SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 38
Baixar para ler offline
วิชาการคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข
 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522
 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522
 พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
 พระราชบัญญัติเครื่องสาอาง พ.ศ.2535
 พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ.2531
 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522
 พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท พ.ศ.2518
 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535
 พระราชกาหนดป้ องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533
 พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541
 สิทธิผู้ป่วย
 ลักษณะ 2 ประการ ที่อธิบาย กฎหมาย คือ
1. ต้องเป็นกฎเกณฑ์ที่เป็นแบบแผน โดยเป็นกฎเกณฑ์ที่
เกี่ยวข้องกับ ความประพฤติของมนุษย์ซึ่งเป็นมาตรฐานชี้
ว่า การกระทาอย่างหนึ่งอย่างใด ผิด-ถูกหรือไม่ อย่างไร
2. ต้องมีกระบวนการบังคับที่เป็นกิจลักษณะ กล่าวคือ ต้อง
มีการบังคับอย่างจริงจัง หากผู้ใดฝ่าฝืนต้องได้รับโทษ ต่าง
จากแบบแผนบางอย่างที่ไม่มีลักษณะการบังคับจริงจัง
เช่น มารยาท
1. กฎหมายที่บัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร
2. กฎหมายที่มิได้บัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์
อักษร
1. รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุด กฎหมายอื่นจะขัดหรือแย้งไม่ได้
เพราะรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่วางโครงสร้างองค์กรของรัฐ และ
รับรองสิทธิ์ขั้นพื้นฐานของประชาชน
2. พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) พระราชกาหนด (พ.ร.ก.) ลาดับชั้น
รองลงมาจากรัฐธรรมนูญ
3. พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ก.) ออกโดยอาศัยอานาจของรัฐธรรมนูญ,
พระราชบัญญัติ, พระราชกาหนด จึงขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ, พระราชกาหนด ไม่ได้
4. กฎกระทรวง/ประกาศกระทรวง
5. กฎหมายองค์การบัญญัติ
กฎหมายประเพณี คือ กฎหมายที่ปรากฏรูปจารีตประเพณี
แต่ไม่ได้หมายความว่าจารีตประเพณีทุกอย่างจะเป็น
กฎหมายประเพณี
จารีตประเพณี มี 2 ลักษณะ
 ปฏิบัติกันมาสม่าเสมอและนมนาน
 รู้สึกว่ามันถูกต้องถ้าไม่ปฏิบัติตามรู้สึกผิด
 พิธีการหมั้น พิธีการแบ่งมรดก
 “ผู้บริโภค” หมายความว่า
 ผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบ
ธุรกิจ หรือ
 ผู้ซึ่งได้รับการเสนอหรือการชักชวนจากผู้
ประกอบธุรกิจเพื่อให้ซื้อสินค้าหรือรับ
บริการ
 และหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้
ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจโดยชอบ
แม้มิได้เป็นผู้เสียค่าตอบแทนก็ตาม
(1) สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคาพรรณนาคุณภาพที่
ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
(2) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ
(3) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ
(4) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทาสัญญา
(5) สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
 ผู้ใดโดยเจตนาก่อให้เกิ ดความเข้าใจผิดใน
แหล่งกาเนิ ด สภาพ คุณภาพ ปริ มาณ หรือ
สาระสาคัญประการอื่นอันเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
ไม่ว่าจะเป็นของตนเองหรือผู้อื่น โฆษณาหรือใช้
ฉลากที่มีข้อความอันเป็นเท็จ หรือข้อความที่รู้หรือ
ควรรู้อยู่แล้วว่าอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดเช่นว่า
นั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่
เกิน 50,000บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ทาได้ 3 วิธี คือ
 การป้ องกัน โดยภาครัฐและเอกชนมีการออกกฎหมายพิทักษ์
ผู้บริโภค ซึ่งจะเป็นกลไกในการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ควบคู่ไปด้วย
 การเอากลับคืนมา การแก้ไขสิ่งที่ผิดพลาดให้ดีดังเดิม ทาได้หลาย
วิธี เช่น แก้ไขที่ตัวสินค้า เมื่อเกิดการผิดพลาดภายหลังจากที่สินค้า
นั้นออกสู่ตลาด โดยการนาเอากลับมาแก้ไข วิธีนี้จะใช้กันมากใน
การแก้ไขภาพพจน์ของตัวสินค้า
 การกาหนดบทลงโทษ กาหนดตัวบทกฎหมาย ใช้เป็นบทลงโทษ
ต่อผู้ผลิต โดยจะมีทั้งการปรับทั้งจาคุก
“อาหาร” หมายความว่า ของกินหรือเครื่องค้าจุนชีวิต ได้แก่
(1) วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเข้าสู่ร่างกายไม่
ว่าด้วยวิธีใดๆ หรือในรูปลักษณะใดๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุ
ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท หรือยาเสพติดให้โทษ ตาม
กฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี
(2) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้หรือใช้เป็นส่วนผสมในการ
ผลิตอาหารรวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สี และเครื่องปรุงแต่ง
กลิ่นรส
มาตรา 25 ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นาเข้าเพื่อจาหน่าย หรือ
จาหน่าย
1. อาหารไม่บริสุทธิ์ (มีการปนเปื้อน)
2. อาหารปลอม (ไม่ใช่ของแท้)
3. อาหารผิดมาตรฐาน (ไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐาน)
4. อาหารที่ไม่ปลอดภัยในการบริโภค หรือมีสรรพคุณไม่เป็นที่
เชื่อถือ หรือมีคุณค่าหรือคุณประโยชน์ต่อร่างกายในระดับที่
ไม่เหมาะสม
กรณีศึกษา
สธ.เผาทาลายผลิตภัณฑ์ปนเปื้อนเมลามีน 8 รายการ น้าหนัก
รวมเกือบ 8 ตัน เป็นผลิตภัณฑ์ขนม 19,824 กล่อง-ผลิตภัณฑ์
นม 13,085 กระป๋ อง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย แจ้งเฝ้ าระวัง
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารพิงค์เลดี้ แคปซูล เนื่องจากจากการ
ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ไม่แสดงเลขสารบบอาหาร (เลข อย.) มีการ
แสดงฉลากผลิตภัณฑ์เพื่อลดความอ้วน และแสดงสถานที่ผลิต
ที่ไม่สามารถติดต่อได้
บริษัท แคปปิ ตัส เทรดดิ้ง มีการนาเข้า “สาหร่าย
ทะเลปรุงรส รสเข้มข้น (ตราซาลิมิ)” จากประเทศ
สาธารณรัฐประชาชนจีน ผลวิเคราะห์ พบตะกั่วสูงเกิน
มาตรฐานที่กฎหมายกาหนด
ข่าวหน้า 1 จิ้งจกขึ้นอืดในกล่องนม ตะลึงพบนิ้ว
มือในขวดน้าอัดลม สยองผ้าขี้ริ้ววัวแช่น้ายาอาบศพ รา
ในกล่องน้าผลไม้
นมปนเปื้อนเมลามีน
ชาวดอย
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 ใน
ลักษณะความผิดฐานนาเข้าเพื่อ
จาหน่ายอาหารผิดมาตรฐาน ดังนี้ 1.
บริษัท แคปปิ ตัส เทรดดิ้ง เจ้าหน้าที่ได้
ตรวจสอบการนาเข้าพร้อมเก็บตัวอย่าง
อาหาร “สาหร่ายทะเลปรุงรส รส
เข้มข้น (ตราซาลิมิ)” ซึ่งนาเข้าจาก
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนส่ง
ตรวจวิเคราะห์ ปรากฏผลวิเคราะห์ พบ
ตะกั่วสูงเกินมาตรฐานที่กฎหมาย
กาหนด จึงเปรียบเทียบปรับเป็นเงิน
10,000 บาท
ขนมลูกชุบผสมสีย้อมผ้า
ประเภทอาหาร แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. อาหารควบคุมพิเศษ (ต้องขออนุญาตผลิต ขึ้นทะเบียนตารับ
อาหาร และขอใช้ฉลาก) เช่น เครื่องดื่มภาชนะปิ ดสนิท
ผลิตภัณฑ์นม
2. อาหารที่กาหนดคุณภาพและมาตรฐาน (ต้องขออนุญาตผลิต
และขอใช้ฉลาก แต่ไม่ต้องขึ้นทะเบียนตารับอาหาร) เช่น
กาแฟ เกลือ น้ามันปรุงอาหาร
3. อาหารที่ต้องมีฉลาก (ต้องขอใช้ฉลาก) เช่น ขนมปัง หมาก
ฝรั่ง ลูกอม
มาตรา 4(2) "ยา" หมายความว่า
(1) วัตถุที่รับรองไว้ในตารายาที่รัฐมนตรีประกาศ
(2) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้ในการวินิจฉัย บาบัด บรรเทา รักษา
หรือป้ องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
(3) วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสาเร็จรูป หรือ
(4) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการ
กระทาหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์
มาตรา 4 "เครื่องสาอาง" หมายความว่า
(1) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้ทา ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบหรือ
กระทาด้วยวิธีอื่นใดต่อส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายเพื่อความ
สะอาด ความสวยงาม หรือ ส่งเสริมให้เกิดความสวยงามและรวม
ตลอดทั้งเครื่องประทิ่นผิวต่างๆ ด้วย แต่ไม่รวมถึงเครื่องประดับ
และ เครื่องแต่งตัวซึ่งเป็นอุปกรณ์ภายนอกร่างกาย
(2) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสาอาง
โดยเฉพาะ หรือ
(3) วัตถุอื่นที่กาหนดโดยกฎกระทรวงให้เป็นเครื่องสาอาง
เครื่องสําอางทุกชนิดในปัจจุบันถูกกําหนดให้เป็นเครื่องสําอาง
ควบคุมทั้งหมด
“เครื่องมือแพทย์” หมายความว่า
(1) เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ หรือวัตถุสาหรับใช้ในการประกอบวิชาชีพเวช
กรรม การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ การประกอบ
โรคศิลปะ หรือการบาบัดโรคสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ
(2) เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ หรือวัตถุสาหรับใช้ให้เกิดผลแก่สุขภาพโครงสร้าง
หรือการกระทาหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายมนุษย์หรือสัตว์
(3) ส่วนประกอบ ส่วนควบ อุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนของเครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์
(4) เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ หรือวัตถุอื่นที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดในราช
กิจจานุเบกษาว่าเป็นเครื่องมือแพทย์
การจัดกลุ่มเครื่องมือแพทย์เพื่อการกํากับดูแลในประเทศไทย
1. เครื่องมือแพทย์ที่ต้องได้รับใบอนุญาตผลิตและนําเข้า เช่น ถุงยาง
อนามัย ถุงมือยาง กระบอกฉีดยา กระบอกฉีดยาอินซูลินปราศจาก
เชื้อชนิดใช้ได้ครั้งเดียว และชุดตรวจการติดเชื้อ เอช ไอ วี
2. เครื่องมือแพทย์ที่ต้องแจ้งรายการละเอียด เช่น เต้านมเทียมซิลิโคน
ใช้ฝังในร่างกาย เครื่องตรวจวัดระดับปริมาณแอลกอฮอล์ในร่างกาย
3. เครื่องมือแพทย์ทั่วไป ต้องแสดงหนังสือรับรองการขายเครื่องมือ
แพทย์ในประเทศผู้ผลิต
มาตรา 4 "ยาเสพติดให้โทษ" หมายความว่า สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่ง
เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วย
ประการใดๆ แล้วทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ
มาตรา 48 ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาเพื่อการค้าซึ่งยาเสพติดให้โทษเว้นแต่
(1) การโฆษณายาเสพติดให้โทษในประเภท 3 ซึ่งกระทาโดยตรงต่อผู้
ประกอบวิชาชีพ
(2) เป็นฉลากหรือเอกสารกากับยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 หรือ
ประเภท 4 ที่ภาชนะหรือ หีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 หรือ
ประเภท 4
มาตรา 7 ยาเสพติดให้โทษแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ
◦ ประเภท 1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เช่น เฮโรอีน (Heroin)
◦ ประเภท 2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เช่น มอร์ฟีน (Morphine) โคคา
อีน (Cocaine) โคเดอีน (Codeine) ฝิ่นยา (Medicinal Opium)
◦ ประเภท 3 ยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดให้โทษประเภท 2 เป็น
ส่วนผสมอยู่ด้วยตามที่ ได้ขึ้นทะเบียนตารับยาไว้ เช่น ยาแก้ไอ
ผสมโคเดอีน (Codeine Cough Syrup)
◦ ประเภท 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1
หรือประเภท 2 เช่น อาเซติคแอนไฮไดรด์ (Acetic Anhydride) อา
เซติลคลอไรด์ (Acetyl Chtoride)
◦ ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท
4 เช่น กัญชา พืชกระท่อม
“วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท”
หมายความถึง วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อ
จิตประสาท ที่มาจากสิ่งที่ได้จาก
ธรรมชาติ รวมทั้งวัตถุสังเคราะห์
แบ่งเป็น 4 ประเภท ตามระดับอันตรายจากการใช้ และประโยชน์ที่ได้จากทาง
การแพทย์
วัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 1 มีอันตรายร้ายแรงไม่มีประโยชน์ทางการแพทย์
เช่น แอลเอสดี (หลอนประสาท)
วัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 2 มีอันตรายมากแต่มีประโยชน์ทางการแพทย์อยู่บ้าง
เช่น ยานอนหลับ ยาลดความอ้วนบางตัว (กระตุ้นประสาทสั้น กดประสาท
นาน)
วัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 3 มีอันตรายมากแต่มีประโยชน์ทางการแพทย์มาก
เช่น ยาสลบบางตัว (กดประสาท)
วัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 4 มีอันตรายน้อยมีการใช้ทางการแพทย์มาก เช่น
ไดอะซีแพม (แวเลี่ยม) ฟีโนบาร์บิตาล (กดประสาท)
มาตรา 4 “วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุดังต่อไปนี้
(1) วัตถุระเบิดได้ (2) วัตถุไวไฟ
(3) วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์
(4) วัตถุมีพิษ (5) วัตถุที่ทาให้เกิดโรค (6) วัตถุกัมมันตรังสี
(7) วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
(8) วัตถุกัดกร่อน
(9) วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง
(10) วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่
อาจทาให้เกิดอันตราย แก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือ
สิ่งแวดล้อม
ผลิตภัณฑ์กาจัดแมลงต่าง ๆ เช่น ยุง แมลงสาบ
ผลิตภัณฑ์กาจัดเห็บ หมัด ในสัตว์
ผลิตภัณฑ์กาจัดหนู
ผลิตภัณฑ์ทาไล่ยุง
ผลิตภัณฑ์กาจัดลูกน้า
ผลิตภัณฑ์ลบคาผิด สีย้อม
ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทาความสะอาดพื้น ฝาผนัง และเครื่องสุขภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ที่ใช้แก้ไขในการอุดตันของท่อหรือทางระบายสิ่งปฏิกูล
ผลิตภัณฑ์กาจัดเหา
ลูกเหม็น ก้อนดับกลิ่น
ผลิตภัณฑ์ซักผ้าขาว ใช้ประโยชน์ในการซักฟอกเสื้อผ้าและสิ่งทอ
ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรคในสระน้า ใช้ประโยชน์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา
และไวรัส
มาตรา 3 "สารระเหย" หมายความว่า สารเคมี หรือผลิตภัณฑ์ที่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงอุตสาหกรรมประกาศว่าเป็นสารระเหย
เช่น ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาวยาง และลูกโป่งวิทยาศาสตร์
รวมถึงตัวทาละลายในผลิตภัณฑ์นานาชนิด เช่น สีพ่น กาว
วิทยาศาสตร์ น้ายาล้างเล็บ น้ายาลบคาผิด
 มาตรา 12 ผู้ผลิตสารระเหยต้องจัดให้มีภาพ เครื่องหมาย หรือข้อความที่ภาชนะ
บรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุสารระเหย เพื่อเป็นการเตือนให้ระวังการใช้สารระเหย
ดังกล่าว ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
 บทลงโทษ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกิน
สองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา 15 ห้ามมิให้ผู้ใดขายสารระเหยแก่ผู้ที่มีอายุไม่เกินสิบ
เจ็ดปี เว้นแต่เป็นการขายโดยสถานศึกษาเพื่อใช้ในการเรียน
การสอน
มาตรา 17 ห้ามมิให้ผู้ใดใช้สารระเหยบาบัดความต้องการของ
ร่างกายหรือจิตใจ ไม่ว่าโดยวิธีสูด ดม หรือวิธีอื่นใด
บทลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือ
ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา 14 สถานพยาบาลมี 2 ประเภท ดังต่อไปนี้
(1) สถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ได้แก่
คลินิก
(2) สถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ได้แก่
โรงพยาบาล สถานพยาบาลเอกชน
มาตรา 4 "สถานพยาบาล" หมายความว่า สถานที่รวมตลอดถึง
ยานพาหนะ ซึ่งจัดไว้เพื่อการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่า
ด้วยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพเวชกรรมตาม
กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม การประกอบ วิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์ หรือการประกอบวิชาชีพทันตกรรมตามกฎหมายว่า
ด้วยวิชาชีพ ทันตกรรม ทั้งนี้ โดยกระทาเป็นปกติธุระ ไม่ว่าจะได้รับ
ประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ แต่ไม่รวมถึงสถานที่ขายยาตาม
กฎหมายว่าด้วยยา ซึ่งประกอบธุรกิจการขายยา โดยเฉพาะ
 สิทธิผู้ป่วย หมายถึง ความชอบธรรม ที่ผู้ป่วยซึ่งรวมถึงผู้ที่
ไปรับบริการด้านสุขภาพสาขาต่างๆ จะพึงได้รับเพื่อ
คุ้มครอง หรือรักษาผลประโยชน์ อันพึงมีพึงได้ของตนเอง
โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
 ประกาศสิทธิของผู้ป่ วยซึ่งประกาศ ณ วันที่ 16 เมษายน
พ.ศ. 2541 มีสาระสาคัญที่ประชาชนทั่วไป พึงจะได้รับทราบ
10 ประการ
1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐาน ที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญัติไว้ใน
รัฐธรรมนูญ
2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการ จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยไม่มีการ
เลือกปฏิบัติ
3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพ มีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูล อย่างเพียงพอ
และเข้าใจชัดเจนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ เพื่อให้ผู้ป่ วยสามารถ
เลือกตัดสินใจ ในการยินยอมหรือไม่ยินยอม ให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
ปฏิบัติต่อตนเว้นแต่เป็นการ ช่วยเหลือรีบด่วนหรือจาเป็น
4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะฉุกเฉินเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับความ
ช่วยเหลือรีบด่วน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยทันทีตามความจา
เป็นแก่กรณี โดยไม่คานึงว่าผู้ป่วยจะร้องขอ
ความช่วยเหลือหรือไม่
5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพ ด้าน
สุขภาพที่เป็นผู้ให้บริการแก่ตน
6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็น จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้
เป็นผู้ให้บริการแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยน ผู้ให้บริการและสถาน
บริการได้
7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิ ดข้อมูล เกี่ยวกับตนเองจากผู้ประกอบ
วิชาชีพ ด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอม จากผู้ป่วย
หรือการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย
8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วม หรือ
ถอนตัวจากการเป็น ผู้ถูกทดลองในการทาวิจัย ของผู้ประกอบวิชาชีพด้าน
สุขภาพ
9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูล เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของ
ตน ที่ปรากฏในเวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการ
ละเมิดสิทธิส่วนตัวของบุคคลอื่น
10. บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็ก
อายุยังไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถ ใช้
สิทธิด้วยตนเองได้

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภคPowerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
ปุ๊โก๊ะ โก๊ะ
 
CDC 3D Printing Energy Light
CDC 3D Printing Energy LightCDC 3D Printing Energy Light
CDC 3D Printing Energy Light
Ellen Palmer
 
отчет по автотранспорту Word
отчет по автотранспорту Wordотчет по автотранспорту Word
отчет по автотранспорту Word
superlas1987
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
SPipe Pantaweesak
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
พัน พัน
 

Destaque (20)

Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภคPowerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3
 
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
 
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 405 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
 
Kingsley Engineering Services Company Profile
Kingsley Engineering Services Company ProfileKingsley Engineering Services Company Profile
Kingsley Engineering Services Company Profile
 
Mastering team skills
Mastering team skills Mastering team skills
Mastering team skills
 
CDC 3D Printing Energy Light
CDC 3D Printing Energy LightCDC 3D Printing Energy Light
CDC 3D Printing Energy Light
 
El deporte en_la_sociedad_actual_editori
El deporte en_la_sociedad_actual_editoriEl deporte en_la_sociedad_actual_editori
El deporte en_la_sociedad_actual_editori
 
Miro
MiroMiro
Miro
 
Hardware webcam merilu
Hardware webcam meriluHardware webcam merilu
Hardware webcam merilu
 
E3
E3E3
E3
 
отчет по автотранспорту Word
отчет по автотранспорту Wordотчет по автотранспорту Word
отчет по автотранспорту Word
 
Población mundial
Población mundialPoblación mundial
Población mundial
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
The Shore Residences - Common spaces
The Shore Residences - Common spacesThe Shore Residences - Common spaces
The Shore Residences - Common spaces
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
 
ยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษ
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 

Semelhante a เนื้อหาบท4กฎหมาย

Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
atit604
 
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
Surang Judistprasert
 
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
Surang Judistprasert
 

Semelhante a เนื้อหาบท4กฎหมาย (12)

Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
 
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
 
คู่มือขอรับมาตรฐาน CE mark สำหรับเครื่องมือแพทย์
คู่มือขอรับมาตรฐาน CE mark สำหรับเครื่องมือแพทย์คู่มือขอรับมาตรฐาน CE mark สำหรับเครื่องมือแพทย์
คู่มือขอรับมาตรฐาน CE mark สำหรับเครื่องมือแพทย์
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 

Mais de Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Gawewat Dechaapinun
 

Mais de Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

เนื้อหาบท4กฎหมาย

  • 2.  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย  กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ  พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522  พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522  พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510  พระราชบัญญัติเครื่องสาอาง พ.ศ.2535  พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ.2531  พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522  พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท พ.ศ.2518  พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535  พระราชกาหนดป้ องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533  พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541  สิทธิผู้ป่วย
  • 3.  ลักษณะ 2 ประการ ที่อธิบาย กฎหมาย คือ 1. ต้องเป็นกฎเกณฑ์ที่เป็นแบบแผน โดยเป็นกฎเกณฑ์ที่ เกี่ยวข้องกับ ความประพฤติของมนุษย์ซึ่งเป็นมาตรฐานชี้ ว่า การกระทาอย่างหนึ่งอย่างใด ผิด-ถูกหรือไม่ อย่างไร 2. ต้องมีกระบวนการบังคับที่เป็นกิจลักษณะ กล่าวคือ ต้อง มีการบังคับอย่างจริงจัง หากผู้ใดฝ่าฝืนต้องได้รับโทษ ต่าง จากแบบแผนบางอย่างที่ไม่มีลักษณะการบังคับจริงจัง เช่น มารยาท
  • 5. 1. รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุด กฎหมายอื่นจะขัดหรือแย้งไม่ได้ เพราะรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่วางโครงสร้างองค์กรของรัฐ และ รับรองสิทธิ์ขั้นพื้นฐานของประชาชน 2. พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) พระราชกาหนด (พ.ร.ก.) ลาดับชั้น รองลงมาจากรัฐธรรมนูญ 3. พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ก.) ออกโดยอาศัยอานาจของรัฐธรรมนูญ, พระราชบัญญัติ, พระราชกาหนด จึงขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ, พระราชกาหนด ไม่ได้ 4. กฎกระทรวง/ประกาศกระทรวง 5. กฎหมายองค์การบัญญัติ
  • 6. กฎหมายประเพณี คือ กฎหมายที่ปรากฏรูปจารีตประเพณี แต่ไม่ได้หมายความว่าจารีตประเพณีทุกอย่างจะเป็น กฎหมายประเพณี จารีตประเพณี มี 2 ลักษณะ  ปฏิบัติกันมาสม่าเสมอและนมนาน  รู้สึกว่ามันถูกต้องถ้าไม่ปฏิบัติตามรู้สึกผิด  พิธีการหมั้น พิธีการแบ่งมรดก
  • 7.  “ผู้บริโภค” หมายความว่า  ผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบ ธุรกิจ หรือ  ผู้ซึ่งได้รับการเสนอหรือการชักชวนจากผู้ ประกอบธุรกิจเพื่อให้ซื้อสินค้าหรือรับ บริการ  และหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้ ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจโดยชอบ แม้มิได้เป็นผู้เสียค่าตอบแทนก็ตาม
  • 8. (1) สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคาพรรณนาคุณภาพที่ ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ (2) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ (3) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ (4) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทาสัญญา (5) สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
  • 9.  ผู้ใดโดยเจตนาก่อให้เกิ ดความเข้าใจผิดใน แหล่งกาเนิ ด สภาพ คุณภาพ ปริ มาณ หรือ สาระสาคัญประการอื่นอันเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ไม่ว่าจะเป็นของตนเองหรือผู้อื่น โฆษณาหรือใช้ ฉลากที่มีข้อความอันเป็นเท็จ หรือข้อความที่รู้หรือ ควรรู้อยู่แล้วว่าอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดเช่นว่า นั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่ เกิน 50,000บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 10. ทาได้ 3 วิธี คือ  การป้ องกัน โดยภาครัฐและเอกชนมีการออกกฎหมายพิทักษ์ ผู้บริโภค ซึ่งจะเป็นกลไกในการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ควบคู่ไปด้วย  การเอากลับคืนมา การแก้ไขสิ่งที่ผิดพลาดให้ดีดังเดิม ทาได้หลาย วิธี เช่น แก้ไขที่ตัวสินค้า เมื่อเกิดการผิดพลาดภายหลังจากที่สินค้า นั้นออกสู่ตลาด โดยการนาเอากลับมาแก้ไข วิธีนี้จะใช้กันมากใน การแก้ไขภาพพจน์ของตัวสินค้า  การกาหนดบทลงโทษ กาหนดตัวบทกฎหมาย ใช้เป็นบทลงโทษ ต่อผู้ผลิต โดยจะมีทั้งการปรับทั้งจาคุก
  • 11. “อาหาร” หมายความว่า ของกินหรือเครื่องค้าจุนชีวิต ได้แก่ (1) วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเข้าสู่ร่างกายไม่ ว่าด้วยวิธีใดๆ หรือในรูปลักษณะใดๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุ ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท หรือยาเสพติดให้โทษ ตาม กฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี (2) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้หรือใช้เป็นส่วนผสมในการ ผลิตอาหารรวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สี และเครื่องปรุงแต่ง กลิ่นรส
  • 12. มาตรา 25 ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นาเข้าเพื่อจาหน่าย หรือ จาหน่าย 1. อาหารไม่บริสุทธิ์ (มีการปนเปื้อน) 2. อาหารปลอม (ไม่ใช่ของแท้) 3. อาหารผิดมาตรฐาน (ไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐาน) 4. อาหารที่ไม่ปลอดภัยในการบริโภค หรือมีสรรพคุณไม่เป็นที่ เชื่อถือ หรือมีคุณค่าหรือคุณประโยชน์ต่อร่างกายในระดับที่ ไม่เหมาะสม
  • 13. กรณีศึกษา สธ.เผาทาลายผลิตภัณฑ์ปนเปื้อนเมลามีน 8 รายการ น้าหนัก รวมเกือบ 8 ตัน เป็นผลิตภัณฑ์ขนม 19,824 กล่อง-ผลิตภัณฑ์ นม 13,085 กระป๋ อง สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย แจ้งเฝ้ าระวัง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารพิงค์เลดี้ แคปซูล เนื่องจากจากการ ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ไม่แสดงเลขสารบบอาหาร (เลข อย.) มีการ แสดงฉลากผลิตภัณฑ์เพื่อลดความอ้วน และแสดงสถานที่ผลิต ที่ไม่สามารถติดต่อได้
  • 14. บริษัท แคปปิ ตัส เทรดดิ้ง มีการนาเข้า “สาหร่าย ทะเลปรุงรส รสเข้มข้น (ตราซาลิมิ)” จากประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน ผลวิเคราะห์ พบตะกั่วสูงเกิน มาตรฐานที่กฎหมายกาหนด ข่าวหน้า 1 จิ้งจกขึ้นอืดในกล่องนม ตะลึงพบนิ้ว มือในขวดน้าอัดลม สยองผ้าขี้ริ้ววัวแช่น้ายาอาบศพ รา ในกล่องน้าผลไม้
  • 17. พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 ใน ลักษณะความผิดฐานนาเข้าเพื่อ จาหน่ายอาหารผิดมาตรฐาน ดังนี้ 1. บริษัท แคปปิ ตัส เทรดดิ้ง เจ้าหน้าที่ได้ ตรวจสอบการนาเข้าพร้อมเก็บตัวอย่าง อาหาร “สาหร่ายทะเลปรุงรส รส เข้มข้น (ตราซาลิมิ)” ซึ่งนาเข้าจาก ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนส่ง ตรวจวิเคราะห์ ปรากฏผลวิเคราะห์ พบ ตะกั่วสูงเกินมาตรฐานที่กฎหมาย กาหนด จึงเปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 10,000 บาท
  • 19. ประเภทอาหาร แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ 1. อาหารควบคุมพิเศษ (ต้องขออนุญาตผลิต ขึ้นทะเบียนตารับ อาหาร และขอใช้ฉลาก) เช่น เครื่องดื่มภาชนะปิ ดสนิท ผลิตภัณฑ์นม 2. อาหารที่กาหนดคุณภาพและมาตรฐาน (ต้องขออนุญาตผลิต และขอใช้ฉลาก แต่ไม่ต้องขึ้นทะเบียนตารับอาหาร) เช่น กาแฟ เกลือ น้ามันปรุงอาหาร 3. อาหารที่ต้องมีฉลาก (ต้องขอใช้ฉลาก) เช่น ขนมปัง หมาก ฝรั่ง ลูกอม
  • 20. มาตรา 4(2) "ยา" หมายความว่า (1) วัตถุที่รับรองไว้ในตารายาที่รัฐมนตรีประกาศ (2) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้ในการวินิจฉัย บาบัด บรรเทา รักษา หรือป้ องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์ (3) วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสาเร็จรูป หรือ (4) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการ กระทาหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์
  • 21. มาตรา 4 "เครื่องสาอาง" หมายความว่า (1) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้ทา ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบหรือ กระทาด้วยวิธีอื่นใดต่อส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายเพื่อความ สะอาด ความสวยงาม หรือ ส่งเสริมให้เกิดความสวยงามและรวม ตลอดทั้งเครื่องประทิ่นผิวต่างๆ ด้วย แต่ไม่รวมถึงเครื่องประดับ และ เครื่องแต่งตัวซึ่งเป็นอุปกรณ์ภายนอกร่างกาย (2) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสาอาง โดยเฉพาะ หรือ (3) วัตถุอื่นที่กาหนดโดยกฎกระทรวงให้เป็นเครื่องสาอาง
  • 23. “เครื่องมือแพทย์” หมายความว่า (1) เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ หรือวัตถุสาหรับใช้ในการประกอบวิชาชีพเวช กรรม การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ การประกอบ โรคศิลปะ หรือการบาบัดโรคสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ (2) เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ หรือวัตถุสาหรับใช้ให้เกิดผลแก่สุขภาพโครงสร้าง หรือการกระทาหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ (3) ส่วนประกอบ ส่วนควบ อุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนของเครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ (4) เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ หรือวัตถุอื่นที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดในราช กิจจานุเบกษาว่าเป็นเครื่องมือแพทย์
  • 24. การจัดกลุ่มเครื่องมือแพทย์เพื่อการกํากับดูแลในประเทศไทย 1. เครื่องมือแพทย์ที่ต้องได้รับใบอนุญาตผลิตและนําเข้า เช่น ถุงยาง อนามัย ถุงมือยาง กระบอกฉีดยา กระบอกฉีดยาอินซูลินปราศจาก เชื้อชนิดใช้ได้ครั้งเดียว และชุดตรวจการติดเชื้อ เอช ไอ วี 2. เครื่องมือแพทย์ที่ต้องแจ้งรายการละเอียด เช่น เต้านมเทียมซิลิโคน ใช้ฝังในร่างกาย เครื่องตรวจวัดระดับปริมาณแอลกอฮอล์ในร่างกาย 3. เครื่องมือแพทย์ทั่วไป ต้องแสดงหนังสือรับรองการขายเครื่องมือ แพทย์ในประเทศผู้ผลิต
  • 25. มาตรา 4 "ยาเสพติดให้โทษ" หมายความว่า สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่ง เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วย ประการใดๆ แล้วทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ มาตรา 48 ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาเพื่อการค้าซึ่งยาเสพติดให้โทษเว้นแต่ (1) การโฆษณายาเสพติดให้โทษในประเภท 3 ซึ่งกระทาโดยตรงต่อผู้ ประกอบวิชาชีพ (2) เป็นฉลากหรือเอกสารกากับยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 หรือ ประเภท 4 ที่ภาชนะหรือ หีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 หรือ ประเภท 4
  • 26. มาตรา 7 ยาเสพติดให้โทษแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ ◦ ประเภท 1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เช่น เฮโรอีน (Heroin) ◦ ประเภท 2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เช่น มอร์ฟีน (Morphine) โคคา อีน (Cocaine) โคเดอีน (Codeine) ฝิ่นยา (Medicinal Opium) ◦ ประเภท 3 ยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดให้โทษประเภท 2 เป็น ส่วนผสมอยู่ด้วยตามที่ ได้ขึ้นทะเบียนตารับยาไว้ เช่น ยาแก้ไอ ผสมโคเดอีน (Codeine Cough Syrup) ◦ ประเภท 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือประเภท 2 เช่น อาเซติคแอนไฮไดรด์ (Acetic Anhydride) อา เซติลคลอไรด์ (Acetyl Chtoride) ◦ ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เช่น กัญชา พืชกระท่อม
  • 28. แบ่งเป็น 4 ประเภท ตามระดับอันตรายจากการใช้ และประโยชน์ที่ได้จากทาง การแพทย์ วัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 1 มีอันตรายร้ายแรงไม่มีประโยชน์ทางการแพทย์ เช่น แอลเอสดี (หลอนประสาท) วัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 2 มีอันตรายมากแต่มีประโยชน์ทางการแพทย์อยู่บ้าง เช่น ยานอนหลับ ยาลดความอ้วนบางตัว (กระตุ้นประสาทสั้น กดประสาท นาน) วัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 3 มีอันตรายมากแต่มีประโยชน์ทางการแพทย์มาก เช่น ยาสลบบางตัว (กดประสาท) วัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 4 มีอันตรายน้อยมีการใช้ทางการแพทย์มาก เช่น ไดอะซีแพม (แวเลี่ยม) ฟีโนบาร์บิตาล (กดประสาท)
  • 29. มาตรา 4 “วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุดังต่อไปนี้ (1) วัตถุระเบิดได้ (2) วัตถุไวไฟ (3) วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์ (4) วัตถุมีพิษ (5) วัตถุที่ทาให้เกิดโรค (6) วัตถุกัมมันตรังสี (7) วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (8) วัตถุกัดกร่อน (9) วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง (10) วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่ อาจทาให้เกิดอันตราย แก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือ สิ่งแวดล้อม
  • 30. ผลิตภัณฑ์กาจัดแมลงต่าง ๆ เช่น ยุง แมลงสาบ ผลิตภัณฑ์กาจัดเห็บ หมัด ในสัตว์ ผลิตภัณฑ์กาจัดหนู ผลิตภัณฑ์ทาไล่ยุง ผลิตภัณฑ์กาจัดลูกน้า ผลิตภัณฑ์ลบคาผิด สีย้อม ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทาความสะอาดพื้น ฝาผนัง และเครื่องสุขภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้แก้ไขในการอุดตันของท่อหรือทางระบายสิ่งปฏิกูล ผลิตภัณฑ์กาจัดเหา ลูกเหม็น ก้อนดับกลิ่น ผลิตภัณฑ์ซักผ้าขาว ใช้ประโยชน์ในการซักฟอกเสื้อผ้าและสิ่งทอ ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรคในสระน้า ใช้ประโยชน์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัส
  • 31. มาตรา 3 "สารระเหย" หมายความว่า สารเคมี หรือผลิตภัณฑ์ที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงอุตสาหกรรมประกาศว่าเป็นสารระเหย เช่น ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาวยาง และลูกโป่งวิทยาศาสตร์ รวมถึงตัวทาละลายในผลิตภัณฑ์นานาชนิด เช่น สีพ่น กาว วิทยาศาสตร์ น้ายาล้างเล็บ น้ายาลบคาผิด
  • 32.  มาตรา 12 ผู้ผลิตสารระเหยต้องจัดให้มีภาพ เครื่องหมาย หรือข้อความที่ภาชนะ บรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุสารระเหย เพื่อเป็นการเตือนให้ระวังการใช้สารระเหย ดังกล่าว ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง  บทลงโทษ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 33. มาตรา 15 ห้ามมิให้ผู้ใดขายสารระเหยแก่ผู้ที่มีอายุไม่เกินสิบ เจ็ดปี เว้นแต่เป็นการขายโดยสถานศึกษาเพื่อใช้ในการเรียน การสอน มาตรา 17 ห้ามมิให้ผู้ใดใช้สารระเหยบาบัดความต้องการของ ร่างกายหรือจิตใจ ไม่ว่าโดยวิธีสูด ดม หรือวิธีอื่นใด บทลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือ ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 34. มาตรา 14 สถานพยาบาลมี 2 ประเภท ดังต่อไปนี้ (1) สถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ได้แก่ คลินิก (2) สถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ได้แก่ โรงพยาบาล สถานพยาบาลเอกชน
  • 35. มาตรา 4 "สถานพยาบาล" หมายความว่า สถานที่รวมตลอดถึง ยานพาหนะ ซึ่งจัดไว้เพื่อการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่า ด้วยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพเวชกรรมตาม กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม การประกอบ วิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ หรือการประกอบวิชาชีพทันตกรรมตามกฎหมายว่า ด้วยวิชาชีพ ทันตกรรม ทั้งนี้ โดยกระทาเป็นปกติธุระ ไม่ว่าจะได้รับ ประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ แต่ไม่รวมถึงสถานที่ขายยาตาม กฎหมายว่าด้วยยา ซึ่งประกอบธุรกิจการขายยา โดยเฉพาะ
  • 36.  สิทธิผู้ป่วย หมายถึง ความชอบธรรม ที่ผู้ป่วยซึ่งรวมถึงผู้ที่ ไปรับบริการด้านสุขภาพสาขาต่างๆ จะพึงได้รับเพื่อ คุ้มครอง หรือรักษาผลประโยชน์ อันพึงมีพึงได้ของตนเอง โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น  ประกาศสิทธิของผู้ป่ วยซึ่งประกาศ ณ วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2541 มีสาระสาคัญที่ประชาชนทั่วไป พึงจะได้รับทราบ 10 ประการ
  • 37. 1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐาน ที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญัติไว้ใน รัฐธรรมนูญ 2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการ จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยไม่มีการ เลือกปฏิบัติ 3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพ มีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูล อย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ เพื่อให้ผู้ป่ วยสามารถ เลือกตัดสินใจ ในการยินยอมหรือไม่ยินยอม ให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ ปฏิบัติต่อตนเว้นแต่เป็นการ ช่วยเหลือรีบด่วนหรือจาเป็น 4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะฉุกเฉินเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับความ ช่วยเหลือรีบด่วน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยทันทีตามความจา เป็นแก่กรณี โดยไม่คานึงว่าผู้ป่วยจะร้องขอ ความช่วยเหลือหรือไม่ 5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพ ด้าน สุขภาพที่เป็นผู้ให้บริการแก่ตน
  • 38. 6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็น จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้ เป็นผู้ให้บริการแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยน ผู้ให้บริการและสถาน บริการได้ 7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิ ดข้อมูล เกี่ยวกับตนเองจากผู้ประกอบ วิชาชีพ ด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอม จากผู้ป่วย หรือการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย 8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วม หรือ ถอนตัวจากการเป็น ผู้ถูกทดลองในการทาวิจัย ของผู้ประกอบวิชาชีพด้าน สุขภาพ 9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูล เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของ ตน ที่ปรากฏในเวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการ ละเมิดสิทธิส่วนตัวของบุคคลอื่น 10. บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็ก อายุยังไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถ ใช้ สิทธิด้วยตนเองได้