SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 62
สังสารวัฏกับการเวียนว่ายตายเกิด 
สังสาร หรือ สงสาร แปลว่า ความท่องเที่ยวไป ในทางพุทธ 
ศาสนาหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด มิใช่หมายถึงความรู้สึกหวั่นไหว 
ด้วยความกรุณาเมื่อเห็นผู้อื่นได้รับความทุกข์ 
สังสารวัฏ แปลว่า ความท่องเที่ยวไปในอาการที่เป็นวัฏฏะ การหมุนวน 
อยู่ในการเวียนว่ายตายเกิด เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัฏสงสาร 
สงสารวัฏ หมายถึงการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภพภูมิต่างๆ ของสัตว์โลก 
ด้วยอำานาจกิเลส กรรม วิบาก หมุนวนอยู่เช่นนั้นตราบเท่าที่ยังตัดกิเลส 
กรรม วิบากไม่ได้ [1 
ความหมายของสังสารวัฏ คำาว่า "สังสารวัฏ" มาจากคำาว่า "สังสาร 
ะ = การท่องเทียวไป" กับ "วัฏฏะ = วงกลม"สังสารวัฏจึงมีความ
หมายตามตัวอักษรว่า "การท่องเที่ยวไปเป็นวงกลม" โดยใจความ 
หมายถึง การที่สิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งมนุษย์เวียนตายเวียนเกิด 
คือเกิดแล้วตาย ตายแล้วเกิดใหม่ แล้วตายอีก แล้วเกิดใหม่อีก วน 
เวียนอยู่อย่างนี้อย่างไม่มีวันจบสิ้น นี่คือการท่องเที่ยวไปเป็นวงกลม 
หรือสังสารวัฏตามความหมายของพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่าเป็นการ 
ท่องเที่ยวไปก็เพราะการมีชีวิตอยู่เปรียบเสมือนการเดินทาง นับตั้งแต่ 
ปฏิสนธิขึ้นในครรภ์ของมารดาจนกระทั่งออกมาสู่โลกภายนอก ภาวะ 
ทางกายและทางจิตของมนุษย์ไม่เคยหยุดอยู่กับที่แต่ก้าวไปข้างหน้าทุก 
ขณะจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตนี้ก็ผ่านจากภพนี้ไปสู่ภพอื่น เมื่อสิ้นสุด 
ชีวิตในภพอื่นก็ผ่านไปสู่ภพอื่นต่อไปและต่อๆ ไปไม่สิ้นสุด ครั้งหนึ่ง 
พระพุทธองค์ตรัสว่า 
"...ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ 
เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องขวางกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบ 
ไว้ 
ท่องเที่ยวไปมาอยู่ที่สุดเบื้องต้นย่อมไม่ปรากฏ ฯลฯ 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ท่อนไม้ที่บุคคลโยนขึ้นไปบนอากาศ บางคราวก็ 
ตกลงทางโคน 
บางคราวก็ตกลงทางขวาง บางคราวก็ตกลงทางปลาย 
แม้ฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องขวางกั้น 
มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ก็ฉันนั้นแล 
บางคราวก็จากโลกนี้ไปสู่ปรโลก บางคราวก็จากปรโลกมาสู่โลกนี้ 
ข้อนั้นเพราะเหตุไรเพราะว่า สงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลาย 
ไม่ได้..." 
"...ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ 
ฯลฯ 
เมื่อบุคคลหนึ่งท่องเที่ยวไปมาอยู่ตลอดกัปหนึ่ง
พึงมีโครงกระดูก ร่างกระดูก กองกระดูกใหญ่เท่าภูเขาเวปุลละ 
ถ้ากองกระดูกนั้นพึงเป็นของที่จะขนมารวมกันได้ 
และกระดูกที่ได้กองรวมไว้แล้วไม่พึงกระจัดกระจายไป 
ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าสงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลาย 
ไม่ได้..."พระพุทธพจน์ที่ได้ยกมากล่าวนี้ แสดงให้เห็นแนวความคิดที่ 
สำาคัญในพุทธศาสนาหลายประการ คือ 
--->> ประการแรก แสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนถึงความคิดหรือ 
ความเชื่อเรื่องสังสารวัฏ อันหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิดแบบข้าม 
ภพข้ามชาติ มิใช่การเกิดการตายแบบชั่วไม่กี่ขณะจิต ที่ว่าเมื่อความ 
รู้สึกว่า "ตัวเรา" หรือ "ตัวกู" เกิดขึ้นด้วยอำานาจของอุปาทานก็ 
เป็นการเกิด เมื่อความรู้สึกว่า "ตัวกู" ดับไปก็เป็นการตาย จริงอยู่ 
การเวียนว่ายตายเกิดตามแนวปฏิจจสมุปบาทอาจอธิบายในแนวดัง 
กล่าวนี้ได้ แต่การถือว่าสังสารวัฏตามคำาสอนของพระพุทธศาสนา 
หมายถึงการเวียนว่ายตายเกิดตามนัยนี้อย่างเดียว แล้วปฏิเสธการเวียน 
ว่ายตายเกิดแบบข้ามภพข้ามชาติ ย่อมเท่ากับปฏิเสธพระพุทธพจน์ดัง 
กล่าวนั้นและพระพุทธพจน์ที่ยกมากล่าาวไว้นั้น ถ้าพิจารณาอย่างเที่ยง 
ธรรมตรงไปตรงมาก็ไม่มีความสมเหตุสมผลใดๆ ที่จะตีความว่า หมาย 
ถึงการเวียนว่ายตายเกิดแบบ "ตัวกู ของกู" ในชั่วไม่กี่ขณะจิตของ 
ชีวิตปัจจุบัน นอกจากจะบิดเบือนตีความเพื่อให้เข้ากับ "ทิฏฐิ" ของตน 
เท่านั้น ถ้าจะพิจารณาว่า พระพุทธพจน์จากสังยุตตนิกายที่ยกมาอ้างอิง 
นั้น "น่าจะ" หรือ "คงจะ" ไม่ใช่พระพุทธพจน์ที่แท้จริง คงจะเป็น 
ข้อความที่ "ชาวพุทธบางคน" เพิ่มเติมเข้ามาแล้วแอบอ้างเป็นพระพุทธ 
พจน์ในภายหลัง ก็ต้องปฏิเสธข้อความทำานองนี้ทั้งหมด ที่มีอยู่มากมาย 
ในพระไตรปิฎก ซึ่งการกระทำาเช่นนี้ยากที่ชาวพุทธซึ่งมี "ตถาคตโพธิ 
สัทธา - เชื่อในความตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า" โดยสุจริตจะยอมรับได้ 
อนึ่ง ถ้าเป็นการเวียนว่ายตายเกิดแบบเมื่อความรู้สึกยึดมั่นว่า "ตัวกู" 
เกิดขึ้นเป็นการเกิด เมื่อความยึดมั่นว่า "ตัวกู" ดับลงก็เป็นการตาย 
แม้จะมีการเกิดการตายแบบนี้กี่หมื่นกี่แสนครั้งในชีวิตนี้ เมื่อตายลง 
จริงๆ ก็จะมีเพียงโครงกระดูกเดียวเท่านั้น แต่ในพระพุทธพจน์ที่ยกมา 
กล่าวไว้นั้น พระพุทธเจ้าตรัสแสดงถึงโครงกระดูกของสัตว์หรือบุคคล
คนหนึงที่เวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ ๑ กัปว่า ถ้าสามารถนำามากอง 
รวมกันได้ กองกระดูกก็จะสูงใหญ่เท่าภูเขาเวปุลละ ซึ่งเป็นภูเขาใหญ่ 
ลูกหนึ่งในห้าลูกที่วงล้อมเมืองราชคฤห์ในสมัยนั้น เรื่องนี้แสดงให้เห็น 
ชัดโดยปราศจากข้อสงสัยว่าสงสารหรือสังสารวัฏที่พระพุทธเจ้าทรง 
หมายถึงนั้น เป็นการเวียนว่ายตายเกิดแบบข้ามภพข้ามชาติ 
--->> ประการที่สอง แสดงให้เห็นว่า ตามทรรศนะของพุทธศาสนา 
เราไ่่่้ม่อาจสาวไปหาจุดเริ่มต้นของมนุษย์ที่มีชีวิตอยู่ในเวลานี้แต่ละ 
คนได้ว่าเขาเริ่มมีขึ้นครั้งแรกเมื่อไร จุดเริ่มต้นครั้งแรกคงจะมี เพราะ 
มนุษย์เป็นสภาวธรรมอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการปรุงแต่งของเหตุปัจจัย 
ในธรรมชาติ แต่พุทธศาสนาถือว่าจุดเริ่มต้นเช่นนั้นเป็นสิ่งเกินวิสัยที่ 
เราจะสาวย้อนไปหาจนถึงที่สุดได้ จุดที่สุดเบื้องปลายแห่งสังสารวัฏของ 
บุคคลบางคนอาจจะพอกำาหนดได้ นั่นคือ สำาหรับบุคคลบางคนที่เห็น 
แจ้งหรือมีโอกาสที่จะเห็นแจ้งในสัจธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนไว้ 
ในที่สุดเขาก็จะเข้าถึงความหลุดพ้นจากจากทุกข์เข้าสู่ปรินิพพานไป 
สังสารวัฏสำาหรับบุคคลเช่นนี้ ก็เป็นอันสิ้นสุดลง แต่สำาหรับบุคคลที่ไม่มี 
โอกาสได้พบสัจธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ หรือพบแต่ไม่ศรัทธา 
เลื่อมใสในพุทธธรรมที่สุดเบื้องปลายแห่งสังสารวัฏของบุคคลเช่นนี้ย่อม 
เป็นสิ่งที่ไม่อาจกำาหนดได้ เพราะสัี่งสารวัฏของเขาจะไม่มีวันสิ้นสุด 
--->> ประการที่สาม แสดงให้เห็นว่า อวิชชาและตัณหาเป็นตัวการที่ 
ทำาให้บุคคลต้องเวียนว่ายตายเกิด ท่องเที่ยวเร่ร่อนไปในสังสารวัฏ คำา 
ว่า "อวิชชา" ในที่นี้หมายถึงความไม่รู้แจ้งในสัจธรรม ท่านชี้ไปที่ 
ความไม่รู้แจ้งในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ความไม่รู้แจ้งในทุกข์ ไม่รู้แจ้งใน 
เหตุให้เกิดทุกข์ (ทุกขสมุทัย) ไม่รู้แจ้งในความดับทุกข์ (ทุกขนิโรธ) 
และไม่รู้แจ้งในข้อปฏิบัติทีนำาไปสู่ึ่ความดับทุกข์ (ทุกขนิโรธคามินี 
ปฏิปทา) ถ้ารู้แจ้งในอริยสัจทั้ง ๔ ประการนี้ การท่องเที่ยวเวียนว่าย 
ตายเกิดในสังสารวัฏก็สิ้นสุดลง แต่เพราะไม่รู้แจ้งในอริยสัจ ๔ จึงต้อง 
เวียนว่ายตายเกิดไปไม่มีที่สิ้นสุด ส่วนตันหาได้แก่ความทะยานอยาก 
หมายถึงตัณหา ๓ อย่าง คือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา 
หรือตัณหา ๖ คือ รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา 
โผฏฐัพพตัณหา และธัมมตัณหา ทั้งอวิชชาและตัณหาดังกล่าวนี้เป็น 
กิเลสอันเป็นสิ่งที่ทำาให้จิตเศร้าหมอง ตามทรรศนะของพุทธศาสนา
ตราบใดที่มนุษย์ยังไม่สามารถทำาลายกิเลสให้หมดไปจากจิต การเวียน 
ว่ายตายเกิดในสังสารวัฏก็ยังมีอยู่ตราบนั้น 
--->> ประการที่สี่ แสดงให้เห็นความยาวนานของเวลา ๑ กัป ตมทร 
รศนาของพุทธศาสนาว่า เป็นเวลาที่ยาวนานมาก ถ้าสามารถนำาเอา 
โครงกระดูกของบุคคลหนึ่งที่เวียนว่ายตายเกิดท่องเที่ยวไปมาแล้ว ๆ 
เล่า ๆ ในสังสารวัฏในช่วงเวลา ๑ กัป มากองรวมกันได้ กองโครง 
กระดูกก็จะสูงใหญ่เท่ากับภูเขาเวปุลละ ซึ่งย่อมยากที่จะนับจำานวนได้ 
ว่าจำานวนโครงกรดูกทั้งหมดเท่าไร 
เกี่ยวกับเวลา ๑ กัปนี้ ในสังยุตตนิกาย พระพุทธเจ้าตรัสว่า...ดูกรภิกษุ 
เหมือนอย่างว่าภูเขาหินลูกใหญ่ยาวโยชน์หนึ่ง กว้างโยชน์หนึ่ง สูง 
โยชน์หนึ่ง ไม่มีช่อง ไม่มีโพรง เป็นแท่งทึบ บุรุษพึงอาผ้าแคว้นกา 
สีมาแล้วปัดภูเขานั้น ๑๐๐ ปีต่อครั้ง ภูเขาหินลูกใหญ่นั้นพึงถึงการ 
หมดสิ้นไปเพราะความพยายามนี้ยังเร็วกว่าแล ส่วนกัปหนึ่งยังไม่ถึงสิ้น 
สุดไป กัปนานอย่างนี้แล บรรดากัปที่นานอย่างนี้ พวกเธอท่องเที่ยว 
ไปแล้วมิใช่กัปหนึ่ง มิใช่ร้อยกัป มิใช่พันกัป มิใช่แสนกัป ข้อนั้น 
เพราะเหตุไร เพราะว่าสงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้องตนเบื้องปลายไม่ได้ 
ฯลฯ ดูกรภิษุทั้งหลาย ก็เหตุเพียงเท่านี้พอทีเดียวที่จะเบื่อหน่ายใน 
สังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำาหนัด พอเพื่อจะหลุดพ้น ดังนี้ 
...ดูกรภิกษุ เหมือนอย่างว่านครที่ทำาด้วยเหล็ก ยาวโยชน์หนึ่ง กว้าง 
โยชน์หนึ่ง สูงโยชน์หนึ่ง เต็มด้วยเมล็ดผักกาด มีเมล็ดพันธุ์ผักกาด 
รวมกันเป็นกลุ่มก้อน บุรุษพึงหยิบเอาเมล็ดพันธุ์ผักกาดเมล็ด 
หนึี่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่ง ๆ ออกจากนครนั้นโดยล่วงไปหนึ่งร้อยปีต่อ 
เมล็ด เมล็ดพันธุ์ผักกาดกองใหญ่นั้นพึงสิ้นไปหมดไปเพราะความ 
พยายามนี้ (เวลาที่ใช่ในกาลนี้) ยังเร็วกว่า ส่วนเวลากัปหนึ่งยังไม่สิ้น 
สุดไปกัปนานอย่างนี้แล...พระพุทธพจน์ดังกล่าวนี้แสดงให้เห็นว่า เวลา 
๑ กัปเป็นเวลาที่นานจนยากที่จะประมาณได้ว่านานเท่าไร ถ้าพิจารณา 
ตามกรณีของการนำาเอาเมล็ดพันธุ์ผักกาดออกจากนครกำาแพงเหล็ก ๔ 
เหลี่ยม ๑๐๐ ปี ต่อ ๑ เมล็ด เวลา ๒,๕๐๐ ปีเศษตั้งแต่พระพุทธเจ้า 
ปรินิพพานมาจนถึงปัจจุบัน เมล็ดพันธ์ผักกาดเพิ่งถูกนำาออกมาเพียง
๒๕ เมล็ดเเท่านั้น ยังไม่ถึงแม้เพียง ๑ หยิบมือ ส่วนที่ยังไม่ได้นำาออก 
มานั้นมากจนสุดประมาณได้ เวลาที่เราท่องเที่ยวเวียนว่ายตายเกิดอยู่ 
ในสังสารวัฏนั้น พระพุทธเจ้าตรัสว่าไม่ใช่กัปเดียว ไม่ใช่ร้อยกัป พัน 
กัป หรือแสนกัป ฟังดูไม่น่าเชื่อว่าจะเป็นไปได้ แต่พระพุทธศาสนาก็ 
ไม่เคยบอกว่าต้องเชื่อ เพราะสิ่งเช่นนี้เกินวิสัยที่ใครจะคาดคิด เหมือน 
กับที่ถามว่าสากลจักวาลที่เรามีชีวิตอาศัยอยู่นี้เริ่มมีขึ้นมาตั้งแต่เมื่อไร 
และจะสิ้นสุดลงเมื่อไร ย่อมไม่มีมนุษย์คนใดให้คำาตอบได้ ทั้งๆ ที่สากล 
จักรวาลนี้เป็นสิ่งที่เราสามารถรับรู้ทางประสาทสัมผัสได้บ้างบางส่วน 
สากลจักรวาลนี้จึงปรากฏแก่่้เราในทำานองเดียวกับที่พระพุทธเจ้าตรัส 
ว่า อนมตคฺโคยำ สำสาโร = สงสารนี้มีที่สุดเบื้องต้นและเบื้องปลายอัน 
กำาหนดไม่ได้ 
การเกิดและการตายแบบชั่วขณะจิต 
ความจริงในคำาสอนของพระพุทธศาสนามีการกล่าวถึงการเกิดและการ 
ตายไว้ทั้ง ๒ นัย คือ การเกิดและการตายแบบข้ามภพข้ามชาติดัง 
กล่าวมาแล้ว และการเกิดและการตายแบบชั่วขณะจิต การเกิดตายนัย 
แรกเป็นการเกิดตายของมนุษย์ตามที่เข้าใจกันทั่วไป ส่วนการเกิดตาย 
นัยหลังเป็นการเกิดตายที่กำาหนดเอาอาการเกิดดับของจิตเป็นหลัก 
พุทธศาสนาถือว่าจิตมีการเกิดดับเป็นขณะอยู่ตลอดเวลา การเกิดและ 
การตายแบบชั่วขณะจิต มีข้อความในขุททกนิกาย มหานิเทส กล่าวไว้ 
ว่า"ชีวิตน้อย ย่อมตั้งอยู่น้อยอย่างไร... ชีวิตย่อมเป็นอยู่ในขณะจิต 
ปัจจุบัน ไม่เป็นอยู่แล้ว จักไม่เป็นอยู่ชีวิต อัตภาพ สุข และทุกข์ทั้ง 
มวล เป็นธรรมประกอบกันเสมอด้วยจิตเพียงดวงเดียว ขณะย่อมเป็นไป 
รวดเร็ว เทวดาเหล่าใดย่อมดำารงชีวิตอยู่ตลอดเวลาแปดหมื่นสี่พันกัป 
เทวดาเหล่านั้นย่อมไม่ประกอบด้วยจิตสองดวงดำารงอยู่เลย... 
สัตว์ไม่เกิดด้วยขันธ์อันเป็นอนาคต ย่อมเป็นอยู่ด้วยปัจจุบันขันธ์ สัตว์ 
โลกตายแล้วเพราะความแตกแห่งจิต นี้เป็นบัญญัติทางปรมัตถ์... ขันธ์ 
ทั้งหลายมาโดยไม่ปรากฏ แตกแล้วก็ไ่ำปสู่ที่ไม่ปรากฏ ย่อมเกิดขึ้น 
และเสื่อมไปเหมือนสายฟ้าแลบในอากาศ"
ข้อความจากพระสุตตันตปิฎกข้างบนนี้ เป็นการแสดงการเกิดการตาย 
แบบชั่วขณะจิต ซึ่งเป็นการเกิดการตายตามความหมายทางปรมัตถ์ 
นั่นคือ เมื่อจิตดวงหนึ่งเกิดขึ้น สิ่งมีชีวิตที่มีจิตซึ่งพุทธศาสนาเรียกว่า 
สัตว์ ก็ชื่อว่าเกิดขึ้น เมื่อจิตดวงนั้นดับก็เรียกว่าสัตว์ตาย การเกิดการ 
ตายแบบนี้มีอยู่ทุกขณะจิต ในชั่วชีวิตตามธรรมดาของบุคคลหนึ่งย่อมมี 
การเกิดการตายแบบนี้นับครั้งไม่ถ้วน ซึ่งย่อมแตกต่างจากการเกิดจาก 
ครรภ์มารดา และตายเมื่อสังขารร่างกายนั้นแตกดับเพราะสิ้นลมหายใจ 
ในข้อความที่ยกมากล่าวไว้นั้น ข้อความว่า "ชีวิตย่อมเป็นอยู่ในขณะ 
จิตปัจจุบัน" หมายความว่า การดำารงอยู่ที่แท้จริงของชีวิตมีช่วงเวลาที่ 
แสนสั้นเพียงชั่วขณะจิตเดียว คือ ขณะจิตปัจจุบันเท่านั้น คำาว่า "ไม่ 
เป็นอยู่แล้ว" หมายความว่า ชีวิตไม่ได้เป็นอยู่ด้วยขณะจิตที่เป็นอดีต 
เพราะขณะจิตที่เป็นอดีตได้ดับไปแล้ว ไม่มีอยู่แล้ว คำาว่า "จักไม่เป็น 
อยู่" หมายความว่า การดำารงอยู่ของชีวิตไม่ได้อยู่ด้วยขณะจิตที่เป็น 
อนาคต เพราะขณะจิตที่เป็นอนาคตยังไม่เกิดขึ้น จิตที่มีอยู่จริงๆ ก็คือ 
จิตที่เป็นปัจจุบันซึ่งเกิดขึ้นตั้งอยู่เพียงขณะเดียวแล้วก็ดับ เมื่อมันดับไป 
แล้วจิตดวงใหม่ก็เกิดขึ้นสืบต่อและตั้งอยู่เพียงขณะเดียวแล้วดับไป จิต 
จะเกิดดับทยอยกันไปไม่ขาดสายด้วยอำานาจการปรุงแต่งของเหตุปัจจัย 
คือ กิเลส กรรม และวิบาก ตราบใดที่บุคคลยังไม่เข้าสู่นิพพาน 
กระแสจิตก็ยังคงดำาเนินเป็นสันตติเรื่อยไปตราบนั้น 
ข้อความว่า "ชีวิต อัตภาพ สุข และทุกข์ทั้งมวลเป็นธรรมประกอบกัน 
เสมอด้วยจิตเพียงดวงเดียว ขณะย่อมเ่็ป็นไปรวดเร็ว" หมายความว่า 
ชีวิต ร่างกาย สุข และทุกข์ที่บุคคลมี ก็มีอยู่ที่จิตซึ่งเกิดขึ้นทีละดวง 
หรือขณะละดวง ช่วงเวลาที่ธรรมชาติมีสุขเป็นต้นดำารงอยู่จึงเป็นช่วง 
สั้นเท่ากับขณะจิตที่ดำารงอยู่เพียงขณะเดียวแล้วดับไปนั้นเท่านั้น 
บรรดาสัตว์ทั้งหลายในภพภูมิทั้งปวงไม่ว่าจะเป็นสัตว์ประเภทที่มีอายุสั้น 
จอย่างสัตว์เดียรัจฉานบางชนิด หรือที่มีอายุยืนมากถึงแปดหมื่นสี่พัน 
กัปอย่างพวกอรูปพรหมประเภทเนวสัญญานาสัญญายตนะ ล้วนมีชีวิต 
ดำารงอยู่ด้วยขณะจิตที่เกิดดับขณะละดวงเท่านั้น ไม่ได้ดำารงชีวิตอยู่ 
ด้วยจิตที่เกิดดับทีละสองดวงหรือมากกว่าสองดวง เพราะจิตของสัตว์ใน 
ทุกภพทุกภูมิที่เกิดดับทีละหลายดวงไม่มี เพราะฉะนั้น ถ้าพิจารณาจาก 
แง่ปรมัตถ์ ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์ที่มีอายุสั้นเมื่อเปรียบเทียบกับอรูปพรหมที่
จัดว่าเป็นสัตว์มีอายุยืนต่างก็มีชีวิตที่ดำารงอยู่จริงๆ เท่ากัน คือ ชั่วเวลา 
ของขณะจิตที่เป็นปัจจุบันเพียงขณะเดียว เพราะโดยปรมัตถ์ สัตว์ชื่อ 
ว่าเกิดเมื่อจิตเกิด ชื่อว่าตายเมือจิตดับ เป็นอย่างนี้เหมือนกันในทุกภพ 
ทุกภูมิ 
อนึ่งรูปขันธ์และนามขันธ์ของสัตว์ที่ประกอบด้วยขันธ์ทั้ง ๒ ประเภท 
เช่น มนุษย์ก็ดี รูปขันธ์ของสัตว์ที่มีแต่รูปขันธ์เพียงอย่างเดียวอย่าง 
พวกอสัญญีสัตว์ก็ดี นามขันธ์ของสัตว์ที่มีแต่นามขันธ์อย่างเดียว เช่น 
พวกอรูปพรหมก็ดี เมื่อเกิดมีขึ้นก็ไม่ปรากฏว่ามาจากไหน เมื่อแตกดับ 
เสื่อมสลายไปก็ไม่ปรากฏให้รู้ให้เห็นว่ามันหายไปไหน เกิดขึ้นแล้วก็ 
เสื่อมสลายไปอย่างรวดเร็วเหมือนสายฟ้าแลบ 
กล่าวโดยสรุป พุทธศาสนาได้กล่าวถึงการเกิดการตายไว้ทั้ง ๒ แบบ 
คือการเกิดการตายแบบข้ามภพข้ามชาติหรือการเกิดการตายอย่างที่ 
ชาวโลกทั่วไปเข้าใจกัน และการเกิดการตายแบบชั่วขณะจิตที่ 
พิจารณาจากแง่ปรมัตถ์ การเกิดการตายทั้ง ๒ แบบนี้ก็ถูกต้องด้วยกัน 
ในขอบเขตแห่งความหมายของตน แต่เมื่อกล่าวถึงสังสารทุกข์หรือ 
ความทุกข์ที่เกิดจากการเวียนว่ายตายเกิดอันไม่มีที่สิ้นสุดว่าเป็นสิ่งที่ควร 
ทำาลายให้หมดสิ้นไป พุทธศาสนาจะมุ่งเน้นถึงการเวียนว่ายตายเกิด 
แบบข้ามภพข้ามชาติ มากกว่าการเกิดการตายแบบชั่วขณะจิต
ท่าทีพุทธปรัชญาต่อสังสารวัฏ 
ถึงสังสารวัฏและการเวียนว่ายตายเกิดในแง่ของพระพุทธศาสนา 
เป็นเรื่องที่คนทั่วไปมีความสนใจกันมาก ตายแล้วเกิดหรือไม่ ถ้า 
หากว่าเกิดจะไปเกิดเป็นอะไร เมื่อตายแล้วจะไปไหน ตกนรกหรือไป 
สวรรค์ เป็นต้น เป็นที่น่าสังเกตว่า เรื่อง สังสารวัฎนั้นปรากฏในพระ 
ไตรปิฎกเป็นจำานวนมาก พระพุทธเจ้าได้ตรัสเรื่องนี้ว่า บุคคลที่มองเห็น 
ได้ ต้องอาศัยปัญญาซึ่งเกิดจากการตรัสรู้อริยสัจ ๔ พระองค์เองนั้น 
ได้วิชชา ๓ จึงสามารถเห็นการเวียนว่ายเกิด และสัตว์กำาลังเกิดกำาลัง 
ตายเป็นจำานวนมาก แต่เรื่องสังสารวัฎนี้ พระองค์ตรัสไว้ว่าเป็นเรื่องที่ 
น่าเบื่อหน่ายแม้อดีตชาติของพระองค์ บางชาติเกิดเป็นสัตว์ บางชาติ 
เกิดเป็นมนุษย์ สลับกันไปตามผลแห่งกรรมนั้น ดังพระพุทธพจน์ว่า 
เมื่อเราท่องเที่ยวอยู่ในสงสารได้ไปสู่นรกบ้าง ไปสู่เปรตโลกบ้าง ไปสู่ 
กำาเนิดสัตว์เดียรัจฉานอันเป็นทุกข์บ้าง เราได้เสวยทุกข์หลายอย่าง 
ตลอดกาลนาน เราได้อัตภาพเป็นมนุษย์บ้าง ได้ไปสู่สวรรค์บ้าง เป็น 
ครั้งคราวเราเกิดในรูปภพบ้าง ในอรูปภพบ้าง ในเนวสัญญีนาสัญญี 
ภพบ้าง ภพทั้งหลายเรารู้แจ้งแล้วว่า ไม่มีแก่นสาร อันปัจจัยปรุงแต่ง 
ขึ้น เป็นของแปรปรวนกลับกลอกถึงความแตกหักทำาลายไปทุกเมื่อ 
ครั้นเรารู้แจ้งภพนั้นอันเป็นของเกิดในตนทั้งสิ้นแล้ว เป็นผู้มีสติได้บรรลุ 
สันติธรรม 
(ขุ. เถร. ๒๖/๓๒๐/๓๐๘-๓๐๙. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) 
สังสารวัฏมีความสำาคัญน้อยมากในแง่พระพุทธศาสนา เพราะว่ามิใช่ 
เป้าหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา อย่างไรก็ตาม พระพุทธเจ้าตรัส 
ในเรื่องนี้เพื่อที่จะพยายามแสดงให้เห็นว่า สังสารวัฎนั้นมีความสัมพันธ์ 
กันในหลักธรรมอื่น ๆ ด้วยและต้องมองหลายแง่หลายประเด็นดังนี้
1. มองในแง่ไตรลักษณ์ การเวียนว่ายตายเกิดนั้น ที่สรรพสัตว์ต้องท่อง 
เที่ยวไปใน 31 ภูมินี้ด้วยอำานาจของกรรม กรรมดีทำาให้สัตว์ไปสู่ 
สถานที่ดี ถ้าเป็นกรรมชั่วนำาไปสู่สถานที่ไม่ดี ชีวิตนั้นหมุนขึ้น หมุนลง 
แสดงให้เห็นว่า หลักสังสารวัฏนั้นมิใช่กฎตายตัวของสรรพสัตว์ที่จะไป 
เกิดในสถานที่เดียวไม่ แต่เนื่องจากกรรมเป็นตัวแปรที่จะผลักดันให้ไป 
เกิดเป็นอะไรก็ได้ 
ชีวิตของเราเดินทางไปในสังสารวัฏ มีหมุนขึ้น หมุนลง ตกนรกแล้ว 
ต่อไปถ้าเรามีกรรมดีก็กลับไปขึ้นสวรรค์แล้วมาเกิดเป็นมนุษย์ คนที่เกิด 
เป็นพระพรหมด้วยกรรมดีบำาเพ็ญฌานสมาบัติ ต่อไปเมื่อสิ้นบุญแล้วก 
ลับไปตกนรก เพราะมีกรรมชั่วในหนหลังก็ได้ มันก็หมุนเวียนไปมา 
(พระเทพเวที,ประยุทธ์ ปยุตฺโต,กรรมและนรกสวรรค์สำาหรับคนรุ่น 
ใหม่,หน้า ๙๕-๙๖.) 
มีพุทธพจน์ตรัสว่า “เรือนในอัตตภาพที่เกิดในภพนั้น ๆ บ่อย ๆ เป็น 
ของไม่เที่ยง เราแสวงหานายช่าง คือ ตัณหาผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ 
ได้ท่องเที่ยวไปสู่สงสารสิ้นชาติมิใช่น้อยการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์รำ่าไป” 
(ขุ.เถร. ๒๖/๒๘๙/๒๙๗. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) 
จากข้อความนี้ การที่ทำากรรมชั่วนั้น เราก็สามารถปรับปรุงแก้ไขได้ 
โดยการกระทำากรรมดี เรื่องสังสารวัฏนั้นหมุนขึ้นหมุนลงตามอำานาจ 
แห่งกรรมเท่านั้น ดังพระพุทธพจน์ที่ว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้ง 
หลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำาเนิด มี 
กรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำาแนกสัตว์ให้เลว 
และประณีตได้” 
(ม.อุ. ๑๔/๕๘๑/๓๗๖. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) 
2. มองในแง่ระดับสติปัญญา“เมื่อเรายังเป็นปุถุชนมืดมนอยู่ ไม่เห็น 
อริยสัจ จึงได้ท่องเที่ยวเวียนไปมาอยู่ในคติทั้งหลาย ตลอดกาลนาน 
บัดนี้เราเป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว กำาจัดสงสารได้แล้ว คติทั้งปวงเรา 
ตัดขาดแล้ว บัดนี้ ภพใหม่มิได้มี” (ขุ.เถร. ๒๖/๓๐๕/๓๐๓. ฉบับ 
สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.)
“ บุคลตัดวัฏฏะได้แล้ว บรรลุนิพพานอันเป็น สถานที่ไม่มีตัณหา 
ตัณหาที่บุคคลให้เหือดแห้งแล้วย่อมไม่ไหลไป วัฏฏะที่บุคคลตัดได้แล้ว 
ย่อมไม่เป็นไป นี้แลเป็นที่สุดแห่งทุกข์” 
(ขุ.อุ. ๒๕/๑๔๘/๑๔๙. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) 
จากพระพุทธพจน์นี้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การที่จะเห็นอะไรสักอย่างหนึ่ง 
ไม่ว่าจะเป็นการระลึกชาติ การเห็นสรรพสัตว์กำาลังตาย กำาลังเกิด 
เป็นระดับชั้นปัญญาของพระอรหันต์ และที่สำาคัญก็คือ เมื่อสาวกของ 
พระพุทธเจ้าเป็นพระอรหันต์แล้วจึงไม่มีความสงสัยในเรื่องสังสารวัฏนี้ 
เลย ด้วยเหตุนี้เอง เมื่อบุคคลไม่เห็นแจ้งในอริยสัจ ๔ แล้ว ก็ย่อมมี 
ความสงสัยเป็นธรรมดา ดังนั้น พระองค์จึงทรงชี้แนะการใช้ปัญญา 
พิจารณาในเรื่องนี้ไว้ว่า... 
ยา กาจิ กงฺขา อิธ วา บุรำ วา 
สกเวทิยา วา ปรเวทิยา วา 
ฌายิโน ตา ปชหนฺติ สพฺพา 
อาตาปิโน พฺรหฺมจริยำ จรนฺตา 
ความสงสัยอย่างใดอย่างหนึ่ง ในอัตภาพนี้หรือในอัตภาพ 
อื่น ในความรู้ของตนหรือในความรู้ของผู้อื่น บุคคลผู้ 
เพ่งพินิจมีความเพียร ประพฤติพรหมจรรย์อยู่ย่อมละ 
ความสงสัยเหล่านั้นได้ทั้งหมด 
(ขุ.อุ. ๒๕/๑๒๓/๑๖๖. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) 
3. สังสารวัฏกับอพยากตปัญหาปัญหาเรื่องสังสารวัฏเป็นปัญหาส่วน 
หนึ่งในทิฏฐิ 10 ข้อ ในทรรศนะของพระพุทธเจ้า พระองค์จะไม่ทรง 
ตอบในเรื่องนี้ คือ 
1. โลกเที่ยง 
2. โลกไม่เที่ยง
3. โลกมีที่สุดหรือ 
4. โลกไม่มีที่สุดหรือ 
5. ชีวะกับสรีระ เป็นอันเดียวกันหรือ 
6. ชีวะกับสรีระ เป็นคนละอันหรือ 
7. สัตว์ตายแล้วเกิดหรือ 
8. สัตว์ตายแล้วไม่เกิดหรือ 
9. สัตว์ตายแล้วทั้งเกิดทั้งไม่เกิดหรือ 
10. สัตว์ตายแล้วก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่ 
(ม.ม. ๑๓/๑๔๗/๑๔๓. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) 
เหตุผลที่พระองค์ไม่ทรงตอบปัญหาเหล่านี้ หาใช่ว่าพระองค์จะไม่ทรง 
ทราบ แต่ที่พระองค์ไม่ทรงตอบก็เพราะว่าเป็นปัญหาที่ไม่เป็นไปเพื่อ 
ความดับทุกข์ และไม่เป็นประโยชน์อะไรในชีวิตประจำาวัน คำาสอน 
ของพระองค์ให้เน้นมองสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว ดังนั้น พระองค์จึงทรงเปรียบ 
เทียบเหมือนคนถูกยิงด้วยลูกศรที่อาบยาพิษ ต้องหาหมอมาผ่าตัดเอา 
ลูกศรออกก่อน ถ้าไม่ยอมให้หมอผ่าเอาศรออก จนกว่าจะทราบว่า ผู้ 
ที่ยิงลูกศรนั้นเป็นใคร มาจากไหน เป็นคนสูงหรือตำ่า ดำาหรือขาว 
ลูกศรทำาด้วยอะไร ก็จะให้ตายเปล่า 
ดังนั้น พระองค์ทรงเล็งเห็นว่า สังสารวัฏนั้นมิใช่เป้าหมายสูงสุดของ 
ศาสนาเลย พระองค์จะทรงตอบในเรื่องอริยสัจ 4 คือทุกข์ เหตุให้ 
เกิดทุกข์ ความดับทุกข์ และข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ เพราะว่า 
ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความดับทุกข์ และข้อปฏิบัติให้ถึงความดับ 
ทุกข์ เพราะว่าอริยสัจ 4 เป็นไปเพื่อประโยชน์ เป็นเบื้องต้นแห่ง 
พรหมจรรย์ เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำาหนัด เพื่อ 
ความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน 
4. ความสัมพันธ์ระหว่างกรรมและสังสารวัฏ สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงต้อง 
ตาย เพราะชีวิตมีความตายเป็นที่สุด สัตว์ทั้งหลายจักไปตามกรรม 
เข้าถึงผลแห่งบุญและบาป คือ ผู้มีกรรมเป็นบาปจักไปสู่นรก ส่วนผู้มี
กรรมเป็นบุญจักไปสู่สุคติ เพราะฉะนั้น พึงทำากรรมงามอันจะนำาไปสู่ 
สัมปรายภพ สั่งสมไว้ บุญทั้งหลาย ย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายใน 
ปรโลก 
(สำ.ส. ๑๕/๓๙๙/๑๔๑. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) 
ดูก่อนมหาสี โลภะเป็นปัจจัยแห่งการทำาบาปกรรม แห่งความเป็นไป 
แห่งบาปกรรม ดูก่อนมหาสี โทสะแล...........โมหะแล.............อ 
โยนิโสมนสิการ...............ดูก่อนมหาสี จิตอันบุคคลตั้งไว้ผิดแล เป็น 
เหตุเป็นปัจจัยแห่งการทำาบาปกรรมแห่งความเป็นไปแห่งบาปกรรม ดู 
ก่อนมหาสี กิเลสมีโลภะ เป็นต้นนี้แล เป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งการ 
ทำาบาปกรรม แห่งความเป็นแห่งบาปกรรม......... 
(องฺ.ทสก. ๒๔/๔๗/๙๐-๙๑. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.)“บุรุษ 
ทำากรรมเหล่าใดไว้ เขาย่อมเห็นกรรมเหล่านั้นในตน ผู้ทำากรรมดี 
ย่อมได้รับผลดี ผู้ทำากรรมชั่ว ย่อมได้รับผลชั่ว บุคคลหว่านพืชเช่นใด 
ย่อมได้ผล เช่นนั้น” 
(ขุ.ชา. ๒๗/๗๑๓/๑๖๖. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.)จาก 
ข้อความนี้ แสดงให้เห็นว่า เรื่องกรรม ผลแห่งกรรม และสังสารวัฏ 
การกระทำาทุกอย่างหาไร้ผลไม่ ผลของกรรมย่อมตอบสนองในโลกนี้ 
และโลกหน้า กรรมจึงเป็นฐานะมรรคาของสรรพสัตว์ที่จะนำาไปสุคติ 
หรือทุคติ ตามหลักพระพุทธศาสนาว่า ตราบใดที่ยังมีกิเลส ตัณหาอยู่ 
ย่อมวนเวียนหรือท่องเที่ยวไปสังสารวัฏในภพภูมิน้อยใหญ่ต่อไป การ 
หลุดพ้นสังสารวัฏได้นับว่าเป็นการดับกรรมดีและกรรมชั่ว เรื่องกรรม 
ผลแห่งกรรมและสังสารวัฏจึงมีความสัมพันธ์กัน เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่ 
กันและกัน ดังนั้น ชีวิตของมนุษย์ในวัฏฏะล้วนมีความผูกพันอยู่กับ 
กรรมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ พระพุทธเจ้ายืนยันมตินี้ในฐานสูตรว่า 
“โดยที่แท้สัตว์ทั้งปวงบรรดาที่มีการมา การไป การจุติ การอุบัติ ล้วน 
มีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำาเนิด มีกรรม 
เป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่ง จักทำากรรมใด ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม จัก 
เป็นผู้รับผลของกรรมนั้น”
สังสารวัฏในพุทธปรัชญาเถรวาท 
ก. สังสารวัฏในพระพุทธศาสนา ตามทรรศนะพระพุทธศาสนา การที่ 
คนใดคนหนึ่งตายไปตกนรกหรือไม่สวรรค์หรือบรรลุพระอรหัต ก็ 
เพราะอาศัยการกระทำาของตนเป็นพื้นฐาน มนุษย์จึงมีฐานะที่สูงสุด 
หมายความว่ามนุษย์เป็นนายของตนเอง ไม่มีผู้วิเศษหรือสิ่งอื่นใดจะมา 
ตัดสินชะตากรรมของมนุษย์ได้นอกจากกรรมของตนเท่านั้น เรื่องนรก 
- สวรรค์ เป็นสถานที่อยู่อาศัยสัตว์ทั้งหลายที่มาเกิดตามอำานาจผลแห่ง 
กรรม เรื่องราวเวียนว่ายนี้มีปรากฏขึ้นในพระญาณของพระพุทธเจ้า
ในวันตรัสรู้ 2 ประการคือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ 
ส่วนอาสวักขยญาณนั้นไม่มีการเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป 
ในที่นี้จะได้ศึกษาเกี่ยวกับปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุคูปปตญาณและอา 
สวักขยญาณตามลำาดับดังต่อไปนี้ 
1. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ หมายถึง ญาณที่สามารถระลึกอดีตชาติ 
คือ ชาติก่อนได้เป็นจำานวนมาก กล่าวคือ ระลึกชาติได้ หนึ่งชาติ 
สองชาติ เป็นต้น ในญาณนี้ยังระลึกสิ่งที่ละเอียดอีกด้วย ในเรื่องปุพเพ 
นิวาสานุสสติญาณนี้ พระพุทธเจ้าได้ตรัสกับวัจฉะในจูฬวัจฉโคตตสูตร 
ว่า 
(ม.ม. ๑๓/๒๔๒/๒๓๘. ดูข้อความนัยเดียวกันใน , ม.ม. ๑๓/๑๕/๑๕, 
ที.สี. ๙/๑๓๖/๑๐๗, ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) 
ดูก่อนวัจฉะ ก็เราเพียงต้องการเท่านั้น ย่อมระลึกชาติได้เป็นอันมาก 
คือ ระลึกได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง.....ตลอดสังวัฏ 
กัปเป็นอันมากบ้าง ตลอดวิวัฏกัปวิวัฏกัปเป็นอันมากบ้างว่าในภพโน้น 
เรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น เสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ มีกำาหนด 
อายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ใน 
ภพนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น 
มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น มีกำาหนดอายุเพียง 
เท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้วได้มาเกิดในภพนี้ เราย่อมระลึกชาติก่อน 
ได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการพร้อมทั้งอุทเทสด้วยประการนี้ 
ในอุปทาน พระพุทธเจ้าได้ตรัสถึงบุพพกรรมของพระองค์ไว้มากมาย 
แต่ในที่นี้จะขอเลือกนำามากล่าวเป็นบางเรื่องเท่านั้นดังนี้(ขุ.อป. 
๓๒/๓๙๒/๔๗๑-๔๗๔, ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฎกำ ๒๕๒๕.) 
ในพระชาติหนึ่ง พระองค์เป็นนักเลงชื่อ อปุนาสิ ได้กล่าวตู่ใส่ร้าย 
พระพุทธเจ้าสุรภิ ผู้มิได้ประทุษร้ายต่อพระองค์เลย ผลกรรมนั้นทำาให้ 
เวียนว่ายในนรกได้รับทุกขเวทนาตลอดกาลนาน ในพระชาติสุดท้าย 
จึงถูกนางสุนทรีใส่ความ
ในพระชาติหนึ่ง พระองค์ได้กล่าวตู่ใส่ความนันทะสาวกของ 
พระพุทธเจ้าสัพพาภิภู ต้องไปตกนรกอยู่เป็นเวลานาน ในพระชาติ 
สุดท้ายจึงถูกนางจิญจมานวิกามาใส่ความ 
ในพระชาติหนึ่ง พระองค์ทรงฆ่าน้องต่างมารดาตาย เพราะเหตุแห่ง 
ทรัพย์โดยการผลักน้องชายตกลงซอเขาแล้วเอาหินทุ่ม ในพระชาติ 
สุดท้ายจึงถูกพระเทวทัตเอาหินทุมสะเก็ดกระเด็นมากระทบพระบาทจน 
พระโลหิตห้อ 
ในพระชาติหนึ่ง พระองค์เป็นเด็กเล่นอยู่ที่หนทางใหญ่ เห็นพระ 
ปัจเจกพระพุทธเจ้าแล้ว จุดไฟเผาดักไว้ทั่วทุกหนทาง ในพระชาติ 
สุดท้ายจึงถูกพระเทวทัตชักชวนนายขมังธนูให้มาประทุษร้ายพระองค์ 
ในพระชาติหนึ่ง พระองค์เป็นนายควาญช้าง ได้ไล่ช้างให้จับมัดพระ 
ปัจเจกพุทธเจ้าผู้กำาลังเดินบิณฑบาต ในพระชาติสุดท้ายจึงถูกข้าง 
นาฬาคีรีจะประทุษร้ายเป็นต้น 
ในญาณนี้เป็นเรื่องระลึกอดีตชาติที่ผ่านมา พระพุทธศาสนาพยายามจะ 
ชี้ให้เห็นว่าบุคคลที่สามารถระลึกชาติได้นั้น จำาต้องบำาเพ็ญบารมีไว้เป็น 
หลายชาติ แต่ละชาตินั้นมีทั้งความสุขและความทุกข์ทรมาน ชีวิตที่ 
ผ่านประสบการณ์มาแต่ละชาติเป็นเรื่องของกรรมที่อำานวยผลมาให้ 
2. จุตูปปาตญาณ ได้แก่ญาณที่พระองค์สามารถเห็นหมู่สัตว์ทั้งหลาย 
กำาลังจุติ (ตาย) กำาลังอุบัติ (เกิด) นั่นหมายความว่า สัตว์ที่กำาลังตาย 
และกำาลังเกิดสัตว์บางพวกทำาดีก็ไปสถานทีดี และบางพวกทำาชั่วก็ไปสู่ 
สถานที่ไม่ดี (ทุคติ) ในญาณนี้พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ดังนี้ 
ดูก่อนวัจฉะ ก็เราเพียงต้องการเท่านั้น ย่อมจะเห็นหมู่สัตว์ที่กำาลังจุติ 
กำาลังอุบัติเลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก 
ด้วยทิพยจักขุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดชิ่งหมู่สัตว์ ผู้เป็น 
ไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโน 
ทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิยึดถือการกระทำาด้วยมิจฉา 
ทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตาย เพราะกายแตก เขาเข้าถึงอบาย ทุคติ 
วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต 
มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้าเป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำาด้วย
อำำนำจสัมมำทิฏฐิ เบื้องหน้ำแต่ตำยเพรำะกำยแตก เขำเข้ำถึงสุคติ 
โลกสวรรค์ 
(ม.ม. ๑๓/๒๔๒/๒๓๘, ข้อควำมนัยเดียวกันใน, ม.อุป. 
๑๔/๕๐๕/๓๓๔-๓๓๕, ม.ม. ๑๓/๑๖/๑๖, ที.สี. ๙/๑๓๗/๑๐๙, ฉบับ 
สยำมรัฏฐสฺส เตปิฎกำ ๒๕๒๕.) 
ในญำณนี้ เมื่อพิจำรณำแล้ว จะเห็นได้ว่ำ ทำำไมคนเรำจึงไม่เห็นสัตว์ที่ 
เกิดที่ตำยเล่ำ จำกข้อควำมที่อ้ำงข้ำงบนนี้จะเห็นได้ว่ำ พระองค์ทรง 
เห็นบรรดำสัตว์กำำลังตำย กำำลังเกิด ด้วยทิพยจักษุ หรือตำทิพย์ 
ซึ่งมนุษย์ปุถุชนธรรมดำไม่สำมำรถเห็นได้ จุตูปปำตญำณเป็นวิชชำที่ 
เกี่ยวโยงถึงกฎแห่งกรรมและสังสำรวัฏพระองค์ทรงมีจักษุทิพย์ด้วย 
ญำณทั้งสำมคือ อติตังสญำณ อนำคตังสญำณ และปัจจุบันนังสญำณ 
อตีตังสญำณ ปรีชำหยั่งเห็นเหตุกำรณ์ในส่วนอดีตกำลว่ำ เป็น 
เหตุกำรณ์อะไรครั้งไหนอย่ำงไร เป็นต้น เหมือนตนเองได้เห็นมำก่อน 
อนำคตังสญำณ ปรีชำหยั่งเห็นเหตุกำรณ์ในอนำคตอันไกลว่ำเป็นเช่น 
ไรเกิดขึ้นเมื่อไร ที่ไหน เป็นต้น ญำณนี้จะสำมำรถพยำกรณ์ 
เหตุกำรณ์อนำคตได้อย่ำงแม่นยำำดุจตำเห็น 
ปัจจุบันนังสญำณ ปรีชำหยั่งรู้เห็นเหตุกำรณ์ในปัจจุบันอันจะเกิดขึ้นใน 
ระยะใกล้และรู้ได้ว่ำเป็นเหตุกำรณ์อะไร เกิดที่ไหน มองเห็น 
เหตุกำรณ์เฉพำะหน้ำได้อย่ำงแจ่มแจ้ง เป็นต้น 
3. อำสวักขยญำณ หมำยถึงญำณที่สิ้นอำสวะกิเลส พระองค์ทรง 
กระทำำให้แจ้งซึ่งเจโตมุติ ปัญญำวิมุติ ในญำณนี้ถือว่ำเป็นวิชชำสูงสุด 
ทำงพระพุทธศำสนำพระองค์สำมำรถทำำลำยกิเลสอำสวะได้โดยเด็ดขำด 
พระองค์ได้ตรัสกับวัจฉะไว้ดังนี้ 
“ดูก่อนวัจฉะ เรำทำำให้แจ้งแล้วซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญำวิมุติ อันหำอำ 
สวะมิได้ เพรำะอำสวะทั้งหลำยสิ้นไป ด้วยปัญญำอันยิ่งด้วยตนเองใน 
ปัจจุบันแล้วเข้ำถึงอยู่(ม.ม. ๑๓/๒๔๒/๒๓๘. ฉบับ สยำมรฏฐสฺส เตปิฎกำ 
๒๕๒๕.)ในวิชชำ 3 เป็นหลักฐำนยืนยันได้ว่ำ ทำงพระพุทธศำสนำ 
ยอมรับเรื่องสังสำรวัฏหรือกำรเวียนว่ำยตำยเกิดแบบข้ำมภพข้ำมชำติ 
อย่ำงแน่นอน เรื่องสังสำรวัฏนี้พยำยำมชี้ให้เห็นว่ำ กำรตำยไม่ใช่
กระบวนสุดท้ำยของชีวิตหรือจบสิ้นเท่ำนั้น ชีวิตใหม่ต้องดำำเนินต่อไป 
อย่ำงต่อเนื่องตำมแรงแห่งกรรมนั้น 
สังสำรวัฏที่หำจุดเริ่มและจุดสิ้นสุดไม่พบ(อนมตัคคสังสำร) 
เป็นที่ทรำบกันดีในหมู่ชำวพุทธว่ำ ชีวิตทุกชีวิตที่เกิดมำในโลกนี้ล้วน 
เป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน ทุกสิ่งทุกอย่ำงมีควำมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำ 
ทุกชีวิตต้องดิ้นรนหำอำหำรมำเพื่อเลี้ยงชีวิตให้อยู่รอดไปวันแล้ววันเล่ำ 
ทุกชีวิตต่ำงแย่งชิงกันเพื่อให้ตัวเองอยู่รอด ในสมรภูมิแห่งกำรแก่งแย่ง 
นี้ ผู้ที่ร่ำงกำยใหญ่กว่ำฉลำดกว่ำหรือปรับตัวให้เข้ำกับสิ่งแวดล้อมได้ดี 
กว่ำ ย่อมเอำชนะคู่แข่งได้และได้อำหำรไปหล่อเลี้ยงชีวิตได้มำกว่ำ 
พระพุทธองค์ตรัสว่ำ สรรพสัตว์ทั้งปวงดำำรงอยู่ได้ด้วยอำหำร ถ้ำ 
ปรำศจำกอำหำรแล้วสรรพสัตว์ก็ดำำรงอยู่ไม่ได้ดังนั้น อำหำรจึงเป็น 
ปัจจัยหลักให้ทุกชีวิตต่ำงทนทุกข์ทรมำนต่ำง ๆ เพื่อให้ได้อำหำรมำ 
หล่อเลี้ยงร่ำงกำยของตนให้มีชีวิตอยู่ได้ไปวัน ๆ เหมือนนำ้ำมันที่หล่อ 
เลี้ยงให้รถวิ่งเคลื่อนที่ไปได้แต่ละขณะฉันนั้นในส่วนของสัตว์ทั้งหลำย 
นั้น นอกจำกจะหำอำหำรมำหล่อเลี้ยงร่ำงกำยเพียงอย่ำงเดียวแล้วยัง 
ไม่เพียงพอแก่ควำมเป็นจริงของสิ่งที่มีชีวิตได้ เพรำะนอกจำกอำหำร 
ทำงร่ำงกำยแล้ว สิ่งที่มีชีวิตทั้งหลำยยังจะต้องหำอำหำรมำหล่อเลี้ยง 
จิตใจของตนด้วย ซึ่งอำหำรที่ว่ำนี้ก็มีควำมสำำคัญมำกพอกับอำหำรทำง 
ร่ำงกำย หรืออำจมีควำมสำำคัญมำกกว่ำด้วยซำ้ำไป อำหำรที่ว่ำนี้ ได้แก่ 
อำหำรทำงอำรมณ์ควำมรู้สึก เรียกว่ำ ผัสสำหำร หรืออำหำรทำง 
สัมผัส เรำจะเห็นได้ว่ำบำงคนต้องไปหำรับประทำนยังสถำนที่มีดนตรีขับ 
กล่อมด้วยจึงจะได้อำรมณ์ แม้จะเสียค่ำใช้จ่ำยแพงแสนแพงก็ยอมเพื่อ 
แลกกับอำหำรทำงอำรมณ์อำหำรทำงจิต เรียกว่ำ มโนสัญเจตนำหำร 
หรืออำหำรทำงใจทำงควำมคิด บำงทีเรำเรียกบุคคลที่ไม่มีควำมคิด
รอบคอบหรือไม่ฉลำดว่ำโตแต่งกำยแต่งสมองฟ่อ นั่นหมำยควำมว่ำ 
เขำไม่มีอำหำรทำงใจ หรือ พูดให้เข้ำใจง่ำย ๆ ก็คือ ควำมคิดสติ 
ปัญญำหรือข้อมูลทำงสมองไม่ค่อยมี จึงทำำให้พิกำรทำงควำมคิดไป 
หรือที่เรำเรียกติดปำกว่ำ อัปปัญญำ ถ้ำคนใดมีอำหำรทำงใจมำก คน 
นั้นจะฉลำดคิดมีควำมเข้ำใจอะไรได้ลึกซึ้ง เพรำะข้อมูลทำงสมองมีมำก 
จึงทำำให้มีข้อมูลในกำรนำำไปคิดได้มำกสุดท้ำย คือ อำหำรที่เป็นปัจจัย 
หนุนให้เกิดในภพใหม่ต่อไป เรียกว่ำ วิญญำณำหำร หรืออำหำรทำง 
วิญญำณ หมำยถึงอำหำรที่สนับสนุนให้เกิดในภพต่อไปเรื่อย ๆ ไม่มีที่ 
สิ้นสุด ซึ่งอำหำรประเภทนี้ ได้แก่ ควำมไม่เข้ำใจ ควำมหลงผิดแล้ว 
ส่งผลให้ยึดถือผิด ๆ ในสิ่งที่ผิดนั้นต่อไป เรียกให้เข้ำใจง่ำย ๆ ว่ำ มี 
อวิชชำ ตัณหำ และ อุปำทำนดังนั้น ควำมทุกข์ทั้งหมดที่สัตว์ทั้งหลำย 
ได้รับและเสวยอยู่ในขณะนี้ล้วน เป็นผลมำจำกกำรแสวงอำหำรล้วน ๆ 
ไม่ใช่อย่ำงอื่นเลย ขอให้เข้ำใจควำมจริงไว้อย่ำงหนึ่งว่ำ ไม่ว่ำเรำจะ 
เห็นพฤติกรรมของสัตว์ต่ำง ๆ แสดงออกมำในลักษณะเช่นใดก็ตำม ก็ 
ขอให้รู้ว่ำนั่นเขำกำำลังหำอำหำรหรือกำำลังรับประทำนอำหำรอย่ำงใด 
อย่ำงหนึ่งอยู่ในบรรดำอำหำร 4 ชนิดนี้ที่กล่ำวมำนี้ ก็เพื่อให้เขำมี 
ร่ำงกำยที่ดี มีควำมสุขที่ดี มีควำมคิดสติปัญญำที่ดี และมีภพใหม่ที่ดี 
ขึ้น 
ในกำรแสวงหำอำหำรนี้ ก็เป็นกำรเรียกแบบสุภำพ ๆ เพื่อให้ดูดีเท่ำนั้น 
เอง แต่ถ้ำจะเรียกให้ตรงประเด็นก็ต้องบอกว่ำ กำรแสวงหำอำหำรนี้ 
คือ กำรแย่งชิงเอำร่ำงกำยของผู้อื่นเข้ำมำเป็นร่ำงกำยของตนเอง เพื่อ 
ให้ร่ำงกำยของตนเองดำำรงอยู่ต่อไปได้ เพรำะกำรกินอำหำรก็คือ กำร 
กลืนกินร่ำงกำยของผู้อื่นเข้ำไปเป็นร่ำงกำยของตนเองสัตว์บำงประเภท 
มีกำรแย่งชิงแบบโหด ๆ เห็นแล้วชวนให้สังเวชสลดใจ ไม่อยำกจะ 
เกิดอีกต่อไป แต่บำงพวกอย่ำงมนุษย์แย่งชิงแบบสุภำพหน่อย หรือว่ำ 
ยิ่งโหดกว่ำสัตว์อื่น ๆ ก็ไม่รู้ดูเองก็แล้วกัน แต่ว่ำกำรบริโภคนั้นบอกได้ 
ว่ำ ดูดีกว่ำพวกอื่นพูดโดยสรุปว่ำ สัตว์เล็ก ๆ น้อย ๆ ก็กินสัตว์ที่มี 
กำำลังน้อยกว่ำตัวเอง ใครที่ใหญ่กว่ำ หรือมีปัญญำมำกกว่ำก็ทำำร้ำย 
ร่ำงกำยแย่งชิงเอำของผู้ด้อยกว่ำมำเป็นอำหำรของตนได้ เรียกได้ว่ำ 
ไม่มีใครเลยที่จะอยู่ได้ด้วยลำำพังตนเองโดยไม่พึ่งพำอำหำรหล่อเลี้ยง นี้ 
แหละเป็นธรรมชำติที่พระพุทธเจ้ำเรียกว่ำ เป็นอนัตตำ คือ ไม่อำจอยู่
ด้วยลำำพังตนเองได้ ต้องอำศัยปัจจัยอื่น ๆ เข้ำมำเกื้อหนุนให้เป็นอยู่ 
ตำมหลักปฏิจจสมุปบำท เมื่อเป็นเช่นนี้ ทำำให้ผู้ที่ฉลำดเท่ำนั้นจึงจะ 
สำมำรถดับภพดับชำติ ดับอำหำรใด ๆ ทั้งหมดได้ ไม่ต้องดิ้นรน 
แสวงหำอีกตลอดไป ส่วนพวกที่ไม่เข้ำใจหลงผิดก็ต้องทนทุกข์แย่งชิง 
ร่ำงกำยกันต่อไปควำมทุกข์เกิดจำกกำรแสวงหำอำหำรต่ำง ๆ ที่พูดถึงนี้ 
มีมำกเท่ำใดนั้นแต่ละคนแต่ละท่ำนย่อมรู้อยู่แก่ใจของตนเองไม่จำำเป็น 
ต้องบอก ขึ้นอยู่กับบุคคลแต่ละคนว่ำ จะต้องกำรอำหำรชนิดใดมำก 
และรู้จักเลือกกินอำหำรที่มีประโยชน์แก่ตนเองมำกน้อยเพียงใด ในหลัก 
กำรของพระพุทธศำสนำบอกได้เพียงอย่ำงเดียวว่ำชีวิตทุกชีวิตที่เกิดขึ้น 
ด้วยอำำนำจอวิชชำ ตัณหำ อุปำทำน ล้วนมีธรรมชำติเป็นอย่ำงเดียว 
เท่ำนั้น คือ ทุกข์ กำรที่เรำมีควำมรู้สึกว่ำ มีควำมสุขอยู่บ้ำง ก็เพรำะ 
ควำมทุกข์มันลดน้อยลงไปเพรำะเรำได้อำหำรเข้ำไปช่วยแบ่งเบำควำม 
ทุกข์เท่ำนั้นเอง เพรำะควำมสุขเล็ก ๆ น้อย ๆ ชั่วครั้งชั่วครำวนี้เอง ที่ 
ทำำให้พวกเรำหลงว่ำ มีควำมสุขแล้วก็แสวงหำสุขนั้นและในที่สุดก็ติด 
สุขนั้นอีก โดยที่ไม่รู้ควำมจริงว่ำ นั่นเป็นเพียงทุกข์ที่ลดน้อยลงไป 
เท่ำนั้น เมื่อรู้ว่ำ ควำมจริงคือทุกข์อย่ำงนี้แล้ว ลองหันกลับมำสำำรวจดู 
ควำมจริงอีกอย่ำงบ้ำงว่ำ สำระแก่นสำรของชีวิตนี้ คืออะไร และเพื่อ 
อะไรพระพุทธองค์ตรัสว่ำ ชีวิตในสังสำรวัฏนี้ ที่มีควำมยำวนำนมำก 
จนไม่มีใครจะกลับไปดูจุดเริ่มต้นของสังสำรวัฏ ได้ และในขณะ 
เดียวกันก็ไม่มีใครที่จะตำมไปดูจุดสุดท้ำยของสังสำรวัฏนี้ได้เช่นกัน จึง 
เป็นชีวิตที่เต็มไปด้วยทุกข์นำนำประกำร 
เมื่อพูดถึงเรื่องควำมยำวนำนของทุกข์ในสังสำรวัฏนี้ พระพุทธองค์ ได้ 
ทรงเปรียบเทียบควำมยำวนำนของสังสำรวัฏเป็นกัปให้เหล่ำภิกษุสำวก 
ฟังในปัพพตสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ 20 ไว้ว่ำกัปหนึ่งนั้นนำนนักหนำ 
มิใช่เรื่องง่ำยเลยที่จะนับเป็นปี หรือ 100 ปี พันปีหรือแสนปี แล้ว 
พระพุทธองค์ก็ทรงเปรียบเทียบให้สำวกฟังว่ำ 
"สมมติว่ำมีภูเขำลูกหนึ่งที่เป็นหินล้วน ๆ ไม่มีสิ่งอื่นปะปนเลยไม่มีรูโหว่ 
แม้แต่นิดเดียว ภูเขำลูกนั้นมีควำมกว้ำงและควำมยำวด้ำนละ 1 โยชน์ 
หรือด้ำนละ 16 กิโลเมตร และมีควำมสูง 1 โยชน์เช่นกันเวลำล่วงไป 
ทุก ๆ 100 ปี ให้มีคนนำำผ้ำฝ้ำยที่ละเอียดที่สุดมำปัดภูเขำนั้นหนึ่งครั้ง 
ทำำอยู่เช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนภูเขำนั้นจะรำบเป็นหน้ำกลองนั่นแหละเรียก
ว่ำเวลำ 1 กัป ถ้ำเทียบกับกำรนับปัจจุบัน คงจะหลำยล้ำนล้ำนปี จึง 
เรียกหนึ่งกัป"เมื่อตรัสถึงควำมยำวนำนของกัปแล้ว พระพุทธองค์ก็ได้ 
ตรัสถึงควำมยำวนำนของชีวิตในสังสำรวัฏอีกต่อไปว่ำ "ชีวิตของพวก 
เธอที่ท่องเที่ยวไปเกิดในภพนั้นบ้ำงภพนี้บ้ำงยำวนำนจนนับเป็นกัปไม่ได้ 
ว่ำหนึ่งกัป หรือร้อยกัป หรือพันกัป หรือแสนกัป ทั้งนี้ก็เพรำะว่ำ 
สงสำรนี้มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดอันใคร ๆ ไม่สำมำรถจะตำมไปล่วงรู้ 
ได้นั่นเอง"เมื่อสังสำรวัฏยำวนำนจนไม่มีใครล่วงรู้หรือกำำหนดได้นี้เอง 
ชีวิตทุกชีวิตที่ต้องท่องเที่ยวไปเกิดในที่ต่ำง ๆ และก็ต้องหำอำหำรอยู่ 
ทุกขณะเพื่อกำรดำำรงอยู่อย่ำงไม่มีที่สิ้นสุด จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่ำควำม 
ทุกข์จะมีมำกน้อยเพียงใด 
ดังนั้น พระพุทธองค์จึงตรัสเป็นกำรเตือนสำวกว่ำ "เพรำะสงสำรนี้มีจุด 
เริ่มต้นและจุดสุดท้ำยที่ไม่มีใครจะตำมไปรู้ได้นี้แหละ ก็เพียงพอแล้วที่ 
พวกเธอจะควรเบื่อหน่ำยในสังขำรร่ำงกำย ควรคลำยกำำหนัดจำกควำม 
ต้องกำรทั้งหลำย ควรหลุดพ้นไปจำกกำรเกิดได้แล้ว"เพื่อให้รู้ถึงเรื่อง 
ควำมทุกข์ของชีวิตที่ท่องเที่ยวไปในสังสำรวัฏอันนำนนี้ พระพุทธองค์ 
ได้แสดงอัสสุสูตร พระสูตรว่ำด้วยเรื่องนำ้ำตำให้พระสำวกฟังว่ำ"เพรำะ 
สังสำรวัฏอันยำวนำนที่พวกเธอได้ท่องเที่ยวไปเกิดยังภพต่ำงๆ นั้นถ้ำ 
หำกจะเปรียบเทียบแล้วนำ้ำตำของพวกเธอที่ร้องไห้เสียใจเพรำะสูญเสีย 
ของที่รักที่พอใจไป หรือร้องไห้เพรำะประสพกับควำมทุกข์ยำกหรือ 
ประสพกับสิ่งที่ไม่พอใจ นำ้ำตำนำ้ำหลั่งไหลออกมำรวมกันมำกยิ่งกว่ำนำ้ำ 
ในมหำสมุทรทั้ง 4 รวมกันเสียอีก"ในขีรสูตร ก็ได้ทรงเปรียบเทียบอีก 
ว่ำ "กำรที่พวกเธอทั้งหลำยวนเวียนเกิดแล้วตำย ตำยแล้วเกิดอยู่เช่นนี้ 
นำ้ำนมของมำรดำที่พวกเธอดื่มเข้ำไปแล้ว เมื่อเปรียบเทียบกับนำ้ำใน 
มหำสมุทรทั้ง 4 แล้วนำ้ำในมหำสมุทรยังน้อยกว่ำอย่ำงเทียบไม่ได้อีก 
เช่นกัน"นอกจำกนี้ในอัฏฐิปุญชสูตรได้ให้คำำอุปมำอีกว่ำ "ชีวิตของพวก 
เรำในสังสำรวัฏนี้ที่ได้ตำยไปในชำติต่ำง ๆ ถ้ำจะสำมำรถนำำเอำกระดูก 
แต่ละชำติมำรวมกันได้เพียงกัปเดียว ก็จะมีกองกระดูกของเรำคนเดียว 
ได้ปริมำณมำกกว่ำภูเขำเวปุลละที่ตั้งล้อมเมืองมคธอยู่นั้น"เมื่อรู้ว่ำ 
สังสำรวัฏยำวนำนเช่นนี้ ชีวิตของสัตว์ทั้งปวงต้องเป็นทุกข์เพรำะ 
แก่งแย่งหำอำหำรเลี้ยงชีพเพื่อให้ตนเองดำำรงอยู่ได้อย่ำงไม่รู้จบเช่นนี้ 
แล้วอะไรคือสำระที่จริงแห่งกำรเกิดหรือชีวิต และแต่ละคนจะไปถึงจุด
สุดท้ำยได้อย่ำงไรนั้น ในที่นี้จะยังไม่ตอบโดยตรง แต่บอกได้คำำ 
เดียวว่ำ ปัญหำทุกอย่ำงมีทำงแก้ไขได้ ถ้ำเรำรู้สำเหตุ และต้องแก้ 
ปัญหำที่ต้นเหตุนั้น ปัญหำทุกอย่ำงจึงจะสงบรำบคำบลงได้ 
ดังพุทธพจน์ ที่เหล่ำพระสำวกเพียงแค่ได้ฟังครั้งเดียวก็สำมำรถแก้ 
ปัญหำทั้งหมดได้ คือ เย ธัมมำ เหตุปะภะวำ เตสัง เหตุง ตถำค 
โต.--->>> ผู้ศึกษำอย่ำงละเอียดจะรู้วิธีแก้ปัญหำที่เอ่ยมำทั้งหมดได้ 
แน่นอน ถ้ำต้องกำร และขอให้เชื่อไว้อีกอย่ำงว่ำ ธรรมของพระพุทธ 
องค์ ผู้ที่ปฏิบัติจริงจะเห็นประจักษ์ได้ด้วยตนเอง (สันทิฏฐิโก) โดยไม่ 
จำำกัดกำลเวลำ (โอหิปัสสิโก) เป็นสิ่งที่ทุกคนจะนำำมำปฏิบัติด้วยตังเอง 
(โอปนยิโก) และเป็นสิ่งที่ผู้รู้จะได้พบกับตนเอง โดยไม่ต้องผ่ำนจำก 
กำรบอกเล่ำจำกใคร (ปัจจัตตัง) อีกต่อไป
กำรเกิดใหม่ 
คำำว่ำ “ กำรเกิดใหม่” นี้ ในหลักพุทธธรรมขั้นปรมัตถ์ไม่มี แต่มีใน 
กำรสื่อควำมหมำยของคนทั่วไป เพรำะหำกมีกำรเกิดใหม่ ก็จะต้องมี 
กำรตำย จึงมีคำำถำมว่ำ คำำว่ำ คนตำยหมำยถึงอะไรตำย? คนตำย 
แล้วเกิดหรือไม่? ถ้ำตอบว่ำไม่เกิด (ขำดสูญ) ก็จบลงแค่นั้น แต่ถ้ำ 
ตอบว่ำ คนตำยแล้วเกิด จึงถำมต่อไปอีกว่ำ อะไรไปเกิด? ฯลฯกำร 
ตอบคำำถำมที่ยกมำข้ำงต้น หำกตอบตำมหลักพุทธธรรมก็ตอบได้หลำย 
นัย 
คือ ตำยแล้วเกิด หมำยถึง กระบวนกำรที่มีกำรอิงอำศัยกันเกิดของ 
เหตุปัจจัยตำมหลักปฏิจจสมุปบำทเมื่อไม่มีกำรดับเหตุปัจจัยตัวใดตัวหนึ่ง 
มันก็จะหมุนเวียนกันไปเป็นวงจรหรือวงเวียน เรียกว่ำ “วัฏฏะ 3” คือ 
เมื่อกิเลส ก็เป็นปัจจัยให้เกิดกรรม เมื่อเกิดกรรม (กำรกระทำำ) ก็จะ 
ต้องมีผลของกรรม ครั้งครบหนึ่งรอบก็จะหมุนต่อไป คือ วิบำก (ผล 
ของกรรม) ก็จะเป็นปัจจัยให้เกิดกิเลสอีก เป็นกำรเกิดใหม่ ในหลัก 
พุทธธรรมที่แท้นั้นมิใช่วิญญำณล่องลอยจำกร่ำงกำยที่ตำยแล้วไปเกิด 
ในร่ำงใหม่ ซึ่งหมำยถึงชำติใหม่ แต่วิญญำณในพุทธธรรมนั้นเป็นสิ่ง 
ที่เกิดดับได้ ซึ่งมันเป็นอนัตตำ คือ วิญญำณ ก็มิใช่ตัวตนที่ถำวร 
หรือไม่มีตัวคนเที่ยงแท้ กำรเกิดใหม่จึงมิใช่วิญญำณเดิมที่ออกจำกร่ำง 
เก่ำแล้วไปอำศัยร่ำงใหม่ในชำติใหม่ แต่หมำยถึง วิญญำณมีกำรสืบ 
ต่อจำกวิญญำณดวงหนึ่งไปเป็นวิญญำณอีกดวงหนึ่ง เปรียบได้กับดวง 
เทียนเล่มหนึ่งมีเปลวไฟลุกอยู่ ต่อมำก็เอำเทียนอีกเล่มหนึ่งมำจุดไฟจำก 
เทียนเล่มแรก ไฟที่ได้มำจำกเล่มเก่ำนั้นจะ เรียกว่ำ เป็นไฟดวงเก่ำ 
ไม่ได้ มันก็เป็นไฟดวงใหม่ แต่อำศัยไฟดวงเก่ำ แสงเทียนจำกเล่ม 
เก่ำมำสู่เล่มใหม่ 
ก็เหมือนกับวิญญำณที่มีกำรสืบต่อจำกเดิมไปสู่วิญญำณดวงใหม่ 
เหมือนกับพ่อแม่สร้ำงบุตรธิดำ พ่อแม่ก็ต้องให้เลือดเนื้ออันเป็นร่ำงกำย 
และให้วิญญำณอันเป็นส่วนของจิตใจจึงเป็นไปตำมหลักแห่งปฏิจจสมุ 
ปบำท หรือหลักวัฏฏะ 3 คือ กิเลส กรรม วิบำก
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงSirintip Denduang
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียHercule Poirot
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 
บทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะบทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะOnpa Akaradech
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรComputer ITSWKJ
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1Gawewat Dechaapinun
 

Mais procurados (20)

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
บทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะบทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะ
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
 

Semelhante a สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด

สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdfmaruay songtanin
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcoolTongsamut vorasan
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาOnpa Akaradech
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypracticeTongsamut vorasan
 
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ยุวธิดา เสนอ ครูนิตยา
ยุวธิดา  เสนอ ครูนิตยายุวธิดา  เสนอ ครูนิตยา
ยุวธิดา เสนอ ครูนิตยาNong Ple Chuaytanee
 
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
06 ปัญหาการุณยฆาต
06 ปัญหาการุณยฆาต06 ปัญหาการุณยฆาต
06 ปัญหาการุณยฆาตetcenterrbru
 
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิOnpa Akaradech
 

Semelhante a สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด (20)

สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
 
20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf
 
20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ยุวธิดา เสนอ ครูนิตยา
ยุวธิดา  เสนอ ครูนิตยายุวธิดา  เสนอ ครูนิตยา
ยุวธิดา เสนอ ครูนิตยา
 
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
 
06 ปัญหาการุณยฆาต
06 ปัญหาการุณยฆาต06 ปัญหาการุณยฆาต
06 ปัญหาการุณยฆาต
 
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 

สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด

  • 1. สังสารวัฏกับการเวียนว่ายตายเกิด สังสาร หรือ สงสาร แปลว่า ความท่องเที่ยวไป ในทางพุทธ ศาสนาหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด มิใช่หมายถึงความรู้สึกหวั่นไหว ด้วยความกรุณาเมื่อเห็นผู้อื่นได้รับความทุกข์ สังสารวัฏ แปลว่า ความท่องเที่ยวไปในอาการที่เป็นวัฏฏะ การหมุนวน อยู่ในการเวียนว่ายตายเกิด เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัฏสงสาร สงสารวัฏ หมายถึงการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภพภูมิต่างๆ ของสัตว์โลก ด้วยอำานาจกิเลส กรรม วิบาก หมุนวนอยู่เช่นนั้นตราบเท่าที่ยังตัดกิเลส กรรม วิบากไม่ได้ [1 ความหมายของสังสารวัฏ คำาว่า "สังสารวัฏ" มาจากคำาว่า "สังสาร ะ = การท่องเทียวไป" กับ "วัฏฏะ = วงกลม"สังสารวัฏจึงมีความ
  • 2. หมายตามตัวอักษรว่า "การท่องเที่ยวไปเป็นวงกลม" โดยใจความ หมายถึง การที่สิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งมนุษย์เวียนตายเวียนเกิด คือเกิดแล้วตาย ตายแล้วเกิดใหม่ แล้วตายอีก แล้วเกิดใหม่อีก วน เวียนอยู่อย่างนี้อย่างไม่มีวันจบสิ้น นี่คือการท่องเที่ยวไปเป็นวงกลม หรือสังสารวัฏตามความหมายของพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่าเป็นการ ท่องเที่ยวไปก็เพราะการมีชีวิตอยู่เปรียบเสมือนการเดินทาง นับตั้งแต่ ปฏิสนธิขึ้นในครรภ์ของมารดาจนกระทั่งออกมาสู่โลกภายนอก ภาวะ ทางกายและทางจิตของมนุษย์ไม่เคยหยุดอยู่กับที่แต่ก้าวไปข้างหน้าทุก ขณะจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตนี้ก็ผ่านจากภพนี้ไปสู่ภพอื่น เมื่อสิ้นสุด ชีวิตในภพอื่นก็ผ่านไปสู่ภพอื่นต่อไปและต่อๆ ไปไม่สิ้นสุด ครั้งหนึ่ง พระพุทธองค์ตรัสว่า "...ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องขวางกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบ ไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ที่สุดเบื้องต้นย่อมไม่ปรากฏ ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ท่อนไม้ที่บุคคลโยนขึ้นไปบนอากาศ บางคราวก็ ตกลงทางโคน บางคราวก็ตกลงทางขวาง บางคราวก็ตกลงทางปลาย แม้ฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องขวางกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ก็ฉันนั้นแล บางคราวก็จากโลกนี้ไปสู่ปรโลก บางคราวก็จากปรโลกมาสู่โลกนี้ ข้อนั้นเพราะเหตุไรเพราะว่า สงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลาย ไม่ได้..." "...ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ ฯลฯ เมื่อบุคคลหนึ่งท่องเที่ยวไปมาอยู่ตลอดกัปหนึ่ง
  • 3. พึงมีโครงกระดูก ร่างกระดูก กองกระดูกใหญ่เท่าภูเขาเวปุลละ ถ้ากองกระดูกนั้นพึงเป็นของที่จะขนมารวมกันได้ และกระดูกที่ได้กองรวมไว้แล้วไม่พึงกระจัดกระจายไป ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าสงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลาย ไม่ได้..."พระพุทธพจน์ที่ได้ยกมากล่าวนี้ แสดงให้เห็นแนวความคิดที่ สำาคัญในพุทธศาสนาหลายประการ คือ --->> ประการแรก แสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนถึงความคิดหรือ ความเชื่อเรื่องสังสารวัฏ อันหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิดแบบข้าม ภพข้ามชาติ มิใช่การเกิดการตายแบบชั่วไม่กี่ขณะจิต ที่ว่าเมื่อความ รู้สึกว่า "ตัวเรา" หรือ "ตัวกู" เกิดขึ้นด้วยอำานาจของอุปาทานก็ เป็นการเกิด เมื่อความรู้สึกว่า "ตัวกู" ดับไปก็เป็นการตาย จริงอยู่ การเวียนว่ายตายเกิดตามแนวปฏิจจสมุปบาทอาจอธิบายในแนวดัง กล่าวนี้ได้ แต่การถือว่าสังสารวัฏตามคำาสอนของพระพุทธศาสนา หมายถึงการเวียนว่ายตายเกิดตามนัยนี้อย่างเดียว แล้วปฏิเสธการเวียน ว่ายตายเกิดแบบข้ามภพข้ามชาติ ย่อมเท่ากับปฏิเสธพระพุทธพจน์ดัง กล่าวนั้นและพระพุทธพจน์ที่ยกมากล่าาวไว้นั้น ถ้าพิจารณาอย่างเที่ยง ธรรมตรงไปตรงมาก็ไม่มีความสมเหตุสมผลใดๆ ที่จะตีความว่า หมาย ถึงการเวียนว่ายตายเกิดแบบ "ตัวกู ของกู" ในชั่วไม่กี่ขณะจิตของ ชีวิตปัจจุบัน นอกจากจะบิดเบือนตีความเพื่อให้เข้ากับ "ทิฏฐิ" ของตน เท่านั้น ถ้าจะพิจารณาว่า พระพุทธพจน์จากสังยุตตนิกายที่ยกมาอ้างอิง นั้น "น่าจะ" หรือ "คงจะ" ไม่ใช่พระพุทธพจน์ที่แท้จริง คงจะเป็น ข้อความที่ "ชาวพุทธบางคน" เพิ่มเติมเข้ามาแล้วแอบอ้างเป็นพระพุทธ พจน์ในภายหลัง ก็ต้องปฏิเสธข้อความทำานองนี้ทั้งหมด ที่มีอยู่มากมาย ในพระไตรปิฎก ซึ่งการกระทำาเช่นนี้ยากที่ชาวพุทธซึ่งมี "ตถาคตโพธิ สัทธา - เชื่อในความตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า" โดยสุจริตจะยอมรับได้ อนึ่ง ถ้าเป็นการเวียนว่ายตายเกิดแบบเมื่อความรู้สึกยึดมั่นว่า "ตัวกู" เกิดขึ้นเป็นการเกิด เมื่อความยึดมั่นว่า "ตัวกู" ดับลงก็เป็นการตาย แม้จะมีการเกิดการตายแบบนี้กี่หมื่นกี่แสนครั้งในชีวิตนี้ เมื่อตายลง จริงๆ ก็จะมีเพียงโครงกระดูกเดียวเท่านั้น แต่ในพระพุทธพจน์ที่ยกมา กล่าวไว้นั้น พระพุทธเจ้าตรัสแสดงถึงโครงกระดูกของสัตว์หรือบุคคล
  • 4. คนหนึงที่เวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ ๑ กัปว่า ถ้าสามารถนำามากอง รวมกันได้ กองกระดูกก็จะสูงใหญ่เท่าภูเขาเวปุลละ ซึ่งเป็นภูเขาใหญ่ ลูกหนึ่งในห้าลูกที่วงล้อมเมืองราชคฤห์ในสมัยนั้น เรื่องนี้แสดงให้เห็น ชัดโดยปราศจากข้อสงสัยว่าสงสารหรือสังสารวัฏที่พระพุทธเจ้าทรง หมายถึงนั้น เป็นการเวียนว่ายตายเกิดแบบข้ามภพข้ามชาติ --->> ประการที่สอง แสดงให้เห็นว่า ตามทรรศนะของพุทธศาสนา เราไ่่่้ม่อาจสาวไปหาจุดเริ่มต้นของมนุษย์ที่มีชีวิตอยู่ในเวลานี้แต่ละ คนได้ว่าเขาเริ่มมีขึ้นครั้งแรกเมื่อไร จุดเริ่มต้นครั้งแรกคงจะมี เพราะ มนุษย์เป็นสภาวธรรมอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการปรุงแต่งของเหตุปัจจัย ในธรรมชาติ แต่พุทธศาสนาถือว่าจุดเริ่มต้นเช่นนั้นเป็นสิ่งเกินวิสัยที่ เราจะสาวย้อนไปหาจนถึงที่สุดได้ จุดที่สุดเบื้องปลายแห่งสังสารวัฏของ บุคคลบางคนอาจจะพอกำาหนดได้ นั่นคือ สำาหรับบุคคลบางคนที่เห็น แจ้งหรือมีโอกาสที่จะเห็นแจ้งในสัจธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนไว้ ในที่สุดเขาก็จะเข้าถึงความหลุดพ้นจากจากทุกข์เข้าสู่ปรินิพพานไป สังสารวัฏสำาหรับบุคคลเช่นนี้ ก็เป็นอันสิ้นสุดลง แต่สำาหรับบุคคลที่ไม่มี โอกาสได้พบสัจธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ หรือพบแต่ไม่ศรัทธา เลื่อมใสในพุทธธรรมที่สุดเบื้องปลายแห่งสังสารวัฏของบุคคลเช่นนี้ย่อม เป็นสิ่งที่ไม่อาจกำาหนดได้ เพราะสัี่งสารวัฏของเขาจะไม่มีวันสิ้นสุด --->> ประการที่สาม แสดงให้เห็นว่า อวิชชาและตัณหาเป็นตัวการที่ ทำาให้บุคคลต้องเวียนว่ายตายเกิด ท่องเที่ยวเร่ร่อนไปในสังสารวัฏ คำา ว่า "อวิชชา" ในที่นี้หมายถึงความไม่รู้แจ้งในสัจธรรม ท่านชี้ไปที่ ความไม่รู้แจ้งในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ความไม่รู้แจ้งในทุกข์ ไม่รู้แจ้งใน เหตุให้เกิดทุกข์ (ทุกขสมุทัย) ไม่รู้แจ้งในความดับทุกข์ (ทุกขนิโรธ) และไม่รู้แจ้งในข้อปฏิบัติทีนำาไปสู่ึ่ความดับทุกข์ (ทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทา) ถ้ารู้แจ้งในอริยสัจทั้ง ๔ ประการนี้ การท่องเที่ยวเวียนว่าย ตายเกิดในสังสารวัฏก็สิ้นสุดลง แต่เพราะไม่รู้แจ้งในอริยสัจ ๔ จึงต้อง เวียนว่ายตายเกิดไปไม่มีที่สิ้นสุด ส่วนตันหาได้แก่ความทะยานอยาก หมายถึงตัณหา ๓ อย่าง คือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา หรือตัณหา ๖ คือ รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา และธัมมตัณหา ทั้งอวิชชาและตัณหาดังกล่าวนี้เป็น กิเลสอันเป็นสิ่งที่ทำาให้จิตเศร้าหมอง ตามทรรศนะของพุทธศาสนา
  • 5. ตราบใดที่มนุษย์ยังไม่สามารถทำาลายกิเลสให้หมดไปจากจิต การเวียน ว่ายตายเกิดในสังสารวัฏก็ยังมีอยู่ตราบนั้น --->> ประการที่สี่ แสดงให้เห็นความยาวนานของเวลา ๑ กัป ตมทร รศนาของพุทธศาสนาว่า เป็นเวลาที่ยาวนานมาก ถ้าสามารถนำาเอา โครงกระดูกของบุคคลหนึ่งที่เวียนว่ายตายเกิดท่องเที่ยวไปมาแล้ว ๆ เล่า ๆ ในสังสารวัฏในช่วงเวลา ๑ กัป มากองรวมกันได้ กองโครง กระดูกก็จะสูงใหญ่เท่ากับภูเขาเวปุลละ ซึ่งย่อมยากที่จะนับจำานวนได้ ว่าจำานวนโครงกรดูกทั้งหมดเท่าไร เกี่ยวกับเวลา ๑ กัปนี้ ในสังยุตตนิกาย พระพุทธเจ้าตรัสว่า...ดูกรภิกษุ เหมือนอย่างว่าภูเขาหินลูกใหญ่ยาวโยชน์หนึ่ง กว้างโยชน์หนึ่ง สูง โยชน์หนึ่ง ไม่มีช่อง ไม่มีโพรง เป็นแท่งทึบ บุรุษพึงอาผ้าแคว้นกา สีมาแล้วปัดภูเขานั้น ๑๐๐ ปีต่อครั้ง ภูเขาหินลูกใหญ่นั้นพึงถึงการ หมดสิ้นไปเพราะความพยายามนี้ยังเร็วกว่าแล ส่วนกัปหนึ่งยังไม่ถึงสิ้น สุดไป กัปนานอย่างนี้แล บรรดากัปที่นานอย่างนี้ พวกเธอท่องเที่ยว ไปแล้วมิใช่กัปหนึ่ง มิใช่ร้อยกัป มิใช่พันกัป มิใช่แสนกัป ข้อนั้น เพราะเหตุไร เพราะว่าสงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้องตนเบื้องปลายไม่ได้ ฯลฯ ดูกรภิษุทั้งหลาย ก็เหตุเพียงเท่านี้พอทีเดียวที่จะเบื่อหน่ายใน สังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำาหนัด พอเพื่อจะหลุดพ้น ดังนี้ ...ดูกรภิกษุ เหมือนอย่างว่านครที่ทำาด้วยเหล็ก ยาวโยชน์หนึ่ง กว้าง โยชน์หนึ่ง สูงโยชน์หนึ่ง เต็มด้วยเมล็ดผักกาด มีเมล็ดพันธุ์ผักกาด รวมกันเป็นกลุ่มก้อน บุรุษพึงหยิบเอาเมล็ดพันธุ์ผักกาดเมล็ด หนึี่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่ง ๆ ออกจากนครนั้นโดยล่วงไปหนึ่งร้อยปีต่อ เมล็ด เมล็ดพันธุ์ผักกาดกองใหญ่นั้นพึงสิ้นไปหมดไปเพราะความ พยายามนี้ (เวลาที่ใช่ในกาลนี้) ยังเร็วกว่า ส่วนเวลากัปหนึ่งยังไม่สิ้น สุดไปกัปนานอย่างนี้แล...พระพุทธพจน์ดังกล่าวนี้แสดงให้เห็นว่า เวลา ๑ กัปเป็นเวลาที่นานจนยากที่จะประมาณได้ว่านานเท่าไร ถ้าพิจารณา ตามกรณีของการนำาเอาเมล็ดพันธุ์ผักกาดออกจากนครกำาแพงเหล็ก ๔ เหลี่ยม ๑๐๐ ปี ต่อ ๑ เมล็ด เวลา ๒,๕๐๐ ปีเศษตั้งแต่พระพุทธเจ้า ปรินิพพานมาจนถึงปัจจุบัน เมล็ดพันธ์ผักกาดเพิ่งถูกนำาออกมาเพียง
  • 6. ๒๕ เมล็ดเเท่านั้น ยังไม่ถึงแม้เพียง ๑ หยิบมือ ส่วนที่ยังไม่ได้นำาออก มานั้นมากจนสุดประมาณได้ เวลาที่เราท่องเที่ยวเวียนว่ายตายเกิดอยู่ ในสังสารวัฏนั้น พระพุทธเจ้าตรัสว่าไม่ใช่กัปเดียว ไม่ใช่ร้อยกัป พัน กัป หรือแสนกัป ฟังดูไม่น่าเชื่อว่าจะเป็นไปได้ แต่พระพุทธศาสนาก็ ไม่เคยบอกว่าต้องเชื่อ เพราะสิ่งเช่นนี้เกินวิสัยที่ใครจะคาดคิด เหมือน กับที่ถามว่าสากลจักวาลที่เรามีชีวิตอาศัยอยู่นี้เริ่มมีขึ้นมาตั้งแต่เมื่อไร และจะสิ้นสุดลงเมื่อไร ย่อมไม่มีมนุษย์คนใดให้คำาตอบได้ ทั้งๆ ที่สากล จักรวาลนี้เป็นสิ่งที่เราสามารถรับรู้ทางประสาทสัมผัสได้บ้างบางส่วน สากลจักรวาลนี้จึงปรากฏแก่่้เราในทำานองเดียวกับที่พระพุทธเจ้าตรัส ว่า อนมตคฺโคยำ สำสาโร = สงสารนี้มีที่สุดเบื้องต้นและเบื้องปลายอัน กำาหนดไม่ได้ การเกิดและการตายแบบชั่วขณะจิต ความจริงในคำาสอนของพระพุทธศาสนามีการกล่าวถึงการเกิดและการ ตายไว้ทั้ง ๒ นัย คือ การเกิดและการตายแบบข้ามภพข้ามชาติดัง กล่าวมาแล้ว และการเกิดและการตายแบบชั่วขณะจิต การเกิดตายนัย แรกเป็นการเกิดตายของมนุษย์ตามที่เข้าใจกันทั่วไป ส่วนการเกิดตาย นัยหลังเป็นการเกิดตายที่กำาหนดเอาอาการเกิดดับของจิตเป็นหลัก พุทธศาสนาถือว่าจิตมีการเกิดดับเป็นขณะอยู่ตลอดเวลา การเกิดและ การตายแบบชั่วขณะจิต มีข้อความในขุททกนิกาย มหานิเทส กล่าวไว้ ว่า"ชีวิตน้อย ย่อมตั้งอยู่น้อยอย่างไร... ชีวิตย่อมเป็นอยู่ในขณะจิต ปัจจุบัน ไม่เป็นอยู่แล้ว จักไม่เป็นอยู่ชีวิต อัตภาพ สุข และทุกข์ทั้ง มวล เป็นธรรมประกอบกันเสมอด้วยจิตเพียงดวงเดียว ขณะย่อมเป็นไป รวดเร็ว เทวดาเหล่าใดย่อมดำารงชีวิตอยู่ตลอดเวลาแปดหมื่นสี่พันกัป เทวดาเหล่านั้นย่อมไม่ประกอบด้วยจิตสองดวงดำารงอยู่เลย... สัตว์ไม่เกิดด้วยขันธ์อันเป็นอนาคต ย่อมเป็นอยู่ด้วยปัจจุบันขันธ์ สัตว์ โลกตายแล้วเพราะความแตกแห่งจิต นี้เป็นบัญญัติทางปรมัตถ์... ขันธ์ ทั้งหลายมาโดยไม่ปรากฏ แตกแล้วก็ไ่ำปสู่ที่ไม่ปรากฏ ย่อมเกิดขึ้น และเสื่อมไปเหมือนสายฟ้าแลบในอากาศ"
  • 7. ข้อความจากพระสุตตันตปิฎกข้างบนนี้ เป็นการแสดงการเกิดการตาย แบบชั่วขณะจิต ซึ่งเป็นการเกิดการตายตามความหมายทางปรมัตถ์ นั่นคือ เมื่อจิตดวงหนึ่งเกิดขึ้น สิ่งมีชีวิตที่มีจิตซึ่งพุทธศาสนาเรียกว่า สัตว์ ก็ชื่อว่าเกิดขึ้น เมื่อจิตดวงนั้นดับก็เรียกว่าสัตว์ตาย การเกิดการ ตายแบบนี้มีอยู่ทุกขณะจิต ในชั่วชีวิตตามธรรมดาของบุคคลหนึ่งย่อมมี การเกิดการตายแบบนี้นับครั้งไม่ถ้วน ซึ่งย่อมแตกต่างจากการเกิดจาก ครรภ์มารดา และตายเมื่อสังขารร่างกายนั้นแตกดับเพราะสิ้นลมหายใจ ในข้อความที่ยกมากล่าวไว้นั้น ข้อความว่า "ชีวิตย่อมเป็นอยู่ในขณะ จิตปัจจุบัน" หมายความว่า การดำารงอยู่ที่แท้จริงของชีวิตมีช่วงเวลาที่ แสนสั้นเพียงชั่วขณะจิตเดียว คือ ขณะจิตปัจจุบันเท่านั้น คำาว่า "ไม่ เป็นอยู่แล้ว" หมายความว่า ชีวิตไม่ได้เป็นอยู่ด้วยขณะจิตที่เป็นอดีต เพราะขณะจิตที่เป็นอดีตได้ดับไปแล้ว ไม่มีอยู่แล้ว คำาว่า "จักไม่เป็น อยู่" หมายความว่า การดำารงอยู่ของชีวิตไม่ได้อยู่ด้วยขณะจิตที่เป็น อนาคต เพราะขณะจิตที่เป็นอนาคตยังไม่เกิดขึ้น จิตที่มีอยู่จริงๆ ก็คือ จิตที่เป็นปัจจุบันซึ่งเกิดขึ้นตั้งอยู่เพียงขณะเดียวแล้วก็ดับ เมื่อมันดับไป แล้วจิตดวงใหม่ก็เกิดขึ้นสืบต่อและตั้งอยู่เพียงขณะเดียวแล้วดับไป จิต จะเกิดดับทยอยกันไปไม่ขาดสายด้วยอำานาจการปรุงแต่งของเหตุปัจจัย คือ กิเลส กรรม และวิบาก ตราบใดที่บุคคลยังไม่เข้าสู่นิพพาน กระแสจิตก็ยังคงดำาเนินเป็นสันตติเรื่อยไปตราบนั้น ข้อความว่า "ชีวิต อัตภาพ สุข และทุกข์ทั้งมวลเป็นธรรมประกอบกัน เสมอด้วยจิตเพียงดวงเดียว ขณะย่อมเ่็ป็นไปรวดเร็ว" หมายความว่า ชีวิต ร่างกาย สุข และทุกข์ที่บุคคลมี ก็มีอยู่ที่จิตซึ่งเกิดขึ้นทีละดวง หรือขณะละดวง ช่วงเวลาที่ธรรมชาติมีสุขเป็นต้นดำารงอยู่จึงเป็นช่วง สั้นเท่ากับขณะจิตที่ดำารงอยู่เพียงขณะเดียวแล้วดับไปนั้นเท่านั้น บรรดาสัตว์ทั้งหลายในภพภูมิทั้งปวงไม่ว่าจะเป็นสัตว์ประเภทที่มีอายุสั้น จอย่างสัตว์เดียรัจฉานบางชนิด หรือที่มีอายุยืนมากถึงแปดหมื่นสี่พัน กัปอย่างพวกอรูปพรหมประเภทเนวสัญญานาสัญญายตนะ ล้วนมีชีวิต ดำารงอยู่ด้วยขณะจิตที่เกิดดับขณะละดวงเท่านั้น ไม่ได้ดำารงชีวิตอยู่ ด้วยจิตที่เกิดดับทีละสองดวงหรือมากกว่าสองดวง เพราะจิตของสัตว์ใน ทุกภพทุกภูมิที่เกิดดับทีละหลายดวงไม่มี เพราะฉะนั้น ถ้าพิจารณาจาก แง่ปรมัตถ์ ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์ที่มีอายุสั้นเมื่อเปรียบเทียบกับอรูปพรหมที่
  • 8. จัดว่าเป็นสัตว์มีอายุยืนต่างก็มีชีวิตที่ดำารงอยู่จริงๆ เท่ากัน คือ ชั่วเวลา ของขณะจิตที่เป็นปัจจุบันเพียงขณะเดียว เพราะโดยปรมัตถ์ สัตว์ชื่อ ว่าเกิดเมื่อจิตเกิด ชื่อว่าตายเมือจิตดับ เป็นอย่างนี้เหมือนกันในทุกภพ ทุกภูมิ อนึ่งรูปขันธ์และนามขันธ์ของสัตว์ที่ประกอบด้วยขันธ์ทั้ง ๒ ประเภท เช่น มนุษย์ก็ดี รูปขันธ์ของสัตว์ที่มีแต่รูปขันธ์เพียงอย่างเดียวอย่าง พวกอสัญญีสัตว์ก็ดี นามขันธ์ของสัตว์ที่มีแต่นามขันธ์อย่างเดียว เช่น พวกอรูปพรหมก็ดี เมื่อเกิดมีขึ้นก็ไม่ปรากฏว่ามาจากไหน เมื่อแตกดับ เสื่อมสลายไปก็ไม่ปรากฏให้รู้ให้เห็นว่ามันหายไปไหน เกิดขึ้นแล้วก็ เสื่อมสลายไปอย่างรวดเร็วเหมือนสายฟ้าแลบ กล่าวโดยสรุป พุทธศาสนาได้กล่าวถึงการเกิดการตายไว้ทั้ง ๒ แบบ คือการเกิดการตายแบบข้ามภพข้ามชาติหรือการเกิดการตายอย่างที่ ชาวโลกทั่วไปเข้าใจกัน และการเกิดการตายแบบชั่วขณะจิตที่ พิจารณาจากแง่ปรมัตถ์ การเกิดการตายทั้ง ๒ แบบนี้ก็ถูกต้องด้วยกัน ในขอบเขตแห่งความหมายของตน แต่เมื่อกล่าวถึงสังสารทุกข์หรือ ความทุกข์ที่เกิดจากการเวียนว่ายตายเกิดอันไม่มีที่สิ้นสุดว่าเป็นสิ่งที่ควร ทำาลายให้หมดสิ้นไป พุทธศาสนาจะมุ่งเน้นถึงการเวียนว่ายตายเกิด แบบข้ามภพข้ามชาติ มากกว่าการเกิดการตายแบบชั่วขณะจิต
  • 9. ท่าทีพุทธปรัชญาต่อสังสารวัฏ ถึงสังสารวัฏและการเวียนว่ายตายเกิดในแง่ของพระพุทธศาสนา เป็นเรื่องที่คนทั่วไปมีความสนใจกันมาก ตายแล้วเกิดหรือไม่ ถ้า หากว่าเกิดจะไปเกิดเป็นอะไร เมื่อตายแล้วจะไปไหน ตกนรกหรือไป สวรรค์ เป็นต้น เป็นที่น่าสังเกตว่า เรื่อง สังสารวัฎนั้นปรากฏในพระ ไตรปิฎกเป็นจำานวนมาก พระพุทธเจ้าได้ตรัสเรื่องนี้ว่า บุคคลที่มองเห็น ได้ ต้องอาศัยปัญญาซึ่งเกิดจากการตรัสรู้อริยสัจ ๔ พระองค์เองนั้น ได้วิชชา ๓ จึงสามารถเห็นการเวียนว่ายเกิด และสัตว์กำาลังเกิดกำาลัง ตายเป็นจำานวนมาก แต่เรื่องสังสารวัฎนี้ พระองค์ตรัสไว้ว่าเป็นเรื่องที่ น่าเบื่อหน่ายแม้อดีตชาติของพระองค์ บางชาติเกิดเป็นสัตว์ บางชาติ เกิดเป็นมนุษย์ สลับกันไปตามผลแห่งกรรมนั้น ดังพระพุทธพจน์ว่า เมื่อเราท่องเที่ยวอยู่ในสงสารได้ไปสู่นรกบ้าง ไปสู่เปรตโลกบ้าง ไปสู่ กำาเนิดสัตว์เดียรัจฉานอันเป็นทุกข์บ้าง เราได้เสวยทุกข์หลายอย่าง ตลอดกาลนาน เราได้อัตภาพเป็นมนุษย์บ้าง ได้ไปสู่สวรรค์บ้าง เป็น ครั้งคราวเราเกิดในรูปภพบ้าง ในอรูปภพบ้าง ในเนวสัญญีนาสัญญี ภพบ้าง ภพทั้งหลายเรารู้แจ้งแล้วว่า ไม่มีแก่นสาร อันปัจจัยปรุงแต่ง ขึ้น เป็นของแปรปรวนกลับกลอกถึงความแตกหักทำาลายไปทุกเมื่อ ครั้นเรารู้แจ้งภพนั้นอันเป็นของเกิดในตนทั้งสิ้นแล้ว เป็นผู้มีสติได้บรรลุ สันติธรรม (ขุ. เถร. ๒๖/๓๒๐/๓๐๘-๓๐๙. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) สังสารวัฏมีความสำาคัญน้อยมากในแง่พระพุทธศาสนา เพราะว่ามิใช่ เป้าหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา อย่างไรก็ตาม พระพุทธเจ้าตรัส ในเรื่องนี้เพื่อที่จะพยายามแสดงให้เห็นว่า สังสารวัฎนั้นมีความสัมพันธ์ กันในหลักธรรมอื่น ๆ ด้วยและต้องมองหลายแง่หลายประเด็นดังนี้
  • 10. 1. มองในแง่ไตรลักษณ์ การเวียนว่ายตายเกิดนั้น ที่สรรพสัตว์ต้องท่อง เที่ยวไปใน 31 ภูมินี้ด้วยอำานาจของกรรม กรรมดีทำาให้สัตว์ไปสู่ สถานที่ดี ถ้าเป็นกรรมชั่วนำาไปสู่สถานที่ไม่ดี ชีวิตนั้นหมุนขึ้น หมุนลง แสดงให้เห็นว่า หลักสังสารวัฏนั้นมิใช่กฎตายตัวของสรรพสัตว์ที่จะไป เกิดในสถานที่เดียวไม่ แต่เนื่องจากกรรมเป็นตัวแปรที่จะผลักดันให้ไป เกิดเป็นอะไรก็ได้ ชีวิตของเราเดินทางไปในสังสารวัฏ มีหมุนขึ้น หมุนลง ตกนรกแล้ว ต่อไปถ้าเรามีกรรมดีก็กลับไปขึ้นสวรรค์แล้วมาเกิดเป็นมนุษย์ คนที่เกิด เป็นพระพรหมด้วยกรรมดีบำาเพ็ญฌานสมาบัติ ต่อไปเมื่อสิ้นบุญแล้วก ลับไปตกนรก เพราะมีกรรมชั่วในหนหลังก็ได้ มันก็หมุนเวียนไปมา (พระเทพเวที,ประยุทธ์ ปยุตฺโต,กรรมและนรกสวรรค์สำาหรับคนรุ่น ใหม่,หน้า ๙๕-๙๖.) มีพุทธพจน์ตรัสว่า “เรือนในอัตตภาพที่เกิดในภพนั้น ๆ บ่อย ๆ เป็น ของไม่เที่ยง เราแสวงหานายช่าง คือ ตัณหาผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ ได้ท่องเที่ยวไปสู่สงสารสิ้นชาติมิใช่น้อยการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์รำ่าไป” (ขุ.เถร. ๒๖/๒๘๙/๒๙๗. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) จากข้อความนี้ การที่ทำากรรมชั่วนั้น เราก็สามารถปรับปรุงแก้ไขได้ โดยการกระทำากรรมดี เรื่องสังสารวัฏนั้นหมุนขึ้นหมุนลงตามอำานาจ แห่งกรรมเท่านั้น ดังพระพุทธพจน์ที่ว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้ง หลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำาเนิด มี กรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำาแนกสัตว์ให้เลว และประณีตได้” (ม.อุ. ๑๔/๕๘๑/๓๗๖. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) 2. มองในแง่ระดับสติปัญญา“เมื่อเรายังเป็นปุถุชนมืดมนอยู่ ไม่เห็น อริยสัจ จึงได้ท่องเที่ยวเวียนไปมาอยู่ในคติทั้งหลาย ตลอดกาลนาน บัดนี้เราเป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว กำาจัดสงสารได้แล้ว คติทั้งปวงเรา ตัดขาดแล้ว บัดนี้ ภพใหม่มิได้มี” (ขุ.เถร. ๒๖/๓๐๕/๓๐๓. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.)
  • 11. “ บุคลตัดวัฏฏะได้แล้ว บรรลุนิพพานอันเป็น สถานที่ไม่มีตัณหา ตัณหาที่บุคคลให้เหือดแห้งแล้วย่อมไม่ไหลไป วัฏฏะที่บุคคลตัดได้แล้ว ย่อมไม่เป็นไป นี้แลเป็นที่สุดแห่งทุกข์” (ขุ.อุ. ๒๕/๑๔๘/๑๔๙. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) จากพระพุทธพจน์นี้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การที่จะเห็นอะไรสักอย่างหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการระลึกชาติ การเห็นสรรพสัตว์กำาลังตาย กำาลังเกิด เป็นระดับชั้นปัญญาของพระอรหันต์ และที่สำาคัญก็คือ เมื่อสาวกของ พระพุทธเจ้าเป็นพระอรหันต์แล้วจึงไม่มีความสงสัยในเรื่องสังสารวัฏนี้ เลย ด้วยเหตุนี้เอง เมื่อบุคคลไม่เห็นแจ้งในอริยสัจ ๔ แล้ว ก็ย่อมมี ความสงสัยเป็นธรรมดา ดังนั้น พระองค์จึงทรงชี้แนะการใช้ปัญญา พิจารณาในเรื่องนี้ไว้ว่า... ยา กาจิ กงฺขา อิธ วา บุรำ วา สกเวทิยา วา ปรเวทิยา วา ฌายิโน ตา ปชหนฺติ สพฺพา อาตาปิโน พฺรหฺมจริยำ จรนฺตา ความสงสัยอย่างใดอย่างหนึ่ง ในอัตภาพนี้หรือในอัตภาพ อื่น ในความรู้ของตนหรือในความรู้ของผู้อื่น บุคคลผู้ เพ่งพินิจมีความเพียร ประพฤติพรหมจรรย์อยู่ย่อมละ ความสงสัยเหล่านั้นได้ทั้งหมด (ขุ.อุ. ๒๕/๑๒๓/๑๖๖. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) 3. สังสารวัฏกับอพยากตปัญหาปัญหาเรื่องสังสารวัฏเป็นปัญหาส่วน หนึ่งในทิฏฐิ 10 ข้อ ในทรรศนะของพระพุทธเจ้า พระองค์จะไม่ทรง ตอบในเรื่องนี้ คือ 1. โลกเที่ยง 2. โลกไม่เที่ยง
  • 12. 3. โลกมีที่สุดหรือ 4. โลกไม่มีที่สุดหรือ 5. ชีวะกับสรีระ เป็นอันเดียวกันหรือ 6. ชีวะกับสรีระ เป็นคนละอันหรือ 7. สัตว์ตายแล้วเกิดหรือ 8. สัตว์ตายแล้วไม่เกิดหรือ 9. สัตว์ตายแล้วทั้งเกิดทั้งไม่เกิดหรือ 10. สัตว์ตายแล้วก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่ (ม.ม. ๑๓/๑๔๗/๑๔๓. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) เหตุผลที่พระองค์ไม่ทรงตอบปัญหาเหล่านี้ หาใช่ว่าพระองค์จะไม่ทรง ทราบ แต่ที่พระองค์ไม่ทรงตอบก็เพราะว่าเป็นปัญหาที่ไม่เป็นไปเพื่อ ความดับทุกข์ และไม่เป็นประโยชน์อะไรในชีวิตประจำาวัน คำาสอน ของพระองค์ให้เน้นมองสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว ดังนั้น พระองค์จึงทรงเปรียบ เทียบเหมือนคนถูกยิงด้วยลูกศรที่อาบยาพิษ ต้องหาหมอมาผ่าตัดเอา ลูกศรออกก่อน ถ้าไม่ยอมให้หมอผ่าเอาศรออก จนกว่าจะทราบว่า ผู้ ที่ยิงลูกศรนั้นเป็นใคร มาจากไหน เป็นคนสูงหรือตำ่า ดำาหรือขาว ลูกศรทำาด้วยอะไร ก็จะให้ตายเปล่า ดังนั้น พระองค์ทรงเล็งเห็นว่า สังสารวัฏนั้นมิใช่เป้าหมายสูงสุดของ ศาสนาเลย พระองค์จะทรงตอบในเรื่องอริยสัจ 4 คือทุกข์ เหตุให้ เกิดทุกข์ ความดับทุกข์ และข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ เพราะว่า ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความดับทุกข์ และข้อปฏิบัติให้ถึงความดับ ทุกข์ เพราะว่าอริยสัจ 4 เป็นไปเพื่อประโยชน์ เป็นเบื้องต้นแห่ง พรหมจรรย์ เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำาหนัด เพื่อ ความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน 4. ความสัมพันธ์ระหว่างกรรมและสังสารวัฏ สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงต้อง ตาย เพราะชีวิตมีความตายเป็นที่สุด สัตว์ทั้งหลายจักไปตามกรรม เข้าถึงผลแห่งบุญและบาป คือ ผู้มีกรรมเป็นบาปจักไปสู่นรก ส่วนผู้มี
  • 13. กรรมเป็นบุญจักไปสู่สุคติ เพราะฉะนั้น พึงทำากรรมงามอันจะนำาไปสู่ สัมปรายภพ สั่งสมไว้ บุญทั้งหลาย ย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายใน ปรโลก (สำ.ส. ๑๕/๓๙๙/๑๔๑. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) ดูก่อนมหาสี โลภะเป็นปัจจัยแห่งการทำาบาปกรรม แห่งความเป็นไป แห่งบาปกรรม ดูก่อนมหาสี โทสะแล...........โมหะแล.............อ โยนิโสมนสิการ...............ดูก่อนมหาสี จิตอันบุคคลตั้งไว้ผิดแล เป็น เหตุเป็นปัจจัยแห่งการทำาบาปกรรมแห่งความเป็นไปแห่งบาปกรรม ดู ก่อนมหาสี กิเลสมีโลภะ เป็นต้นนี้แล เป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งการ ทำาบาปกรรม แห่งความเป็นแห่งบาปกรรม......... (องฺ.ทสก. ๒๔/๔๗/๙๐-๙๑. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.)“บุรุษ ทำากรรมเหล่าใดไว้ เขาย่อมเห็นกรรมเหล่านั้นในตน ผู้ทำากรรมดี ย่อมได้รับผลดี ผู้ทำากรรมชั่ว ย่อมได้รับผลชั่ว บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผล เช่นนั้น” (ขุ.ชา. ๒๗/๗๑๓/๑๖๖. ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.)จาก ข้อความนี้ แสดงให้เห็นว่า เรื่องกรรม ผลแห่งกรรม และสังสารวัฏ การกระทำาทุกอย่างหาไร้ผลไม่ ผลของกรรมย่อมตอบสนองในโลกนี้ และโลกหน้า กรรมจึงเป็นฐานะมรรคาของสรรพสัตว์ที่จะนำาไปสุคติ หรือทุคติ ตามหลักพระพุทธศาสนาว่า ตราบใดที่ยังมีกิเลส ตัณหาอยู่ ย่อมวนเวียนหรือท่องเที่ยวไปสังสารวัฏในภพภูมิน้อยใหญ่ต่อไป การ หลุดพ้นสังสารวัฏได้นับว่าเป็นการดับกรรมดีและกรรมชั่ว เรื่องกรรม ผลแห่งกรรมและสังสารวัฏจึงมีความสัมพันธ์กัน เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่ กันและกัน ดังนั้น ชีวิตของมนุษย์ในวัฏฏะล้วนมีความผูกพันอยู่กับ กรรมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ พระพุทธเจ้ายืนยันมตินี้ในฐานสูตรว่า “โดยที่แท้สัตว์ทั้งปวงบรรดาที่มีการมา การไป การจุติ การอุบัติ ล้วน มีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำาเนิด มีกรรม เป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่ง จักทำากรรมใด ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม จัก เป็นผู้รับผลของกรรมนั้น”
  • 14. สังสารวัฏในพุทธปรัชญาเถรวาท ก. สังสารวัฏในพระพุทธศาสนา ตามทรรศนะพระพุทธศาสนา การที่ คนใดคนหนึ่งตายไปตกนรกหรือไม่สวรรค์หรือบรรลุพระอรหัต ก็ เพราะอาศัยการกระทำาของตนเป็นพื้นฐาน มนุษย์จึงมีฐานะที่สูงสุด หมายความว่ามนุษย์เป็นนายของตนเอง ไม่มีผู้วิเศษหรือสิ่งอื่นใดจะมา ตัดสินชะตากรรมของมนุษย์ได้นอกจากกรรมของตนเท่านั้น เรื่องนรก - สวรรค์ เป็นสถานที่อยู่อาศัยสัตว์ทั้งหลายที่มาเกิดตามอำานาจผลแห่ง กรรม เรื่องราวเวียนว่ายนี้มีปรากฏขึ้นในพระญาณของพระพุทธเจ้า
  • 15. ในวันตรัสรู้ 2 ประการคือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ ส่วนอาสวักขยญาณนั้นไม่มีการเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป ในที่นี้จะได้ศึกษาเกี่ยวกับปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุคูปปตญาณและอา สวักขยญาณตามลำาดับดังต่อไปนี้ 1. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ หมายถึง ญาณที่สามารถระลึกอดีตชาติ คือ ชาติก่อนได้เป็นจำานวนมาก กล่าวคือ ระลึกชาติได้ หนึ่งชาติ สองชาติ เป็นต้น ในญาณนี้ยังระลึกสิ่งที่ละเอียดอีกด้วย ในเรื่องปุพเพ นิวาสานุสสติญาณนี้ พระพุทธเจ้าได้ตรัสกับวัจฉะในจูฬวัจฉโคตตสูตร ว่า (ม.ม. ๑๓/๒๔๒/๒๓๘. ดูข้อความนัยเดียวกันใน , ม.ม. ๑๓/๑๕/๑๕, ที.สี. ๙/๑๓๖/๑๐๗, ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฏกำ ๒๕๒๕.) ดูก่อนวัจฉะ ก็เราเพียงต้องการเท่านั้น ย่อมระลึกชาติได้เป็นอันมาก คือ ระลึกได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง.....ตลอดสังวัฏ กัปเป็นอันมากบ้าง ตลอดวิวัฏกัปวิวัฏกัปเป็นอันมากบ้างว่าในภพโน้น เรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น เสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ มีกำาหนด อายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ใน ภพนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น มีกำาหนดอายุเพียง เท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้วได้มาเกิดในภพนี้ เราย่อมระลึกชาติก่อน ได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการพร้อมทั้งอุทเทสด้วยประการนี้ ในอุปทาน พระพุทธเจ้าได้ตรัสถึงบุพพกรรมของพระองค์ไว้มากมาย แต่ในที่นี้จะขอเลือกนำามากล่าวเป็นบางเรื่องเท่านั้นดังนี้(ขุ.อป. ๓๒/๓๙๒/๔๗๑-๔๗๔, ฉบับ สยามรฏฐสฺส เตปิฎกำ ๒๕๒๕.) ในพระชาติหนึ่ง พระองค์เป็นนักเลงชื่อ อปุนาสิ ได้กล่าวตู่ใส่ร้าย พระพุทธเจ้าสุรภิ ผู้มิได้ประทุษร้ายต่อพระองค์เลย ผลกรรมนั้นทำาให้ เวียนว่ายในนรกได้รับทุกขเวทนาตลอดกาลนาน ในพระชาติสุดท้าย จึงถูกนางสุนทรีใส่ความ
  • 16. ในพระชาติหนึ่ง พระองค์ได้กล่าวตู่ใส่ความนันทะสาวกของ พระพุทธเจ้าสัพพาภิภู ต้องไปตกนรกอยู่เป็นเวลานาน ในพระชาติ สุดท้ายจึงถูกนางจิญจมานวิกามาใส่ความ ในพระชาติหนึ่ง พระองค์ทรงฆ่าน้องต่างมารดาตาย เพราะเหตุแห่ง ทรัพย์โดยการผลักน้องชายตกลงซอเขาแล้วเอาหินทุ่ม ในพระชาติ สุดท้ายจึงถูกพระเทวทัตเอาหินทุมสะเก็ดกระเด็นมากระทบพระบาทจน พระโลหิตห้อ ในพระชาติหนึ่ง พระองค์เป็นเด็กเล่นอยู่ที่หนทางใหญ่ เห็นพระ ปัจเจกพระพุทธเจ้าแล้ว จุดไฟเผาดักไว้ทั่วทุกหนทาง ในพระชาติ สุดท้ายจึงถูกพระเทวทัตชักชวนนายขมังธนูให้มาประทุษร้ายพระองค์ ในพระชาติหนึ่ง พระองค์เป็นนายควาญช้าง ได้ไล่ช้างให้จับมัดพระ ปัจเจกพุทธเจ้าผู้กำาลังเดินบิณฑบาต ในพระชาติสุดท้ายจึงถูกข้าง นาฬาคีรีจะประทุษร้ายเป็นต้น ในญาณนี้เป็นเรื่องระลึกอดีตชาติที่ผ่านมา พระพุทธศาสนาพยายามจะ ชี้ให้เห็นว่าบุคคลที่สามารถระลึกชาติได้นั้น จำาต้องบำาเพ็ญบารมีไว้เป็น หลายชาติ แต่ละชาตินั้นมีทั้งความสุขและความทุกข์ทรมาน ชีวิตที่ ผ่านประสบการณ์มาแต่ละชาติเป็นเรื่องของกรรมที่อำานวยผลมาให้ 2. จุตูปปาตญาณ ได้แก่ญาณที่พระองค์สามารถเห็นหมู่สัตว์ทั้งหลาย กำาลังจุติ (ตาย) กำาลังอุบัติ (เกิด) นั่นหมายความว่า สัตว์ที่กำาลังตาย และกำาลังเกิดสัตว์บางพวกทำาดีก็ไปสถานทีดี และบางพวกทำาชั่วก็ไปสู่ สถานที่ไม่ดี (ทุคติ) ในญาณนี้พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ดังนี้ ดูก่อนวัจฉะ ก็เราเพียงต้องการเท่านั้น ย่อมจะเห็นหมู่สัตว์ที่กำาลังจุติ กำาลังอุบัติเลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักขุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดชิ่งหมู่สัตว์ ผู้เป็น ไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโน ทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิยึดถือการกระทำาด้วยมิจฉา ทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตาย เพราะกายแตก เขาเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้าเป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำาด้วย
  • 17. อำำนำจสัมมำทิฏฐิ เบื้องหน้ำแต่ตำยเพรำะกำยแตก เขำเข้ำถึงสุคติ โลกสวรรค์ (ม.ม. ๑๓/๒๔๒/๒๓๘, ข้อควำมนัยเดียวกันใน, ม.อุป. ๑๔/๕๐๕/๓๓๔-๓๓๕, ม.ม. ๑๓/๑๖/๑๖, ที.สี. ๙/๑๓๗/๑๐๙, ฉบับ สยำมรัฏฐสฺส เตปิฎกำ ๒๕๒๕.) ในญำณนี้ เมื่อพิจำรณำแล้ว จะเห็นได้ว่ำ ทำำไมคนเรำจึงไม่เห็นสัตว์ที่ เกิดที่ตำยเล่ำ จำกข้อควำมที่อ้ำงข้ำงบนนี้จะเห็นได้ว่ำ พระองค์ทรง เห็นบรรดำสัตว์กำำลังตำย กำำลังเกิด ด้วยทิพยจักษุ หรือตำทิพย์ ซึ่งมนุษย์ปุถุชนธรรมดำไม่สำมำรถเห็นได้ จุตูปปำตญำณเป็นวิชชำที่ เกี่ยวโยงถึงกฎแห่งกรรมและสังสำรวัฏพระองค์ทรงมีจักษุทิพย์ด้วย ญำณทั้งสำมคือ อติตังสญำณ อนำคตังสญำณ และปัจจุบันนังสญำณ อตีตังสญำณ ปรีชำหยั่งเห็นเหตุกำรณ์ในส่วนอดีตกำลว่ำ เป็น เหตุกำรณ์อะไรครั้งไหนอย่ำงไร เป็นต้น เหมือนตนเองได้เห็นมำก่อน อนำคตังสญำณ ปรีชำหยั่งเห็นเหตุกำรณ์ในอนำคตอันไกลว่ำเป็นเช่น ไรเกิดขึ้นเมื่อไร ที่ไหน เป็นต้น ญำณนี้จะสำมำรถพยำกรณ์ เหตุกำรณ์อนำคตได้อย่ำงแม่นยำำดุจตำเห็น ปัจจุบันนังสญำณ ปรีชำหยั่งรู้เห็นเหตุกำรณ์ในปัจจุบันอันจะเกิดขึ้นใน ระยะใกล้และรู้ได้ว่ำเป็นเหตุกำรณ์อะไร เกิดที่ไหน มองเห็น เหตุกำรณ์เฉพำะหน้ำได้อย่ำงแจ่มแจ้ง เป็นต้น 3. อำสวักขยญำณ หมำยถึงญำณที่สิ้นอำสวะกิเลส พระองค์ทรง กระทำำให้แจ้งซึ่งเจโตมุติ ปัญญำวิมุติ ในญำณนี้ถือว่ำเป็นวิชชำสูงสุด ทำงพระพุทธศำสนำพระองค์สำมำรถทำำลำยกิเลสอำสวะได้โดยเด็ดขำด พระองค์ได้ตรัสกับวัจฉะไว้ดังนี้ “ดูก่อนวัจฉะ เรำทำำให้แจ้งแล้วซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญำวิมุติ อันหำอำ สวะมิได้ เพรำะอำสวะทั้งหลำยสิ้นไป ด้วยปัญญำอันยิ่งด้วยตนเองใน ปัจจุบันแล้วเข้ำถึงอยู่(ม.ม. ๑๓/๒๔๒/๒๓๘. ฉบับ สยำมรฏฐสฺส เตปิฎกำ ๒๕๒๕.)ในวิชชำ 3 เป็นหลักฐำนยืนยันได้ว่ำ ทำงพระพุทธศำสนำ ยอมรับเรื่องสังสำรวัฏหรือกำรเวียนว่ำยตำยเกิดแบบข้ำมภพข้ำมชำติ อย่ำงแน่นอน เรื่องสังสำรวัฏนี้พยำยำมชี้ให้เห็นว่ำ กำรตำยไม่ใช่
  • 18. กระบวนสุดท้ำยของชีวิตหรือจบสิ้นเท่ำนั้น ชีวิตใหม่ต้องดำำเนินต่อไป อย่ำงต่อเนื่องตำมแรงแห่งกรรมนั้น สังสำรวัฏที่หำจุดเริ่มและจุดสิ้นสุดไม่พบ(อนมตัคคสังสำร) เป็นที่ทรำบกันดีในหมู่ชำวพุทธว่ำ ชีวิตทุกชีวิตที่เกิดมำในโลกนี้ล้วน เป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน ทุกสิ่งทุกอย่ำงมีควำมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำ ทุกชีวิตต้องดิ้นรนหำอำหำรมำเพื่อเลี้ยงชีวิตให้อยู่รอดไปวันแล้ววันเล่ำ ทุกชีวิตต่ำงแย่งชิงกันเพื่อให้ตัวเองอยู่รอด ในสมรภูมิแห่งกำรแก่งแย่ง นี้ ผู้ที่ร่ำงกำยใหญ่กว่ำฉลำดกว่ำหรือปรับตัวให้เข้ำกับสิ่งแวดล้อมได้ดี กว่ำ ย่อมเอำชนะคู่แข่งได้และได้อำหำรไปหล่อเลี้ยงชีวิตได้มำกว่ำ พระพุทธองค์ตรัสว่ำ สรรพสัตว์ทั้งปวงดำำรงอยู่ได้ด้วยอำหำร ถ้ำ ปรำศจำกอำหำรแล้วสรรพสัตว์ก็ดำำรงอยู่ไม่ได้ดังนั้น อำหำรจึงเป็น ปัจจัยหลักให้ทุกชีวิตต่ำงทนทุกข์ทรมำนต่ำง ๆ เพื่อให้ได้อำหำรมำ หล่อเลี้ยงร่ำงกำยของตนให้มีชีวิตอยู่ได้ไปวัน ๆ เหมือนนำ้ำมันที่หล่อ เลี้ยงให้รถวิ่งเคลื่อนที่ไปได้แต่ละขณะฉันนั้นในส่วนของสัตว์ทั้งหลำย นั้น นอกจำกจะหำอำหำรมำหล่อเลี้ยงร่ำงกำยเพียงอย่ำงเดียวแล้วยัง ไม่เพียงพอแก่ควำมเป็นจริงของสิ่งที่มีชีวิตได้ เพรำะนอกจำกอำหำร ทำงร่ำงกำยแล้ว สิ่งที่มีชีวิตทั้งหลำยยังจะต้องหำอำหำรมำหล่อเลี้ยง จิตใจของตนด้วย ซึ่งอำหำรที่ว่ำนี้ก็มีควำมสำำคัญมำกพอกับอำหำรทำง ร่ำงกำย หรืออำจมีควำมสำำคัญมำกกว่ำด้วยซำ้ำไป อำหำรที่ว่ำนี้ ได้แก่ อำหำรทำงอำรมณ์ควำมรู้สึก เรียกว่ำ ผัสสำหำร หรืออำหำรทำง สัมผัส เรำจะเห็นได้ว่ำบำงคนต้องไปหำรับประทำนยังสถำนที่มีดนตรีขับ กล่อมด้วยจึงจะได้อำรมณ์ แม้จะเสียค่ำใช้จ่ำยแพงแสนแพงก็ยอมเพื่อ แลกกับอำหำรทำงอำรมณ์อำหำรทำงจิต เรียกว่ำ มโนสัญเจตนำหำร หรืออำหำรทำงใจทำงควำมคิด บำงทีเรำเรียกบุคคลที่ไม่มีควำมคิด
  • 19. รอบคอบหรือไม่ฉลำดว่ำโตแต่งกำยแต่งสมองฟ่อ นั่นหมำยควำมว่ำ เขำไม่มีอำหำรทำงใจ หรือ พูดให้เข้ำใจง่ำย ๆ ก็คือ ควำมคิดสติ ปัญญำหรือข้อมูลทำงสมองไม่ค่อยมี จึงทำำให้พิกำรทำงควำมคิดไป หรือที่เรำเรียกติดปำกว่ำ อัปปัญญำ ถ้ำคนใดมีอำหำรทำงใจมำก คน นั้นจะฉลำดคิดมีควำมเข้ำใจอะไรได้ลึกซึ้ง เพรำะข้อมูลทำงสมองมีมำก จึงทำำให้มีข้อมูลในกำรนำำไปคิดได้มำกสุดท้ำย คือ อำหำรที่เป็นปัจจัย หนุนให้เกิดในภพใหม่ต่อไป เรียกว่ำ วิญญำณำหำร หรืออำหำรทำง วิญญำณ หมำยถึงอำหำรที่สนับสนุนให้เกิดในภพต่อไปเรื่อย ๆ ไม่มีที่ สิ้นสุด ซึ่งอำหำรประเภทนี้ ได้แก่ ควำมไม่เข้ำใจ ควำมหลงผิดแล้ว ส่งผลให้ยึดถือผิด ๆ ในสิ่งที่ผิดนั้นต่อไป เรียกให้เข้ำใจง่ำย ๆ ว่ำ มี อวิชชำ ตัณหำ และ อุปำทำนดังนั้น ควำมทุกข์ทั้งหมดที่สัตว์ทั้งหลำย ได้รับและเสวยอยู่ในขณะนี้ล้วน เป็นผลมำจำกกำรแสวงอำหำรล้วน ๆ ไม่ใช่อย่ำงอื่นเลย ขอให้เข้ำใจควำมจริงไว้อย่ำงหนึ่งว่ำ ไม่ว่ำเรำจะ เห็นพฤติกรรมของสัตว์ต่ำง ๆ แสดงออกมำในลักษณะเช่นใดก็ตำม ก็ ขอให้รู้ว่ำนั่นเขำกำำลังหำอำหำรหรือกำำลังรับประทำนอำหำรอย่ำงใด อย่ำงหนึ่งอยู่ในบรรดำอำหำร 4 ชนิดนี้ที่กล่ำวมำนี้ ก็เพื่อให้เขำมี ร่ำงกำยที่ดี มีควำมสุขที่ดี มีควำมคิดสติปัญญำที่ดี และมีภพใหม่ที่ดี ขึ้น ในกำรแสวงหำอำหำรนี้ ก็เป็นกำรเรียกแบบสุภำพ ๆ เพื่อให้ดูดีเท่ำนั้น เอง แต่ถ้ำจะเรียกให้ตรงประเด็นก็ต้องบอกว่ำ กำรแสวงหำอำหำรนี้ คือ กำรแย่งชิงเอำร่ำงกำยของผู้อื่นเข้ำมำเป็นร่ำงกำยของตนเอง เพื่อ ให้ร่ำงกำยของตนเองดำำรงอยู่ต่อไปได้ เพรำะกำรกินอำหำรก็คือ กำร กลืนกินร่ำงกำยของผู้อื่นเข้ำไปเป็นร่ำงกำยของตนเองสัตว์บำงประเภท มีกำรแย่งชิงแบบโหด ๆ เห็นแล้วชวนให้สังเวชสลดใจ ไม่อยำกจะ เกิดอีกต่อไป แต่บำงพวกอย่ำงมนุษย์แย่งชิงแบบสุภำพหน่อย หรือว่ำ ยิ่งโหดกว่ำสัตว์อื่น ๆ ก็ไม่รู้ดูเองก็แล้วกัน แต่ว่ำกำรบริโภคนั้นบอกได้ ว่ำ ดูดีกว่ำพวกอื่นพูดโดยสรุปว่ำ สัตว์เล็ก ๆ น้อย ๆ ก็กินสัตว์ที่มี กำำลังน้อยกว่ำตัวเอง ใครที่ใหญ่กว่ำ หรือมีปัญญำมำกกว่ำก็ทำำร้ำย ร่ำงกำยแย่งชิงเอำของผู้ด้อยกว่ำมำเป็นอำหำรของตนได้ เรียกได้ว่ำ ไม่มีใครเลยที่จะอยู่ได้ด้วยลำำพังตนเองโดยไม่พึ่งพำอำหำรหล่อเลี้ยง นี้ แหละเป็นธรรมชำติที่พระพุทธเจ้ำเรียกว่ำ เป็นอนัตตำ คือ ไม่อำจอยู่
  • 20. ด้วยลำำพังตนเองได้ ต้องอำศัยปัจจัยอื่น ๆ เข้ำมำเกื้อหนุนให้เป็นอยู่ ตำมหลักปฏิจจสมุปบำท เมื่อเป็นเช่นนี้ ทำำให้ผู้ที่ฉลำดเท่ำนั้นจึงจะ สำมำรถดับภพดับชำติ ดับอำหำรใด ๆ ทั้งหมดได้ ไม่ต้องดิ้นรน แสวงหำอีกตลอดไป ส่วนพวกที่ไม่เข้ำใจหลงผิดก็ต้องทนทุกข์แย่งชิง ร่ำงกำยกันต่อไปควำมทุกข์เกิดจำกกำรแสวงหำอำหำรต่ำง ๆ ที่พูดถึงนี้ มีมำกเท่ำใดนั้นแต่ละคนแต่ละท่ำนย่อมรู้อยู่แก่ใจของตนเองไม่จำำเป็น ต้องบอก ขึ้นอยู่กับบุคคลแต่ละคนว่ำ จะต้องกำรอำหำรชนิดใดมำก และรู้จักเลือกกินอำหำรที่มีประโยชน์แก่ตนเองมำกน้อยเพียงใด ในหลัก กำรของพระพุทธศำสนำบอกได้เพียงอย่ำงเดียวว่ำชีวิตทุกชีวิตที่เกิดขึ้น ด้วยอำำนำจอวิชชำ ตัณหำ อุปำทำน ล้วนมีธรรมชำติเป็นอย่ำงเดียว เท่ำนั้น คือ ทุกข์ กำรที่เรำมีควำมรู้สึกว่ำ มีควำมสุขอยู่บ้ำง ก็เพรำะ ควำมทุกข์มันลดน้อยลงไปเพรำะเรำได้อำหำรเข้ำไปช่วยแบ่งเบำควำม ทุกข์เท่ำนั้นเอง เพรำะควำมสุขเล็ก ๆ น้อย ๆ ชั่วครั้งชั่วครำวนี้เอง ที่ ทำำให้พวกเรำหลงว่ำ มีควำมสุขแล้วก็แสวงหำสุขนั้นและในที่สุดก็ติด สุขนั้นอีก โดยที่ไม่รู้ควำมจริงว่ำ นั่นเป็นเพียงทุกข์ที่ลดน้อยลงไป เท่ำนั้น เมื่อรู้ว่ำ ควำมจริงคือทุกข์อย่ำงนี้แล้ว ลองหันกลับมำสำำรวจดู ควำมจริงอีกอย่ำงบ้ำงว่ำ สำระแก่นสำรของชีวิตนี้ คืออะไร และเพื่อ อะไรพระพุทธองค์ตรัสว่ำ ชีวิตในสังสำรวัฏนี้ ที่มีควำมยำวนำนมำก จนไม่มีใครจะกลับไปดูจุดเริ่มต้นของสังสำรวัฏ ได้ และในขณะ เดียวกันก็ไม่มีใครที่จะตำมไปดูจุดสุดท้ำยของสังสำรวัฏนี้ได้เช่นกัน จึง เป็นชีวิตที่เต็มไปด้วยทุกข์นำนำประกำร เมื่อพูดถึงเรื่องควำมยำวนำนของทุกข์ในสังสำรวัฏนี้ พระพุทธองค์ ได้ ทรงเปรียบเทียบควำมยำวนำนของสังสำรวัฏเป็นกัปให้เหล่ำภิกษุสำวก ฟังในปัพพตสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ 20 ไว้ว่ำกัปหนึ่งนั้นนำนนักหนำ มิใช่เรื่องง่ำยเลยที่จะนับเป็นปี หรือ 100 ปี พันปีหรือแสนปี แล้ว พระพุทธองค์ก็ทรงเปรียบเทียบให้สำวกฟังว่ำ "สมมติว่ำมีภูเขำลูกหนึ่งที่เป็นหินล้วน ๆ ไม่มีสิ่งอื่นปะปนเลยไม่มีรูโหว่ แม้แต่นิดเดียว ภูเขำลูกนั้นมีควำมกว้ำงและควำมยำวด้ำนละ 1 โยชน์ หรือด้ำนละ 16 กิโลเมตร และมีควำมสูง 1 โยชน์เช่นกันเวลำล่วงไป ทุก ๆ 100 ปี ให้มีคนนำำผ้ำฝ้ำยที่ละเอียดที่สุดมำปัดภูเขำนั้นหนึ่งครั้ง ทำำอยู่เช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนภูเขำนั้นจะรำบเป็นหน้ำกลองนั่นแหละเรียก
  • 21. ว่ำเวลำ 1 กัป ถ้ำเทียบกับกำรนับปัจจุบัน คงจะหลำยล้ำนล้ำนปี จึง เรียกหนึ่งกัป"เมื่อตรัสถึงควำมยำวนำนของกัปแล้ว พระพุทธองค์ก็ได้ ตรัสถึงควำมยำวนำนของชีวิตในสังสำรวัฏอีกต่อไปว่ำ "ชีวิตของพวก เธอที่ท่องเที่ยวไปเกิดในภพนั้นบ้ำงภพนี้บ้ำงยำวนำนจนนับเป็นกัปไม่ได้ ว่ำหนึ่งกัป หรือร้อยกัป หรือพันกัป หรือแสนกัป ทั้งนี้ก็เพรำะว่ำ สงสำรนี้มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดอันใคร ๆ ไม่สำมำรถจะตำมไปล่วงรู้ ได้นั่นเอง"เมื่อสังสำรวัฏยำวนำนจนไม่มีใครล่วงรู้หรือกำำหนดได้นี้เอง ชีวิตทุกชีวิตที่ต้องท่องเที่ยวไปเกิดในที่ต่ำง ๆ และก็ต้องหำอำหำรอยู่ ทุกขณะเพื่อกำรดำำรงอยู่อย่ำงไม่มีที่สิ้นสุด จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่ำควำม ทุกข์จะมีมำกน้อยเพียงใด ดังนั้น พระพุทธองค์จึงตรัสเป็นกำรเตือนสำวกว่ำ "เพรำะสงสำรนี้มีจุด เริ่มต้นและจุดสุดท้ำยที่ไม่มีใครจะตำมไปรู้ได้นี้แหละ ก็เพียงพอแล้วที่ พวกเธอจะควรเบื่อหน่ำยในสังขำรร่ำงกำย ควรคลำยกำำหนัดจำกควำม ต้องกำรทั้งหลำย ควรหลุดพ้นไปจำกกำรเกิดได้แล้ว"เพื่อให้รู้ถึงเรื่อง ควำมทุกข์ของชีวิตที่ท่องเที่ยวไปในสังสำรวัฏอันนำนนี้ พระพุทธองค์ ได้แสดงอัสสุสูตร พระสูตรว่ำด้วยเรื่องนำ้ำตำให้พระสำวกฟังว่ำ"เพรำะ สังสำรวัฏอันยำวนำนที่พวกเธอได้ท่องเที่ยวไปเกิดยังภพต่ำงๆ นั้นถ้ำ หำกจะเปรียบเทียบแล้วนำ้ำตำของพวกเธอที่ร้องไห้เสียใจเพรำะสูญเสีย ของที่รักที่พอใจไป หรือร้องไห้เพรำะประสพกับควำมทุกข์ยำกหรือ ประสพกับสิ่งที่ไม่พอใจ นำ้ำตำนำ้ำหลั่งไหลออกมำรวมกันมำกยิ่งกว่ำนำ้ำ ในมหำสมุทรทั้ง 4 รวมกันเสียอีก"ในขีรสูตร ก็ได้ทรงเปรียบเทียบอีก ว่ำ "กำรที่พวกเธอทั้งหลำยวนเวียนเกิดแล้วตำย ตำยแล้วเกิดอยู่เช่นนี้ นำ้ำนมของมำรดำที่พวกเธอดื่มเข้ำไปแล้ว เมื่อเปรียบเทียบกับนำ้ำใน มหำสมุทรทั้ง 4 แล้วนำ้ำในมหำสมุทรยังน้อยกว่ำอย่ำงเทียบไม่ได้อีก เช่นกัน"นอกจำกนี้ในอัฏฐิปุญชสูตรได้ให้คำำอุปมำอีกว่ำ "ชีวิตของพวก เรำในสังสำรวัฏนี้ที่ได้ตำยไปในชำติต่ำง ๆ ถ้ำจะสำมำรถนำำเอำกระดูก แต่ละชำติมำรวมกันได้เพียงกัปเดียว ก็จะมีกองกระดูกของเรำคนเดียว ได้ปริมำณมำกกว่ำภูเขำเวปุลละที่ตั้งล้อมเมืองมคธอยู่นั้น"เมื่อรู้ว่ำ สังสำรวัฏยำวนำนเช่นนี้ ชีวิตของสัตว์ทั้งปวงต้องเป็นทุกข์เพรำะ แก่งแย่งหำอำหำรเลี้ยงชีพเพื่อให้ตนเองดำำรงอยู่ได้อย่ำงไม่รู้จบเช่นนี้ แล้วอะไรคือสำระที่จริงแห่งกำรเกิดหรือชีวิต และแต่ละคนจะไปถึงจุด
  • 22. สุดท้ำยได้อย่ำงไรนั้น ในที่นี้จะยังไม่ตอบโดยตรง แต่บอกได้คำำ เดียวว่ำ ปัญหำทุกอย่ำงมีทำงแก้ไขได้ ถ้ำเรำรู้สำเหตุ และต้องแก้ ปัญหำที่ต้นเหตุนั้น ปัญหำทุกอย่ำงจึงจะสงบรำบคำบลงได้ ดังพุทธพจน์ ที่เหล่ำพระสำวกเพียงแค่ได้ฟังครั้งเดียวก็สำมำรถแก้ ปัญหำทั้งหมดได้ คือ เย ธัมมำ เหตุปะภะวำ เตสัง เหตุง ตถำค โต.--->>> ผู้ศึกษำอย่ำงละเอียดจะรู้วิธีแก้ปัญหำที่เอ่ยมำทั้งหมดได้ แน่นอน ถ้ำต้องกำร และขอให้เชื่อไว้อีกอย่ำงว่ำ ธรรมของพระพุทธ องค์ ผู้ที่ปฏิบัติจริงจะเห็นประจักษ์ได้ด้วยตนเอง (สันทิฏฐิโก) โดยไม่ จำำกัดกำลเวลำ (โอหิปัสสิโก) เป็นสิ่งที่ทุกคนจะนำำมำปฏิบัติด้วยตังเอง (โอปนยิโก) และเป็นสิ่งที่ผู้รู้จะได้พบกับตนเอง โดยไม่ต้องผ่ำนจำก กำรบอกเล่ำจำกใคร (ปัจจัตตัง) อีกต่อไป
  • 23. กำรเกิดใหม่ คำำว่ำ “ กำรเกิดใหม่” นี้ ในหลักพุทธธรรมขั้นปรมัตถ์ไม่มี แต่มีใน กำรสื่อควำมหมำยของคนทั่วไป เพรำะหำกมีกำรเกิดใหม่ ก็จะต้องมี กำรตำย จึงมีคำำถำมว่ำ คำำว่ำ คนตำยหมำยถึงอะไรตำย? คนตำย แล้วเกิดหรือไม่? ถ้ำตอบว่ำไม่เกิด (ขำดสูญ) ก็จบลงแค่นั้น แต่ถ้ำ ตอบว่ำ คนตำยแล้วเกิด จึงถำมต่อไปอีกว่ำ อะไรไปเกิด? ฯลฯกำร ตอบคำำถำมที่ยกมำข้ำงต้น หำกตอบตำมหลักพุทธธรรมก็ตอบได้หลำย นัย คือ ตำยแล้วเกิด หมำยถึง กระบวนกำรที่มีกำรอิงอำศัยกันเกิดของ เหตุปัจจัยตำมหลักปฏิจจสมุปบำทเมื่อไม่มีกำรดับเหตุปัจจัยตัวใดตัวหนึ่ง มันก็จะหมุนเวียนกันไปเป็นวงจรหรือวงเวียน เรียกว่ำ “วัฏฏะ 3” คือ เมื่อกิเลส ก็เป็นปัจจัยให้เกิดกรรม เมื่อเกิดกรรม (กำรกระทำำ) ก็จะ ต้องมีผลของกรรม ครั้งครบหนึ่งรอบก็จะหมุนต่อไป คือ วิบำก (ผล ของกรรม) ก็จะเป็นปัจจัยให้เกิดกิเลสอีก เป็นกำรเกิดใหม่ ในหลัก พุทธธรรมที่แท้นั้นมิใช่วิญญำณล่องลอยจำกร่ำงกำยที่ตำยแล้วไปเกิด ในร่ำงใหม่ ซึ่งหมำยถึงชำติใหม่ แต่วิญญำณในพุทธธรรมนั้นเป็นสิ่ง ที่เกิดดับได้ ซึ่งมันเป็นอนัตตำ คือ วิญญำณ ก็มิใช่ตัวตนที่ถำวร หรือไม่มีตัวคนเที่ยงแท้ กำรเกิดใหม่จึงมิใช่วิญญำณเดิมที่ออกจำกร่ำง เก่ำแล้วไปอำศัยร่ำงใหม่ในชำติใหม่ แต่หมำยถึง วิญญำณมีกำรสืบ ต่อจำกวิญญำณดวงหนึ่งไปเป็นวิญญำณอีกดวงหนึ่ง เปรียบได้กับดวง เทียนเล่มหนึ่งมีเปลวไฟลุกอยู่ ต่อมำก็เอำเทียนอีกเล่มหนึ่งมำจุดไฟจำก เทียนเล่มแรก ไฟที่ได้มำจำกเล่มเก่ำนั้นจะ เรียกว่ำ เป็นไฟดวงเก่ำ ไม่ได้ มันก็เป็นไฟดวงใหม่ แต่อำศัยไฟดวงเก่ำ แสงเทียนจำกเล่ม เก่ำมำสู่เล่มใหม่ ก็เหมือนกับวิญญำณที่มีกำรสืบต่อจำกเดิมไปสู่วิญญำณดวงใหม่ เหมือนกับพ่อแม่สร้ำงบุตรธิดำ พ่อแม่ก็ต้องให้เลือดเนื้ออันเป็นร่ำงกำย และให้วิญญำณอันเป็นส่วนของจิตใจจึงเป็นไปตำมหลักแห่งปฏิจจสมุ ปบำท หรือหลักวัฏฏะ 3 คือ กิเลส กรรม วิบำก