ที่ระดับความสาคัญทางสถิติ .05

        สรุ ปผลการวิจัย

       ปัจจัยส่ วนบุคคล
       อายุโดยเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่นกศึกษา คือ 20.2 ปี อายุต่าสุ ด 18 ปี อายุสูงสุ ด 24 ปี ส่ วน
                                        ั
                              ่ ั                                      ่
ใหญ่นบถือศาสนาพุทธ อาศัยอยูกบบิดา - มารดา มากที่สุด รองลงมาอยูหอ ส่ วนใหญ่มีรายได้ที่ได้รับ
     ั
จากครอบครัวเฉลี่ย 3,682 บาทต่อเดือน

          ปัจจัยเกียวกับครอบครัว
                   ่
          1. ข้อมูลพื้นฐานของครอบครัวนักศึกษา
การศึกษาสู งสุ ดของบิดา จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี เกือบร้อยละ 30 รองลงมาระดับ
ประถมศึกษา 4 ร้อยละ 21.2 มารดาของนักศึกษาจบการศึกษาชั้นประถม 4 และจบระดับปริ ญญาตรี ที่
มีจานวนใกล้เคียงกัน คิดเป็ นร้อยละ 28.9 และ 28.4 ตามลาดับ บิดามีอาชีพรับราชการหรื อเป็ น
พนักงานวิสาหกิจ คิดเป็ นร้อยละ 33.5 รองลงมาค้าขาย ร้อยละ 20.5 ส่ วนมารดามีอาชีพรับราชการ
หรื อพนักงานวิสาหกิจคิดเป็ นร้อยละ 29.7 รองลงมาไม่ได้ประกอบอาชีพร้อยละ23.8 สมาชิกใน
ครอบครัวมีระหว่างจานวน 4-5 คน มากที่สุด รองลงมามีสมาชิกอยู่ ระหว่าง 6-7 คน รายได้ของ
ครอบครัว 10,000-19,999 บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ 18.9 รองลงมา 20,000-29,999บาทต่อเดือน
คิดเป็ นร้อยละ 18.7
2. ลักษณะทัวไปในการรับประทานอาหารของครอบครัวนักศึกษา
               ่
ผลการศึกษาพบว่าครอบครัวนักศึกษามีพฤติกรรมการบริ โภคอาหารที่เหมาะสม คิดเป็ น
ร้อยละ61.6พฤติกรรมไม่เหมาะสม ร้อยละ 38.4 สาหรับผลการศึกษาถึงลักษณะทัวไปในการ     ่
รับประทานอาหารของครอบครัวนักศึกษา ส่ วนใหญ่สมาชิกในครอบครัวนักศึกษา ดื่มนมเป็ นประจา
และรับประทานผัก ผลไม้ ร้อยละ 63.9 และ 46.3 ตามลาดับ ครอบครัวนักศึกษาปรุ งอาหาร
รับประทานเอง ร้อยละ 41.9 กว่าครึ่ งหนึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับการกินอาหารที่ทาให้ไม่เป็ นโรคโลหิ ต
จาง เช่น ตับหมู คิดเป็ นร้อยละ 89.3
          3. ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร
จากผลการศึกษาพบว่า นักศึกษากว่าครึ่ งหนึ่งมีความรู ้ระดับพอใช้ คิดเป็ นร้อยละ 64.2
รองลงมา ความรู้ระดับต้องปรับปรุ ง ร้อยละ 18.7 และความรู้ระดับดีมีเพียง ร้อยละ 17.1 โดยมีค่า
คะแนนเฉลี่ย 8.9 คะแนนต่าสุ ด 2 คะแนน สู งสุ ด 14 คะแนน (คะแนนเต็ม 15 คะแนน)
ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหารนั้นที่นกศึกษามีความรู ้ในระดับดี ได้แก่ ความรู้ในเรื่ อง
                                          ั
การรับประทานอาหารที่เป็ นปั จจัยเสี่ ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ เช่น การรับประทานอาหารประเภทแป้ ง
และน้ าตาลในปริ มาณที่มากเกินความต้องการของร่ างกาย และถูกเก็บสะสมในรู ปไขมันซึ่ งจะมีผลทา
ให้เกิดโรคอ้วน โรคความดันโลหิตสู ง โรคหัวใจ โรคเบาหวานฯลฯ การรับประทานอาหารครบ 5 หมู่
ใน 1 วัน ไม่จาเป็ นต้องดื่มอาหารเสริ มสาเร็ จรู ป เป็ นต้น
ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหารที่อยูในระดับต้องปรับปรุ ง ได้แก่ หมวด
                                        ่
สารอาหารโปรตีน เช่น อาหารที่ทดแทนสารอาหารโปรตีนได้ สารอาหารที่ให้วิตามินและเกลื่อแร่
และการเลือกรับประทานอาหารตามความเหมาะสมของฤดูกาล เช่นฤดูหนาว ฤดูร้อน ควร
รับประทานอาหารอย่างไร รวมทั้งประโยชน์ของอาหารที่มีเส้นใยและกากอาหาร เป็ นต้น
          4. พฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษา
                                                ่
นักศึกษามีการบริ โภคอาหาร โดยส่ วนรวมอยูในระดับพอใช้ ร้อยละ 71.9 ระดับดี ร้อยละ
14.8 และระดับต้องปรับปรุ ง ร้อยละ 13.3 โดยมีคะแนนเฉลี่ย 32.5 คะแนน ต่าสุ ด 12 คะแนน สู งสุ ด
50 คะแนน (คะแนนเต็ม 60 คะแนน)

                                                                  ่
         ผลการศึกษา พบว่า นักศึกษามีพฤติกรรมการบริ โภคอาหารที่อยูในระดับดีน้ นเป็ น
                                                                             ั
พฤติกรรมเกี่ยวกับ สุ ขวิทยาในการรับประทานอาหาร ความปลอดภัยในการรับประทานอาหาร ได้แก่
การล้างผักและผลไม้ ก่อนรับประทาน การเลือกรับประทานอาหารในร้านอาหารที่ดูสะอาดและการ
รับประทานอาหารที่ปรุ งร้อน มีฝาปิ ดมิดชิด การดื่มนมเป็ นประจา และการรับประทานอาหารเย็นตรง
เวลาเป็ นประจา
่
          สาหรับพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษาที่อยูในระดับต้องปรับปรุ งนั้น เป็ น
พฤติกรรมเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ต่อร่ างกาย และยังทาให้เกิดโทษต่อ
ร่ างกายด้วย รวมทั้งไม่คานึงถึงการได้รับสารอาหารประเภทฟาดต์ฟู้ด เช่น ไก่ทอด พิซซ่า ฮอดด็อก
เป็ นต้น และการรับประทานอาหารประเภทแป้ งและน้ าตาลเป็ นประจา รวมทั้งพฤติกรรมการบริ โภค
เกี่ยวกับ วิธีการบริ โภคอาหารของนักศึกษา ที่ตองปรับปรุ งในเรื่ อง การรับประทานอาหารด้วย
                                             ้
ความเร่ งรี บ การรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา การซื้ ออาหาร/ผลไม้ตามรถเข็นรับประทาน เป็ นต้น

            อภิปราย
            จากการวิเคราะห์และสรุ ปผลการวิจยเรื่ อง พฤติกรรมการบริ โภคของนักศึกษา
                                               ั
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม : ผูวจยอภิปรายในประเด็นสาคัญดังนี้
                                    ้ิั
ผลการศึกษาพบว่านักศึกษาราชภัฎนครปฐม มีความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหารอยูในระดับ
                                                                               ่
พอใช้ คิดเป็ นร้อยละ 64.2 ลองลงมามีความรู้ระดับต้องปรับปรุ ง ร้อยละ 18.7 และมีความรู้ในระดับ
ดีเพียง ร้อยละ 17.1 ยังพบอีกว่า บิดาและมารดาของนักศึกษาราชภัฎนครปฐมจบการศึกษาสู งสุ ดชั้น
ประถม 4 คิดเป็ นร้อยละ 21.2 และ 28.9 ตามลาดับ ซึ่ งอาจส่ งผลให้นกศึกษามีความในการบริ โภค
                                                                  ั
             ่
อาหารอยูในระดับพอใช้ ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยของ สมฤดี วีระพงษ์ (2535) ศึกษาเรื่ อง
                                                  ั
พฤติกรรมการบริ โภคอาหารจานด่วนทันใจของนักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนในสังกัดกรม
สามัญศึกษา กรุ งเทพมหานคร พบว่า นักเรี ยนที่มีผปกครองมีการศึกษาระดับอุดมศึกษา มีความรู้
                                                    ู้
เรื่ องเกี่ยวกับอาหารดีกว่านักเรี ยนที่มีผปกครองมีการศึกษาระดับประถมศึกษา เนื่องจากบิดาหรื อ
                                          ู้
มารดาที่มีการศึกษาดี จะมีโอกาสค้นคว้าหาความรู ้จากแหล่งความรู ้ต่าง ๆ ได้มากกว่าสามารถให้
คาแนะนา อบรม และให้ความรู ้เกี่ยวกับโภชนาการที่ถูกต้องแก่เด็กได้ดีกว่าผูปกครองที่มีการศึกษา
                                                                          ้
น้อยกว่า
            เมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่านักศึกษาราชภัฎนครปฐมมีความรู ้ในระดับน้อยในเรื่ องหมวด
สารอาหารที่ให้โปรตีน หมวกวิตามินและเกลือแร่ เช่น อาหารชนิ ดใดที่ให้โปรตีนสู งซึ่ งมีท้ งในรู ป
                                                                                         ั
ชนิดของอาหารที่บารุ งกระดูกและฟัน อาหารที่ป้องกันเลือดออกตามไรฟัน ประเภทของอาหารที่ทา_
เอกสารอ้างอิง
กรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2529) ปัจจัยทีมีผลต่ อพฤติกรรมสุ ขภาพ .รายงานการวิจยสุ ข
                                                        ่                                  ั
          ศึกษา. กรุ งเทพฯ : ฝ่ ายส่ งเสริ มสุ ขภาพ กรมพละศึกษา
กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุ ข และภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุ ขศาสตร์
          มหาวิทยาลัยมหิดล. (2529). รายงานผลการสารวจภาวะโภชนาการและการบริโภค
          อาหารของคนไทย. (อัดสาเนา)
กองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุ ข. (2525). สรุ ปผลการเฝ้ าระวังโรค 2535. กรุ งเทพฯ
กระทรวงสาธารณสุ ข.
          ไกรสิ ทธิ์ ตันตศิรินทร์ และพตธนี วินิจจะกูล. (2525). โภชนาการและภาวะสั งคม ปัญหา
โภชนาการในประเทศไทย. กรุ งเทพฯ. : สมาคมวิจยมหาวิทยาลัย.
                                                      ั
เครื อวัลย์ หุตานุวตร, ศาสตร์ เสาวคนธ์, สิ นี ช่วงฉ่ า, นฤมล สิ นสุ พรรณ, เบญจา พนมรัตน์,
                    ั
เบญญา สุ ธนธัญยากร, และณรงค์ หุตานุวตร. (2529). พฤติกรรมการกินของชาว
                                               ั
ชนบทภาค อีสานตอนบน. รายงานการประชุมเชิงปฏิบติการเร่ ง สาเหตุและปัจจัยที่
                                                          ั
มีผลต่อพฤติกรรมการกินของคนไทย พ.ศ. 2529. กรุ งเทพฯ: สถาบันวิจยโภชนาการ   ั
มหาวิทยาลัยมหิดล.
จรรยา สุ วรรณทัต.(2527). ความเชื่อเกียวกับการอบรมเลียงดูเด็ก.เอกสารการสอนชุดวิชา
                                           ่                ้
พัฒนาการและการเลี้ยงดูเด็ก มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. อักษรไทย.กรุ งเทพฯ.950 น.
จรรยา สุ วรรณทัต, ดวงเดือน พันธุมนาวิน และ เพ็ญแข ประจันปัจจนึก. 2521.
พฤติกรรมศาสตร์ เล่ม 1. กรุ งเทพฯ : ไทยวัฒนาภานิช จากัด
จันทร์ทิพย์ ลิ้มกองกุล. (2526). การเลือกอาหาร. เอกสารการสอนชุดวิชาโภชนาการกับชีวต       ิ
มนุษย์ หน่วยที่ 11-15. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช.
จาเนียร ช่วงโชติ, จิตรา วสุ วานิช และ ศิรินนท์ เพชรทองคา. (2521). จิตวิทยาและเด็กวัยรุ่ น.
                                                 ั
กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
ฉัตรแก้ว ประวาทะนาวิน. (2526). อาหารทีมีประโยชน์ . เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา อาหารและ
                                                   ่
โภชนาการพื้นฐาน หน่วยที่ 1-4. กรุ งเทพฯ:มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Korakrit Jindadang
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
Nattapon
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
nang_phy29
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
Montree Jareeyanuwat
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
Jiraporn
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
Nattapon
 
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยก
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยกหมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยก
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยก
Tongsamut vorasan
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555
Teacher Sophonnawit
 

Mais procurados (20)

SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
 
Ssr jum54
Ssr jum54Ssr jum54
Ssr jum54
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
 
2560 project 9,22
2560 project 9,222560 project 9,22
2560 project 9,22
 
Sar2555 1
Sar2555 1Sar2555 1
Sar2555 1
 
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
Sar สพค56
Sar สพค56Sar สพค56
Sar สพค56
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่  4จุดเน้นที่  4
จุดเน้นที่ 4
 
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยก
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยกหมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยก
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยก
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555
 
Intro bio m5_61
Intro bio m5_61Intro bio m5_61
Intro bio m5_61
 

Destaque

บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
Kittichai Pinlert
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
Saiiew
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
Kobwit Piriyawat
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
kand-2539
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
Wichai Likitponrak
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
Piyarerk Bunkoson
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
Suriya Phongsiang
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
Annop Phetchakhong
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Destaque (19)

12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data
การวิเคราะห์ข้อมูล (Dataการวิเคราะห์ข้อมูล (Data
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้าสรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
 

Semelhante a ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
Dok-Dak R-Sasing
 
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...
oryornoi
 
การศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัยการศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัย
Sirirat Yimthanom
 
คำบรรยาย การศึกษา
คำบรรยาย การศึกษาคำบรรยาย การศึกษา
คำบรรยาย การศึกษา
phiphitthanawat
 
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
sirimongkol9990
 

Semelhante a ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (20)

สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
 
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...
โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงก...
 
2562 final-project -warun
2562 final-project -warun2562 final-project -warun
2562 final-project -warun
 
การศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัยการศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัย
 
2562 final-project -warun (1)
2562 final-project -warun (1)2562 final-project -warun (1)
2562 final-project -warun (1)
 
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
 
คำบรรยาย การศึกษา
คำบรรยาย การศึกษาคำบรรยาย การศึกษา
คำบรรยาย การศึกษา
 
วัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพวัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพ
 
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
 
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์381 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
 
The health behavior of obesity of student health
The health behavior of obesity of student healthThe health behavior of obesity of student health
The health behavior of obesity of student health
 
รวมบท
รวมบทรวมบท
รวมบท
 
แผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลมแผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลม
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์
079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์
079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
 
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
 
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
 

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

  • 1. รายงาน เรื่อง พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษา อ. วจนะ ภูผานี จัดทาโดย นาย พงศ์พิสุทธิ์ แสนธรรมพล 54010911124 MK543 นายฐิศิวฒน์ ด่านประเสริ ฐ 54010911172 MK543 ั นาย ธงไท โพธิยนต์ 54010911027 MK 543 ั นาย พีร์นิธิ พฤทธิ์ พรชนัน 54010911041 MK 543 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะบัญชีและการจัดการ สาขาวิชา การตลาด
  • 2. คานา วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษาและปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม การบริ โภคอาหารของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐมดังนั้นจึงควรจัดเอกสารทางด้านอาหารและ โภชนาการที่ทนสมัยให้นกศึกษาไว้ศึกษาค้นคว้า รวมทั้งจัดนิทรรศการเพื่อให้ความรู ้แก่นกศึกษาเพิ่มมาก ั ั ั ขึ้น บิดา – มารดา ของนักศึกษาควรมีส่วนร่ วมในการให้ความรู ้ให้คาปรึ กษาเกี่ยวกับการบริ โภคอาหารที่ ถูกต้องกับนักศึกษาด้วย จัดทาโดย นาย พงศ์พิสุทธิ์ แสนธรรมพล 54010911124 MK543 นายฐิศิวฒน์ ด่านประเสริ ฐ 54010911172 MK543 ั นาย ธงไท โพธิยนต์ 54010911027 MK 543 ั นาย พีร์นิธิ พฤทธิ์ พรชนัน 54010911041 MK 543
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้ า ตอนที่ 1 ปั จจัยส่ วนบุคคลของนักศึกษา 1-2 ตอนที่ 2 ปั จจัยเกี่ยวกับครอบครัวนักศึกษา 3 ตอนที่ 3 ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร 4-5 ตอนที่ 4 พฤติกรรมการบริ โภคอาหาร 6-7 ตอนที่ 5 ทดสอบสมมติฐาน 8 สรุ ป และข้อเสนอแนะ 9-11 อ้ างอิง 12
  • 4. งานวิจัย พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล การวิจยเรื่ อง พฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม ผลการ ั วิเคราะห์ขอมูลผูวจยได้นาเสนอโดยแบ่งเป็ น 5 ตอน ดังนี้ คือ ้ ้ิั ตอนที่ 1 ปั จจัยส่ วนบุคคลของนักศึกษา ตอนที่ 2 ปั จจัยเกี่ยวกับครอบครัวนักศึกษา ตอนที่ 3 ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร ตอนที่ 4 พฤติกรรมการบริ โภคอาหาร ตอนที่ 5 ทดสอบสมมติฐาน
  • 5. ตอนที่ 1 ปัจจัยส่ วนบุคคลของนักศึกษา ปั จจัยพื้นฐานของนักศึกษา ประกอบด้วย เพศ อายุ ศาสนาที่นบถือ บุคคลที่นกศึกษาอาศัยอยู่ ั ั ด้วย และรายได้ที่นกศึกษาได้รับจากบิดา – มารดา หรื อผูปกครอง ผลการศึกษา มีรายละเอียดดังตาราง ั ้ ตารางที่ 1 จานวนและร้ อยละข้ อมูลทัวไปของนักศึกษา ่ ข้ อมูลทัวไปของนักศึกษา ่ จานวน ร้ อยละ เพศ ชาย 165 42.2 หญิง 226 57.8 รวม 391 100.00 ช่ วงอายุ (ปี ) 18-21 369 94.4 มากกว่า 21 22 5.6 รวม 391 100.00 บุคคลทีนักศึกษาอาศัยอยู่ด้วย ่ บิดา – มารดา 176 45.0 บิดา 7 1.8 มารดา 22 5.6 ่ อยูหอพัก 143 36.6 บุคคลอื่น 43 11.0 รวม 391 100.00 ตารางที่ 1.2 จานวนและค่ าร้ อยละข้ อมูลทัวไปของนักศึกษา ่ ข้ อมูลทัวไปของนักศึกษา ่ จานวน ร้ อยละ รายได้นิสิตที่ได้รับ/เดือน น้อยกว่า2,000 บาท 59 15.1 2,000-3,999 บาท 228 58.3 4,000-5,999 บาท 79 20.2 มากกว่า 5,999 บาท 19 4.9 ไม่ตอบ 6 1.5 รวม 391 100.00
  • 6. จากตาราง มีผลการวิเคราะห์จาแนกตามข้อมูลทัวไปของนักศึกษาได้ ดังนี้ ่ 1.) เพศ พบว่า จานวนนักศึกษาที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างนั้นกว่าครึ่ งหนึ่งเป็ นนักศึกษาเพศหญิง คิดเป็ นร้อยละ 57.8 และเพศชาย คิดเป็ นร้อยละ 42.2 2.) ช่วงอายุ พบว่า อายุต่าสุ ด 18 ปี อายุสูงสุ ด 24 ปี อายุโดยเฉลี่ย 20.2 S.D. .91 กลุ่ม ตัวอย่างที่ศึกษาส่ วนใหญ่มีอายุ 18 – 21 ปี คิดเป็ นร้อยละ 94.4 ที่เหลือมีอายุมากกว่า 21 ปี 3.) ศาสนา พบว่า นักศึกษาที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง ส่ วนใหญ่นบถือศาสนาพุทธ คิดเป็ นร้อยละ95.9 ที่เหลือเพียง ั 4.1 นับถือศาสนาอื่น โดยแยกเป็ นศาสนาคริ สต์ ร้อยละ 2.6 และอิสลาม ร้อยละ 1.5ตามลาดับ 4.) บุคคลที่นกศึกษาอาศัยอยูดวย พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 45.0 อาศัยอยูกบบิดา – มารดา ั ่ ้ ่ ั ่ ่ ั รองลงมาอยูหอพัก คิดเป็ นร้อยละ 36.6 อาศัยอยูกบบิดาหรื อมารดา คิดเป็ นร้อยละ 7.4 โดยแยกเป็ น ่ ั อาศัยกับบิดา คิดเป็ นร้อยละ 1.8 และอาศัยอยูกบมารดา คิดเป็ นร้อยละ 5.6 และพักอาศัยอยูกบบุคคล่ ั อื่น คิดเป็ นร้อยละ 11.0 5.) รายได้ที่นกศึกษาได้รับ พบว่า รายได้ต่าสุ ด 1,000 บาท รายได้สูงสุ ด 15,000 บาท ั รายได้เฉลี่ย 3,682.8 บาท S.D. = 1,671.7 กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่ได้รับเงินจากบิดา – มารดา หรื อผูปกครอง ้ 2,00 – 3,999 บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ 58.3 รองลงมาได้รับเงิน 4,000 – 5,999 บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อย ละ 20.2 ได้รับเงินน้อยกว่า 2,000 บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ 15.1 และได้รับเงินมากกว่า 5,999 บาทต่อ เดือน คิดเป็ นร้อยละ 4.9
  • 7. ตอนที่2 ปัจจัยเกียวกับครอบครัว ่ จานวนและค่าร้อยละข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัว ข้ อมูลเกียวกับครอบครัว ่ จานวน ร้ อยละ ระดับการศึกษาบิดา ไม่ได้เรี ยนหนังสื อ 3 0.8 ชั้นประถมปี ที่4 83 21.2 ชั้นประถมปี ที่ 6 หรื อ7 24 6.1 มัธยมศึกษาตอนต้น 12 3.0 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 57 14.6 อนุปริ ญญา/ปวส. 60 15.3 ปริ ญญาตรี 114 29.2 ปริ ญญาโท 28 7.2 ปริ ญญาเอก 10 26 รวม 391 100.00 ระดับการศึกษามารดา ไม่ได้เรี ยนหนังสื อ 4 1.0 ชั้นประถมปี ที่4 113 28.9 ชั้นประถมปี ที่ 6 หรื อ7 28 7.2 1.) ระดับการศึกษาของบิดา พบว่า บิดาของนักศึกษาจบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี คิดเป็ น ร้อยละ 29.2รองลงมาจบชั้ นประถมปี ที่ 4 ร้อยละ 21.2 และจบการศึกษาสู งกว่าปริ ญญาตรี เพียงร้อยละ9.8 โดยแยกเป็ นจบปริ ญญาโท ร้อยละ 7.2 ส่ วนจบปริ ญญาเอกมีเพียง ร้อยละ 2.6 ตามลาดับ 2.) ระดับการศึกษาของมารดา พบว่า มารดานักศึกษาจบชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 คิดเป็ นร้อย ละ 28.9 รองลงมาซึ่ งมีจานวนใกล้เคียงกันคือ จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ร้อยละ 28.4 และจบ 40การศึกษาสู งกว่าปริ ญญาตรี เพียงร้อยละ 5.9 โดยแยกเป็ นจบระดับปริ ญญาโท และปริ ญญาเอก ร้อย ละ 4.1 และ 0.8 ตามลาดับ
  • 8. ตอนที่3 จานวนและร้ อยละของความรู้ เกียวกับการบริ โภคอาหาร ่ ข้ อคาถาม ตอบถูก ตอบผิด จานวน (ร้ อยละ) จานวน (ร้ อยละ) 1. ปริ มาณของประเภทอาหารที่คนเราควรรับประทาน 264 127 จากมากไปหาน้อยใน 1 วัน (67.5) (32.5) 2 .อาหารจานใดที่ให้สารอาหารประเภทไขมันมากที่สุด 246 145 (62.9) (37.1) 3. อาหารฟาสต์ฟู้ด เช่น แซนวิส แฮมเบอร์ เกอร์ มีส่วน 343 48 ประกอบของสารอาหารอะไรน้อยที่สุด (87.7) (12.3) 4. อาหารชุดใดให้โปรตีนมากที่สุด 196 195 (50.1) (49.9) 5. พืชใดที่ให้สารอาหารต่างจากข้ออื่น 292 99 (74.7) (25.3) 6. อาหารในข้อใดให้คุณค่าอาหารแทนเนื้ อสัตว์ 310 81 (59.3) (40.7) 7. ถ้านิสิตไม่อยากเป็ นโรคโลหิ ตจางควรกินอาหารในข้อ 349 42 ใด (89.3) (10.7) 8. เพื่อป้ องกันอาหารท้องผูก ควรกินอาหารในข้อใด 238 153 (60.9) (39.1) 9. อาหารที่ไม่ควรกินเป็ นประจาคือข้อใด 185 206 (47.3) (52.7) 10. ข้อใดเป็ นอาหารและเครื่ องดื่มที่ควรรับประทาน 261 130 (66.8) (33.2) 11. เพื่อป้ องกันโรคออกตามไรฟัน นักศึกษาควรเลือก 136 255 กินผลไม้ในข้อใด (34.8) (65.2) 12. ถ้าไม่กินผัก/ผลไม้ที่มีสีเหลือง เช่น ฟักทอง 235 156 มะละกอสุ ก จะทาให้มีปัญหาสุ ขภาพอย่างไร (60.1) (39.9) 13. อาหารมื้อเช้าที่นิสิตควรเลือกกินที่ให้สารอาหาร 350 41 ครบ 5 หมู่คือข้อใด (89.5) (10.5)
  • 9. 14. การรับประทานอาหารประเภทแป้ งและน้ าตาลใน 370 21 ปริ มาณมากเกินความต้องการของร่ างกาย (94.6) (5.4) จะถูกเก็บสะสมในรู ปใด ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร พบว่า ร้อยละ 62.9 ของนักศึกษามีความรู ้เกี่ยวกับ ่ สารอาหารประเภทไขมัน ร้อยละ 50.1 มีความรู ้วาอาหารชนิดใดให้คุณค่าของสารอาหารประเภท โปรตีน มีนกศึกษาทราบว่าจะเลือกรับประทานอาหารชนิ ดที่ป้องกันโรคโลหิ ตจาง คิดเป็ นร้อยละ ั 89.3 นักศึกษาไม่ทราบว่าผลไม้ชนิดใดมีวตามินซี มากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ 65.2 ส่ วนใหญ่นกศึกษามี ิ ั ความรู ้เกี่ยวกับอาหารที่มีสารอาหารครบ 5 หมู่ และมีความรู ้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารประเภท แป้ งและน้ าตาลปริ มาณมากเกินความต้องการจะถูกนาไปเก็บสะสมในรู ปใด คิดเป็ นร้อยละ 89.6 และ 94.6 ตามลาดับ 3,2คะแนนความรู้ เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร ช่ วงคะแนน จานวน ร้ อยละ 1 - 5 คะแนน (ความรู้ระดับน้อย/ต่า) 73 18.7 6 -10 คะแนน ( ความรู้ระดับพอใช้) 251 64.2 11-15 คะแนน (ความรู้ระดับดี) 67 17.1 รวม 391 100.00 คะแนนความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร พบว่า คะแนนต่าสุ ด 2 คะแนนสู งสุ ด 14 คะแนนโดยเฉลี่ย 8.9 S.D.= 2.5 เกณฑ์การตัดสิ นเกี่ยวกับความรู ้การบริ โภคอาหารเป็ น 3 กลุ่ม โดย ใช้ช่วงส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่า กลุ่มที่มีความรู ้นอยเป็ นผูที่ได้คะแนนอยูระหว่าง 1 – 5 คะแนน ้ ้ ่ คิดเป็ นร้อยละ 18.7 ส่ วนกลุ่มที่มีความรู ้ระดับพอใช้ เป็ นผูที่ได้คะแนนอยูระหว่าง 6-10 คะแนน คิด ้ ่ เป็ นร้อยละ 64.2 สาหรับกลุ่มที่มีความรู ้ระดับดีเป็ นผูที่ได้คะแนนอยูระหว่าง 11-15 คะแนน มีเพียง ้ ่ ร้อยละ 17.1
  • 10. ตอนที่ 4 พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษา ศึกษาพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษา ปรากฏดังตาราง 4.5 – 4.6 ตารางที่ 4.5 จานวนและร้อยละพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษา n =391 พฤติกรรม ทาประจา ทาบ่ อยครั้ง ทานานๆ ไม่ เคยทา จานวน(ร้ อยละ) จานวน(ร้ อยละ) จานวน(ร้ อยละ) จานวน(ร้ อยละ) 1. ฉันดื่มน้ าอัดลม 32 151 203 5 (8.2) (38.6) (51.9) (1.3) 2. ฉันกินเครื่ องในสัตว์ เช่น ตับ หัวใจ ไส้หมู 20 138 174 59 (5.1) (35.3) (44.5) (15.1) 3. ฉันกินขนมหวาน ไอศกรี ม คุกกี้ ขนมเค้ก 73 171 146 1 (18.7) (43.7) (37.3) (0.3) 4. ฉันดื่มนม 250 110 20 11 (63.9) (28.1) (5.1) (0.3) 5. ฉันกินอาหารที่มีรสจัด 73 139 161 18 (18.7) (35.5) (41.2) (4.6) 6. ฉันกินอาหารที่มีเส้นใยและกากอาหารมาก 181 166 43 1 (46.3) (42.5) (10.9) (0.3) 7. ฉันกินอาหารที่ปรุ งเองมากว่าซื้ อนอกบ้าน 164 112 107 8 (41.9) (28.6) (27.4) (2.0) 8. ในการเลือกซื้ ออาหารฉันคานึงถึงสารอาหาร 73 144 146 28 (18.7) (38.8) (37.6) (7.2) 9. ฉันดื่มน้ าสะอาดอย่างน้อยวันละ 6- 8 แก้ว 176 133 76 6 (45.0) (34.0) (19.5) (1.5) 10. ฉันกินอาหารตรงเวลาทุกมื้อ 36 168 177 31 (9.2) (43.0) (45.3) (2.6) 11. ฉันใช้ชอนกลางตักอาหารเวลากินอาหาร 101 ้ 94 174 22 (25.8) (24.1) (44.5) (5.6)
  • 11. 12. ฉันกินอาหารด้วยความเร่ งรี บ 50 178 153 10 (12.8) 45.5) (31.7) (2.6) พฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษาพบว่า นักศึกษา ดื่มนมเป็ นประจา คิดเป็ นร้อยละ 63.9 รองลงมาดื่มบ่อยครั้ง ร้อยละ 28.1 และไม่เคยดื่มเลย ร้อยละ 2.8 นักศึกษาที่ รับประทานอาหารที่มีเส้นใยและกากอาหารเป็ นประจา ร้อยละ 46.3 รองลงมาบ่อยครั้ง ร้อยละ 42.5 นักศึกษาที่รับประทานอาหารที่ปรุ งเองมากกว่าชื้ออาหารนอกบ้าน เป็ นประจา คิดเป็ นร้อยละ 41.9 รองลงมาบ่อยครั้ง ร้อยละ 28.6 นักศึกษาที่ดื่มน้ าสะอาดอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว เป็ นประจา ร้อยละ 45.0 รองลงมาบ่อยครั้ง ร้อยละ 34.0 สาหรับการรับประทานอาหารตรงเวลาทุกมื้อนักศึกษาทานาน ๆ ครั้ง คิดเป็ นร้อยละ 45.3 รองลงมาทาบ่อยครั้ง ร้อยละ 43.0 ส่ วนรับประทานอาหารตรงเวลาทุกมื้อมี นักศึกษาปฏิบติเพียง ร้อยละ 9.2 ส่ วนวิธีการรับประทานอาหารได้แก่ การใช้ชอนกลาง นักศึกษาทา ั ้ นาน ๆ ครั้ง ร้อยละ 44.5 รองลงมาทาบ่อยครั้ง ร้อยละ 24.1 ทาเป็ นประจามีเพียง ร้อยละ 25.8 และมี นักศึกษาที่ไม่เคยใช้ชอนกลางในการตักอาหารรับประทานเลย ร้อยละ 5.6 ส่ วนใหญ่นกศึกษามีการ ้ ั ล้างผัก และ ผลไม้ ให้สะอาดก่อนรับประทาน ทาเป็ นประจา คิดเป็ นร้อยละ82.4 ในการเลือก ั ่ รับประทานอาหารในร้านที่ดูสะอาดนักศึกษาปฏิบติบอยครั้ง คิดเป็ นร้อยละ 58.6 รองลงมาทาเป็ นประจา ร้อยละ 33.0 ] คะแนนพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษา ช่วงคะแนน จานวน ร้อยละ 12 – 24 (ระดับต้องปรับปรุ ง) 52 13.3 25 – 37 (ระดับพอใช้) 281 71.9 38 – 50 (ระดับดี) 58 14.8 รวม 391 100.00 คะแนนต่าสุ ด 12 คะแนน คะแนนสู งสุ ด 50 คะแนน คะแนนเฉลี่ย 32.5 S.D. = 7.3 ผูวจยกาหนดเกณฑ์การตัดสิ น แบ่งเป็ น 3 กลุ่ม โดยใช้ 1ช่วงส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผล ้ิั ปรากฏว่ากลุ่มที่มีพฤติกรรมการบริ โภคอาหารที่อยูในระดับต้องปรับปรุ ง คิดเป็ นร้อยละ 13.3 โดยมี ่ คะแนนอยูระหว่าง 12 – 24 คะแนน ส่ วนกลุ่มที่มีพฤติกรรมการบริ โภคอาหารระดับพอใช้ คิดเป็ นร้อย ่ ละ 71.9 โดยมีคะแนนอยูระหว่าง 25 – 37 คะแนน สาหรับกลุ่มที่มีพฤติกรรมระดับดี คิดเป็ นร้อยละ ่ ่ 14.8 โดยมีคะแนนอยูระหว่าง 38 – 50 คะแนน โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 32.5 คะแนน
  • 12. ตอนที่ 5 การทดสอบสมมติฐาน การทดสอบสมมุติฐานนี้ใช้สถิติหาความสาพันธ์โดยหาค่าไค-สแควร์ (Chi - Square) และค่า r ของ Pearson product moment co-efficient สมมติฐานที่ 1 ปั จจัยส่ วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ศาสนา ลักษณะการพัก ั อาศัย รายได้ที่ได้รับ มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการบริ โภคอาหาร ปั จจัยส่ วนบุคคล ระดับพฤติกรรม การบริ โภคอาหาร χ df ต้องปรับปรุ ง พอใช้ ดี เพศ ชาย 22 116 27 (13.3) (70.3) (16.4) .76 1 หญิง 30 165 22 (13.3) (73.0) (13.7) อายุ 18 – 21 ปี 50 272 47 ( 13.4) (74) (12.6) .37 2 มากกว่า 21 5 12 5 (23) (54) (23) ั ่ จากตาราง พบว่า เพศ มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการบริ โภคอาหาร (.76) อยูในระดับ ั ่ ค่อนข้างสู ง อายุ มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการบริ โภคอาหาร (.37) อยูในระดับค่อนข้างต่า
  • 13. สรุ ป และข้ อเสนอแนะ การวิจยเรื่ องปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ ั นครปฐม มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษาและหาความสัมพันธ์ ั ระหว่างปั จจัยบางประการกับพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างมหาวิทยาลัยราช ภัฏนครปฐม ได้จานวน 391 คน ผูวจยดาเนินการวิจยโดยใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือ แบ่งเป็ น 4 ตอน คือ ปั จจัยส่ วนบุคคล ้ิั ั ของนักศึกษา ปั จจัยเกี่ยวกับครอบครัว ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร พฤติกรรมการบริ โภคอาหาร และนาแบบสอบถามไปใช้กบกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จานวน 391 คน ั สถิติทาการวิเคราะห์คือ (Chi-Square) และสัมประสิ ทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ( Pearson s product moment correlation coefficient )ที่ระดับความสาคัญทางสถิติ .05 สรุ ปผลการวิจัย ปัจจัยส่ วนบุคคล อายุโดยเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่นกศึกษา คือ 20.2 ปี อายุต่าสุ ด 18 ปี อายุสูงสุ ด 24 ปี ส่ วน ั ่ ั ่ ใหญ่นบถือศาสนาพุทธ อาศัยอยูกบบิดา - มารดา มากที่สุด รองลงมาอยูหอ ส่ วนใหญ่มีรายได้ที่ได้รับ ั จากครอบครัวเฉลี่ย 3,682 บาทต่อเดือน ปัจจัยเกียวกับครอบครัว ่ 1. ข้อมูลพื้นฐานของครอบครัวนักศึกษา การศึกษาสู งสุ ดของบิดา จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี เกือบร้อยละ 30 รองลงมาระดับ ประถมศึกษา 4 ร้อยละ 21.2 มารดาของนักศึกษาจบการศึกษาชั้นประถม 4 และจบระดับปริ ญญาตรี ที่ มีจานวนใกล้เคียงกัน คิดเป็ นร้อยละ 28.9 และ 28.4 ตามลาดับ บิดามีอาชีพรับราชการหรื อเป็ น พนักงานวิสาหกิจ คิดเป็ นร้อยละ 33.5 รองลงมาค้าขาย ร้อยละ 20.5 ส่ วนมารดามีอาชีพรับราชการ หรื อพนักงานวิสาหกิจคิดเป็ นร้อยละ 29.7 รองลงมาไม่ได้ประกอบอาชีพร้อยละ23.8 สมาชิกใน ครอบครัวมีระหว่างจานวน 4-5 คน มากที่สุด รองลงมามีสมาชิกอยู่ ระหว่าง 6-7 คน รายได้ของ ครอบครัว 10,000-19,999 บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ 18.9 รองลงมา 20,000-29,999บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ 18.7
  • 14. 2. ลักษณะทัวไปในการรับประทานอาหารของครอบครัวนักศึกษา ่ ผลการศึกษาพบว่าครอบครัวนักศึกษามีพฤติกรรมการบริ โภคอาหารที่เหมาะสม คิดเป็ น ร้อยละ61.6พฤติกรรมไม่เหมาะสม ร้อยละ 38.4 สาหรับผลการศึกษาถึงลักษณะทัวไปในการ ่ รับประทานอาหารของครอบครัวนักศึกษา ส่ วนใหญ่สมาชิกในครอบครัวนักศึกษา ดื่มนมเป็ นประจา และรับประทานผัก ผลไม้ ร้อยละ 63.9 และ 46.3 ตามลาดับ ครอบครัวนักศึกษาปรุ งอาหาร รับประทานเอง ร้อยละ 41.9 กว่าครึ่ งหนึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับการกินอาหารที่ทาให้ไม่เป็ นโรคโลหิ ต จาง เช่น ตับหมู คิดเป็ นร้อยละ 89.3 3. ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหาร จากผลการศึกษาพบว่า นักศึกษากว่าครึ่ งหนึ่งมีความรู ้ระดับพอใช้ คิดเป็ นร้อยละ 64.2 รองลงมา ความรู้ระดับต้องปรับปรุ ง ร้อยละ 18.7 และความรู้ระดับดีมีเพียง ร้อยละ 17.1 โดยมีค่า คะแนนเฉลี่ย 8.9 คะแนนต่าสุ ด 2 คะแนน สู งสุ ด 14 คะแนน (คะแนนเต็ม 15 คะแนน) ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหารนั้นที่นกศึกษามีความรู ้ในระดับดี ได้แก่ ความรู้ในเรื่ อง ั การรับประทานอาหารที่เป็ นปั จจัยเสี่ ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ เช่น การรับประทานอาหารประเภทแป้ ง และน้ าตาลในปริ มาณที่มากเกินความต้องการของร่ างกาย และถูกเก็บสะสมในรู ปไขมันซึ่ งจะมีผลทา ให้เกิดโรคอ้วน โรคความดันโลหิตสู ง โรคหัวใจ โรคเบาหวานฯลฯ การรับประทานอาหารครบ 5 หมู่ ใน 1 วัน ไม่จาเป็ นต้องดื่มอาหารเสริ มสาเร็ จรู ป เป็ นต้น ความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหารที่อยูในระดับต้องปรับปรุ ง ได้แก่ หมวด ่ สารอาหารโปรตีน เช่น อาหารที่ทดแทนสารอาหารโปรตีนได้ สารอาหารที่ให้วิตามินและเกลื่อแร่ และการเลือกรับประทานอาหารตามความเหมาะสมของฤดูกาล เช่นฤดูหนาว ฤดูร้อน ควร รับประทานอาหารอย่างไร รวมทั้งประโยชน์ของอาหารที่มีเส้นใยและกากอาหาร เป็ นต้น 4. พฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษา ่ นักศึกษามีการบริ โภคอาหาร โดยส่ วนรวมอยูในระดับพอใช้ ร้อยละ 71.9 ระดับดี ร้อยละ 14.8 และระดับต้องปรับปรุ ง ร้อยละ 13.3 โดยมีคะแนนเฉลี่ย 32.5 คะแนน ต่าสุ ด 12 คะแนน สู งสุ ด 50 คะแนน (คะแนนเต็ม 60 คะแนน) ่ ผลการศึกษา พบว่า นักศึกษามีพฤติกรรมการบริ โภคอาหารที่อยูในระดับดีน้ นเป็ น ั พฤติกรรมเกี่ยวกับ สุ ขวิทยาในการรับประทานอาหาร ความปลอดภัยในการรับประทานอาหาร ได้แก่ การล้างผักและผลไม้ ก่อนรับประทาน การเลือกรับประทานอาหารในร้านอาหารที่ดูสะอาดและการ รับประทานอาหารที่ปรุ งร้อน มีฝาปิ ดมิดชิด การดื่มนมเป็ นประจา และการรับประทานอาหารเย็นตรง เวลาเป็ นประจา
  • 15. สาหรับพฤติกรรมการบริ โภคอาหารของนักศึกษาที่อยูในระดับต้องปรับปรุ งนั้น เป็ น พฤติกรรมเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ต่อร่ างกาย และยังทาให้เกิดโทษต่อ ร่ างกายด้วย รวมทั้งไม่คานึงถึงการได้รับสารอาหารประเภทฟาดต์ฟู้ด เช่น ไก่ทอด พิซซ่า ฮอดด็อก เป็ นต้น และการรับประทานอาหารประเภทแป้ งและน้ าตาลเป็ นประจา รวมทั้งพฤติกรรมการบริ โภค เกี่ยวกับ วิธีการบริ โภคอาหารของนักศึกษา ที่ตองปรับปรุ งในเรื่ อง การรับประทานอาหารด้วย ้ ความเร่ งรี บ การรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา การซื้ ออาหาร/ผลไม้ตามรถเข็นรับประทาน เป็ นต้น อภิปราย จากการวิเคราะห์และสรุ ปผลการวิจยเรื่ อง พฤติกรรมการบริ โภคของนักศึกษา ั มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม : ผูวจยอภิปรายในประเด็นสาคัญดังนี้ ้ิั ผลการศึกษาพบว่านักศึกษาราชภัฎนครปฐม มีความรู ้เกี่ยวกับการบริ โภคอาหารอยูในระดับ ่ พอใช้ คิดเป็ นร้อยละ 64.2 ลองลงมามีความรู้ระดับต้องปรับปรุ ง ร้อยละ 18.7 และมีความรู้ในระดับ ดีเพียง ร้อยละ 17.1 ยังพบอีกว่า บิดาและมารดาของนักศึกษาราชภัฎนครปฐมจบการศึกษาสู งสุ ดชั้น ประถม 4 คิดเป็ นร้อยละ 21.2 และ 28.9 ตามลาดับ ซึ่ งอาจส่ งผลให้นกศึกษามีความในการบริ โภค ั ่ อาหารอยูในระดับพอใช้ ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยของ สมฤดี วีระพงษ์ (2535) ศึกษาเรื่ อง ั พฤติกรรมการบริ โภคอาหารจานด่วนทันใจของนักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนในสังกัดกรม สามัญศึกษา กรุ งเทพมหานคร พบว่า นักเรี ยนที่มีผปกครองมีการศึกษาระดับอุดมศึกษา มีความรู้ ู้ เรื่ องเกี่ยวกับอาหารดีกว่านักเรี ยนที่มีผปกครองมีการศึกษาระดับประถมศึกษา เนื่องจากบิดาหรื อ ู้ มารดาที่มีการศึกษาดี จะมีโอกาสค้นคว้าหาความรู ้จากแหล่งความรู ้ต่าง ๆ ได้มากกว่าสามารถให้ คาแนะนา อบรม และให้ความรู ้เกี่ยวกับโภชนาการที่ถูกต้องแก่เด็กได้ดีกว่าผูปกครองที่มีการศึกษา ้ น้อยกว่า เมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่านักศึกษาราชภัฎนครปฐมมีความรู ้ในระดับน้อยในเรื่ องหมวด สารอาหารที่ให้โปรตีน หมวกวิตามินและเกลือแร่ เช่น อาหารชนิ ดใดที่ให้โปรตีนสู งซึ่ งมีท้ งในรู ป ั ชนิดของอาหารที่บารุ งกระดูกและฟัน อาหารที่ป้องกันเลือดออกตามไรฟัน ประเภทของอาหารที่ทา_
  • 16. เอกสารอ้างอิง กรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2529) ปัจจัยทีมีผลต่ อพฤติกรรมสุ ขภาพ .รายงานการวิจยสุ ข ่ ั ศึกษา. กรุ งเทพฯ : ฝ่ ายส่ งเสริ มสุ ขภาพ กรมพละศึกษา กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุ ข และภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุ ขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2529). รายงานผลการสารวจภาวะโภชนาการและการบริโภค อาหารของคนไทย. (อัดสาเนา) กองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุ ข. (2525). สรุ ปผลการเฝ้ าระวังโรค 2535. กรุ งเทพฯ กระทรวงสาธารณสุ ข. ไกรสิ ทธิ์ ตันตศิรินทร์ และพตธนี วินิจจะกูล. (2525). โภชนาการและภาวะสั งคม ปัญหา โภชนาการในประเทศไทย. กรุ งเทพฯ. : สมาคมวิจยมหาวิทยาลัย. ั เครื อวัลย์ หุตานุวตร, ศาสตร์ เสาวคนธ์, สิ นี ช่วงฉ่ า, นฤมล สิ นสุ พรรณ, เบญจา พนมรัตน์, ั เบญญา สุ ธนธัญยากร, และณรงค์ หุตานุวตร. (2529). พฤติกรรมการกินของชาว ั ชนบทภาค อีสานตอนบน. รายงานการประชุมเชิงปฏิบติการเร่ ง สาเหตุและปัจจัยที่ ั มีผลต่อพฤติกรรมการกินของคนไทย พ.ศ. 2529. กรุ งเทพฯ: สถาบันวิจยโภชนาการ ั มหาวิทยาลัยมหิดล. จรรยา สุ วรรณทัต.(2527). ความเชื่อเกียวกับการอบรมเลียงดูเด็ก.เอกสารการสอนชุดวิชา ่ ้ พัฒนาการและการเลี้ยงดูเด็ก มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. อักษรไทย.กรุ งเทพฯ.950 น. จรรยา สุ วรรณทัต, ดวงเดือน พันธุมนาวิน และ เพ็ญแข ประจันปัจจนึก. 2521. พฤติกรรมศาสตร์ เล่ม 1. กรุ งเทพฯ : ไทยวัฒนาภานิช จากัด จันทร์ทิพย์ ลิ้มกองกุล. (2526). การเลือกอาหาร. เอกสารการสอนชุดวิชาโภชนาการกับชีวต ิ มนุษย์ หน่วยที่ 11-15. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. จาเนียร ช่วงโชติ, จิตรา วสุ วานิช และ ศิรินนท์ เพชรทองคา. (2521). จิตวิทยาและเด็กวัยรุ่ น. ั กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง. ฉัตรแก้ว ประวาทะนาวิน. (2526). อาหารทีมีประโยชน์ . เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา อาหารและ ่ โภชนาการพื้นฐาน หน่วยที่ 1-4. กรุ งเทพฯ:มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช