SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
ถำโม่เกำเมืองตุนหวง
                                ้




    ถาโม่เกาในเมืองตุนหวงทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีนนับว่า เป็ นคลังศิลปะ
     ้

ทางพุทธศาสนาที่มขนาดใหญ่ ที่สุดและได้ รับการอนุรักษ์ ดที่สุดของโลกในปัจจุบัน ถา
                ี                                     ี                       ้

โม่เกาได้ รับคัดเลือกให้ เป็ นมรดกโลกเมือปี 1987 คณะกรรมการมรดกโลกประเมินว่ า ถา
                                        ่                                      ้

โม่เกามีชื่อดังในโลก ด้ วยรูปปั้นและภาพเขียนฝาผนัง แสดงถึงศิลปะทางพุทธศาสนาที่

ต่อเนืองกันมาเป็ น เวลาพันปี
      ่


ในเขตชานเมืองตุนหวงมณฑลกันซู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีนมีภูเขาลูกหนึ่ง

ชื่อภูเขาหมิงซา บนผาด้ านตะวันออกที่มระยะทางยาวประมาณ 2 กิโลเมตรของภูเขาลูก
                                     ี

นี้ มีถาจานวนนับไม่ ถ้ วนเรียงรายกันอยู่ 5 ชั้น ซึ่งก็คอถาโม่เกาเมืองตุนหวงที่มชื่อเสียง
       ้                                               ื ้                     ี

ดังในโลก
ถาโม่เกาเริ่มสร้ างตั้งแต่ค.ศ.366 มีการบูรณะซ่ อมแซมและขยายการก่อสร้ างทุกยุคทุก
 ้

สมัย จนถึงสมัยราชวงศ์ ถัง ก็มถากว่า 1000 ถาแล้ว ฉะนั้น ถาโม่เกามีอกชื่อหนึ่งว่า ถา
                             ี้           ้             ้         ี              ้

เชียนโฝ หรือแปลว่า ถาพระพุทธรูปพันองค์
                    ้


ภายในถาได้ สร้ างพระพุทธรูปและภาพเขียนฝาผนังจานวนมาก เนื่องจากถาโม่เกาตั้งอยู่
      ้                                                        ้

บนเส้ นทางสาย ไหมที่เชื่อมตะวันออกกับตะวันตกเข้ าด้ วยกัน จึงได้ รับผลกระทบ

กระเทือนจากศาสนา วัฒนธรรมและความรู้ท้ังฝ่ ายตะวันออกและฝ่ ายตะวันตก ความ

นิยมทางศิลปะอันหลากหลายทาให้ถา โม่เกากลายเป็ นคลังศิลปะอันรุ่งโรจน์
                             ้


จนถึงปัจจุบน ถาโม่เกายังเหลืออยู่ประมาณ 500 ถา ภาพเขียนฝาผนังประมาณ 50,000
           ั ้                               ้
ตารางเมตรและ รูปแกะสลักและรูปปั้นกว่า 2,000 รูป




ภาพเขียนฝาผนังเหล่านีส่วนใหญ่ เกียวข้องกับเรื่องต่าง ๆ ทางพุทธศาสนา เช่ น
                     ้           ่

พระพุทธรูป พระสังขจาย เทวดา นิยายพุทธศาสนาในอินเดีย จีนและเอเซียกลาง เป็ น

ต้น นอกจากนี้ ภาพเขียนฝาผนังเหล่านียงได้ แสดงให้เห็นถึงชีวตทางสังคม เสื้อผ้า
                                   ้ั                     ิ

อาภรณ์และเครื่องแต่งกาย รูปแบบ การก่อสร้ าง ดนตรีระบา กายกรรมและสิ่งอืน ๆ ของ
                                                                      ่

ชนชาติและชั้นชนต่าง ๆ ในสมัยโบราณ ฉะนั้น นักวิชาการตะวันตกจึงถือว่า ถาตุนหวง
                                                                     ้

เป็ นหอสมุดบนฝาผนัง


โบราณวัตถุในถาโม่เกาเคยประสบการทาลายและความเสียหายอย่างร้ ายแรงที่สุดและน่ า
             ้

เสียใจที่สุดในประวัตศาสตร์ ยุคใกล้ของจีน
                    ิ


เมือปี 1900 ผู้คนได้ พบถาลับ ๆ ถาหนึ่งโดยบังเอิญ ถานียาว 3 เมตร กว้าง 3 เมตร ข้ างใน
   ่                    ้       ้                 ้ ้

เต็มไปด้ วยคัมภีร์ หนังสือ เอกสาร ภาพวาดภาพปัก ภาพหรือหนังสือที่พมพ์จากแผ่น
                                                                 ิ

ศิลาจารึกจานวนประมาณกว่า 50,000 ชิ้น มีส่วนเกียวข้ องกับด้ านต่าง ๆ ทางสังคมเกือบ
                                              ่
ทุกด้ าน เช่ น ประวัตศาสตร์ ภูมศาสตร์ การเมือง ชนชาติ การทหาร ภาษา ตัวหนังสือ
                     ิ         ิ

ศิลปะวรรณคดี ศาสนา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและแพทยศาสตร์ เป็ นต้น ทั้งของจีนและ
                                        ่

ของเอเซียกลาง เอเซียใต้และยุโรปตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 ถึงศตวรรษที่ 11 จึงถือกันว่า เป็ น

หนังสือสารานุกรมยุคกลางและยุคโบราณ




หลังจากได้ พบถานีแล้ ว นักผจญภัยจากประเทศต่าง ๆ ก็ทยอยกันเดินทางไปถึง ในช่ วง
              ้ ้

เวลาไม่ถึง 20 ปี โบราณวัตถุในเมืองตุนหวงที่มประมาณ 40000 ชิ้นถูกขโมยไป ซึ่งได้ นา
                                            ี

ความเสียหายอย่างร้ ายแรงถึงถาโม่เกา เวลานี้ ทีองกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย อินเดีย เยอรมัน
                            ้                 ่ั

เดนมาร์ ก สวีเดน เกาหลีใต้ ฟิ นแลนด์ สหรัฐอเมริกาและประเทศอืน ๆ ต่างก็มี
                                                            ่

โบราณวัตถุในเมืองตุนหวงเก็บสะสมไว้ รวม ๆ แล้ว เป็ น 2 ใน 3 ของโบราณวัตถุใน

เมืองตุนหวงทั้งหมด


นับตั้งแต่เวลานั้นเป็ นต้นมา มีนักวิชาการจีนจานวนหนึงเริ่มศึกษาวิจยวัฒนธรรมตุน
                                                    ่             ั

หวง เมือปี 1910 หนังสือจานวนแรกเกียวกับผลวิจยศึกษาวัฒนธรรมตุนหวงโดยเฉพาะ
       ่                          ่         ั
ได้ พมพ์ออกจาหน่ าย ในช่ วงหลายสิบปี ทีผ่านมา นักวิชาการจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกก็
     ิ                                 ่

ได้ให้ ความสาคัญต่อวัฒนธรรม ตุนหวง ทั้งดาเนินการวิจยศึกษามิได้ ขาดเช่ นกัน ส่ วน
                                                   ั

นักวิชาการจีนนั้นได้ผลสาเร็จที่มความ สาคัญอย่างยิงยวดในด้านนี้
                                ี                ่


รัฐบาลจีนให้ ความสาคัญต่องานอนุรักษ์ ถาโม่เกามาโดยตลอด เนื่องจากมีนกท่ องเทียว
                                      ้                            ั        ่

จาก ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกเดินทางไปชมถาโม่เกามากยิงขึนทุกวัน รัฐบาลจีนจึงได้ สร้ าง
                                    ้           ่ ้

ศูนย์วาง แสดงศิลปะตุนหวงตามเชิงเขาซานเวยตรงข้ ามกับถาโม่เกา โดยได้ เลียนแบบ
                                                    ้

ถาส่ วนหนึงเพือ ให้ ผู้คนเข้ าชม
 ้        ่ ่


เมือเร็ว ๆ นี้ รัฐบาลจีนยังได้ ลงทุน 200 ล้านหยวนเหรินหมินปี้ สร้ างถาโม่เกาเลียนแบบ
   ่                                                                 ้

แบบดิจตอลขึน ซึ่งไม่เพียงแต่จะทาให้ ผ้ชมสามารถเกิดความรู้สึกว่าได้ เข้ าสู่ถาจริง ๆ
      ิ    ้                          ู                                     ้

หากยังสามารถ มองเห็นของต่าง ๆ ภายในถาอย่างชัดเจน เพือหลีกเลียงมิให้ ของต่าง ๆ
                                    ้               ่       ่

ภายในถาประสบความ เสียหาย ทาให้ ยดอายุวตถุโบราณในถาโม่เกาและวัฒนธรรมของ
      ้                         ื     ั          ้

ด้ านนีมความยังยืนต่อไป
       ้ ี    ่
เอกสารอ้ างอิง
กานซู่ // โบราณสถาน ถาโม่เกาเมืองตุนหวง //12 ธันวาคม 2553
                     ้

http://www.tlcthai.com/club/view_topic.php?club=china_chiness&club_id=1162&table_id=1&cate_
id=521&post_id=3286 21 กันยายน 2554

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง

03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศ
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศโครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศ
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศchanaporn sornnuwat
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1teacherhistory
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางพัน พัน
 
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้วเสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้วApichaya Savetvijit
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมrubtumproject.com
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗Boonlert Aroonpiboon
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคchickyshare
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคchickyshare
 

Semelhante a ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง (20)

Art
ArtArt
Art
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศ
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศโครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศ
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศ
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
Museum Forum | Museum without walls 2016
Museum Forum | Museum without walls 2016Museum Forum | Museum without walls 2016
Museum Forum | Museum without walls 2016
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้วเสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 

Mais de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Mais de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง

  • 1. ถำโม่เกำเมืองตุนหวง ้ ถาโม่เกาในเมืองตุนหวงทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีนนับว่า เป็ นคลังศิลปะ ้ ทางพุทธศาสนาที่มขนาดใหญ่ ที่สุดและได้ รับการอนุรักษ์ ดที่สุดของโลกในปัจจุบัน ถา ี ี ้ โม่เกาได้ รับคัดเลือกให้ เป็ นมรดกโลกเมือปี 1987 คณะกรรมการมรดกโลกประเมินว่ า ถา ่ ้ โม่เกามีชื่อดังในโลก ด้ วยรูปปั้นและภาพเขียนฝาผนัง แสดงถึงศิลปะทางพุทธศาสนาที่ ต่อเนืองกันมาเป็ น เวลาพันปี ่ ในเขตชานเมืองตุนหวงมณฑลกันซู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีนมีภูเขาลูกหนึ่ง ชื่อภูเขาหมิงซา บนผาด้ านตะวันออกที่มระยะทางยาวประมาณ 2 กิโลเมตรของภูเขาลูก ี นี้ มีถาจานวนนับไม่ ถ้ วนเรียงรายกันอยู่ 5 ชั้น ซึ่งก็คอถาโม่เกาเมืองตุนหวงที่มชื่อเสียง ้ ื ้ ี ดังในโลก
  • 2. ถาโม่เกาเริ่มสร้ างตั้งแต่ค.ศ.366 มีการบูรณะซ่ อมแซมและขยายการก่อสร้ างทุกยุคทุก ้ สมัย จนถึงสมัยราชวงศ์ ถัง ก็มถากว่า 1000 ถาแล้ว ฉะนั้น ถาโม่เกามีอกชื่อหนึ่งว่า ถา ี้ ้ ้ ี ้ เชียนโฝ หรือแปลว่า ถาพระพุทธรูปพันองค์ ้ ภายในถาได้ สร้ างพระพุทธรูปและภาพเขียนฝาผนังจานวนมาก เนื่องจากถาโม่เกาตั้งอยู่ ้ ้ บนเส้ นทางสาย ไหมที่เชื่อมตะวันออกกับตะวันตกเข้ าด้ วยกัน จึงได้ รับผลกระทบ กระเทือนจากศาสนา วัฒนธรรมและความรู้ท้ังฝ่ ายตะวันออกและฝ่ ายตะวันตก ความ นิยมทางศิลปะอันหลากหลายทาให้ถา โม่เกากลายเป็ นคลังศิลปะอันรุ่งโรจน์ ้ จนถึงปัจจุบน ถาโม่เกายังเหลืออยู่ประมาณ 500 ถา ภาพเขียนฝาผนังประมาณ 50,000 ั ้ ้
  • 3. ตารางเมตรและ รูปแกะสลักและรูปปั้นกว่า 2,000 รูป ภาพเขียนฝาผนังเหล่านีส่วนใหญ่ เกียวข้องกับเรื่องต่าง ๆ ทางพุทธศาสนา เช่ น ้ ่ พระพุทธรูป พระสังขจาย เทวดา นิยายพุทธศาสนาในอินเดีย จีนและเอเซียกลาง เป็ น ต้น นอกจากนี้ ภาพเขียนฝาผนังเหล่านียงได้ แสดงให้เห็นถึงชีวตทางสังคม เสื้อผ้า ้ั ิ อาภรณ์และเครื่องแต่งกาย รูปแบบ การก่อสร้ าง ดนตรีระบา กายกรรมและสิ่งอืน ๆ ของ ่ ชนชาติและชั้นชนต่าง ๆ ในสมัยโบราณ ฉะนั้น นักวิชาการตะวันตกจึงถือว่า ถาตุนหวง ้ เป็ นหอสมุดบนฝาผนัง โบราณวัตถุในถาโม่เกาเคยประสบการทาลายและความเสียหายอย่างร้ ายแรงที่สุดและน่ า ้ เสียใจที่สุดในประวัตศาสตร์ ยุคใกล้ของจีน ิ เมือปี 1900 ผู้คนได้ พบถาลับ ๆ ถาหนึ่งโดยบังเอิญ ถานียาว 3 เมตร กว้าง 3 เมตร ข้ างใน ่ ้ ้ ้ ้ เต็มไปด้ วยคัมภีร์ หนังสือ เอกสาร ภาพวาดภาพปัก ภาพหรือหนังสือที่พมพ์จากแผ่น ิ ศิลาจารึกจานวนประมาณกว่า 50,000 ชิ้น มีส่วนเกียวข้ องกับด้ านต่าง ๆ ทางสังคมเกือบ ่
  • 4. ทุกด้ าน เช่ น ประวัตศาสตร์ ภูมศาสตร์ การเมือง ชนชาติ การทหาร ภาษา ตัวหนังสือ ิ ิ ศิลปะวรรณคดี ศาสนา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและแพทยศาสตร์ เป็ นต้น ทั้งของจีนและ ่ ของเอเซียกลาง เอเซียใต้และยุโรปตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 ถึงศตวรรษที่ 11 จึงถือกันว่า เป็ น หนังสือสารานุกรมยุคกลางและยุคโบราณ หลังจากได้ พบถานีแล้ ว นักผจญภัยจากประเทศต่าง ๆ ก็ทยอยกันเดินทางไปถึง ในช่ วง ้ ้ เวลาไม่ถึง 20 ปี โบราณวัตถุในเมืองตุนหวงที่มประมาณ 40000 ชิ้นถูกขโมยไป ซึ่งได้ นา ี ความเสียหายอย่างร้ ายแรงถึงถาโม่เกา เวลานี้ ทีองกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย อินเดีย เยอรมัน ้ ่ั เดนมาร์ ก สวีเดน เกาหลีใต้ ฟิ นแลนด์ สหรัฐอเมริกาและประเทศอืน ๆ ต่างก็มี ่ โบราณวัตถุในเมืองตุนหวงเก็บสะสมไว้ รวม ๆ แล้ว เป็ น 2 ใน 3 ของโบราณวัตถุใน เมืองตุนหวงทั้งหมด นับตั้งแต่เวลานั้นเป็ นต้นมา มีนักวิชาการจีนจานวนหนึงเริ่มศึกษาวิจยวัฒนธรรมตุน ่ ั หวง เมือปี 1910 หนังสือจานวนแรกเกียวกับผลวิจยศึกษาวัฒนธรรมตุนหวงโดยเฉพาะ ่ ่ ั
  • 5. ได้ พมพ์ออกจาหน่ าย ในช่ วงหลายสิบปี ทีผ่านมา นักวิชาการจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกก็ ิ ่ ได้ให้ ความสาคัญต่อวัฒนธรรม ตุนหวง ทั้งดาเนินการวิจยศึกษามิได้ ขาดเช่ นกัน ส่ วน ั นักวิชาการจีนนั้นได้ผลสาเร็จที่มความ สาคัญอย่างยิงยวดในด้านนี้ ี ่ รัฐบาลจีนให้ ความสาคัญต่องานอนุรักษ์ ถาโม่เกามาโดยตลอด เนื่องจากมีนกท่ องเทียว ้ ั ่ จาก ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกเดินทางไปชมถาโม่เกามากยิงขึนทุกวัน รัฐบาลจีนจึงได้ สร้ าง ้ ่ ้ ศูนย์วาง แสดงศิลปะตุนหวงตามเชิงเขาซานเวยตรงข้ ามกับถาโม่เกา โดยได้ เลียนแบบ ้ ถาส่ วนหนึงเพือ ให้ ผู้คนเข้ าชม ้ ่ ่ เมือเร็ว ๆ นี้ รัฐบาลจีนยังได้ ลงทุน 200 ล้านหยวนเหรินหมินปี้ สร้ างถาโม่เกาเลียนแบบ ่ ้ แบบดิจตอลขึน ซึ่งไม่เพียงแต่จะทาให้ ผ้ชมสามารถเกิดความรู้สึกว่าได้ เข้ าสู่ถาจริง ๆ ิ ้ ู ้ หากยังสามารถ มองเห็นของต่าง ๆ ภายในถาอย่างชัดเจน เพือหลีกเลียงมิให้ ของต่าง ๆ ้ ่ ่ ภายในถาประสบความ เสียหาย ทาให้ ยดอายุวตถุโบราณในถาโม่เกาและวัฒนธรรมของ ้ ื ั ้ ด้ านนีมความยังยืนต่อไป ้ ี ่
  • 6. เอกสารอ้ างอิง กานซู่ // โบราณสถาน ถาโม่เกาเมืองตุนหวง //12 ธันวาคม 2553 ้ http://www.tlcthai.com/club/view_topic.php?club=china_chiness&club_id=1162&table_id=1&cate_ id=521&post_id=3286 21 กันยายน 2554