SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง:
หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบและแนวทางการประยุกต์
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ผู้ช่วยนักวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนยศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
| 1
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง:
หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบและแนวทางการประยุกต์
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
แผนงานนโยบายสาธาณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
1. บทนา
การที่จานวนและความหนาแน่นของประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองเพิ่มขึ้นอย่างมาก ทาให้
เมืองมีการจัดการเมืองที่คานึงถึงสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมืองเป็นสาคัญ โดยการมุ่งเน้นทา
ความเข้าใจระบบเมืองด้วยการศึกษาหาสาเหตุและผลกระทบระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ซึ่ง
กันและกันในระบบ และไม่ควรพิจารณาผลกระทบแบบแยกส่วน เพราะผลการวิเคราะห์อาจถูกต้องเพียง
บางส่วนและในระยะสั้นเท่านั้น เนื่องจากความคิดของแต่ละคนที่เข้าใจความเป็นไปของโลกเพียง
บางส่วนนั้นแคบเกินกว่าที่จะนาไปสร้างเป็นนโยบายที่จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาเมืองในระยะยาวได้
ในที่นี้จะนาเสนอขั้นตอนการประยุกต์ใช้วิธีการเชิงระบบ (systems approach) ที่พัฒนาขึ้นโดย
สภาวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ (International Council of Science: ICSU) เข้ากับประเด็นปัญหา
เมือง เพื่อค้นหาแนวทางการสร้างสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง
2. หลักคิดของวิธีการเชิงระบบ (Systems Approach)
ศาสตร์เชิงระบบ (system science) ช่วยทาให้เราเข้าใจความเป็นไปของสิ่งต่าง ๆ ในระบบที่
ซับซ้อน ซึ่งไม่สามารถเข้าใจได้ด้วยการศึกษาแบบแยกส่วนได้ กล่าวคือ การมองว่าทุกสิ่งในระบบต่าง
ส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน และมีความแตกต่างกันไปตามช่วงเวลา ทาให้เราเข้าใจผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจาก
ระบบได้ดีขึ้น ฉะนั้น ปัจจัยที่ขับเคลื่อนการมีสุขภาวะกับความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมืองจึงต้องมีการ
เชื่อมโยงระหว่างปัจจัยด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และชีวกายภาพในระบบของมนุษย์
กับสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ การศึกษาปัญหาที่คาบเกี่ยวกันระหว่างเรื่องสุขภาวะของคนเมืองกับการ
ออกแบบเมืองต้องศึกษาในภาพกว้างให้มากที่สุดด้วย
| 2
การที่ระบบเมืองมีความซับซ้อนมากขึ้น วิธีการเชิงระบบจึงเป็นแนวทางที่เมืองควรนามาใช้
ในทางปฏิบัติ โดยอาจจะเริ่มจากหลักการง่าย ๆ อย่างเช่น หลักการคิดอย่างเป็นระบบ (systems
thinking method) ซึ่งมีเครื่องมือที่หลากหลาย ตั้งแต่การใช้แบบจาลองความคิด (conceptual model)
ไปจนถึงการวิเคราะห์แบบพลวัตเชิงปริมาณ (quantitative dynamical analysis)
ในที่นี้จะให้ความสาคัญกับเครื่องมือที่ชื่อว่า แผนภาพแสดงอิทธิพล (influence diagrams)
แผนภาพนี้เป็นเครื่องมือชิ้นหนึ่งที่สามารถรวบรวบและประยุกต์ความรู้และมุมมองจากหลากหลาย
สาขาวิชาเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างชัดเจน ทาให้เราเห็นภาพรวมโครงสร้างของระบบอันมีประโยชน์ต่อการ
วิจัยต่อไปด้วย ฉะนั้น ขั้นตอนของการพัฒนาโมเดลในการวิจัย ไม่ว่าจะเป็นเชิงคุณภาพหรือปริมาณ
ล้วนช่วยทาให้เราเข้าใจความเป็นไปของระบบได้อย่างถูกต้อง
สภาวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศได้ให้ความสาคัญกับแผนงานที่เป็นศาสตร์ด้านสหวิทยาการ
(Interdisciplinary Science Plan) ในเรื่อง “สุขภาวะกับความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง ภายใต้
สภาพแวดล้อมเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้วิธีวิเคราะห์เชิงระบบ” (Health and Wellbeing in the
Changing Urban Environment: A Systems Analysis) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ระบบเชิงคณิตศาสตร์ที่ง่าย
ต่อการจาลองสภาพความเป็นจริง แต่ไม่สามารถคาดการณ์ผลลัพธ์ของนโยบายเฉพาะส่วนได้อย่าง
แม่นยา เนื่องจากโมเดลนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจระบบในภาพรวมและแนะแนวทาง
ปฏิบัติในอนาคตเสียมากกว่า
ในขั้นเริ่มต้น เราควรใช้วิธีการเชิงระบบในการวิเคราะห์ระบบก่อน เนื่องจากภายใต้
ความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน เราต้องเข้าใจว่าสิ่งต่าง ๆ ในระบบอาจส่งผลให้เกิดผลลัพธ์อะไรตามมาได้บ้าง
อีกทั้ง ด้วยความที่การวิเคราะห์ระบบเชิงคณิตศาสตร์นั้นค่อนข้างยุ่งยากและไม่สามารถใช้อธิบายระบบ
ทั้งภูมิภาค ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งได้ วิธีการเชิงระบบจึงเป็นวิธีที่ทาให้เราเข้าใจความเชื่อมโยงของ
สาขาวิชาต่าง ๆ และเห็นถึงความจาเป็นของการศึกษาทั้งระบบได้ดีกว่า ในขณะเดียวกัน วิธีการเชิง
ระบบชี้ให้เห็นถึงรูปแบบของการเกิดปัญหา รวมทั้งทาให้ทราบปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดสุขภาวะและความ
เป็นอยู่ที่ดีของคนเมืองอันจะช่วยแก้ไขรูปแบบปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ซึ่งเราเรียกปัจจัยนั้นว่า “ต้นตอของ
เหตุ (causes of the causes)” นอกจากนี้ วิธีการเชิงระบบยังส่งเสริมให้นโยบายที่มีหลักฐานทาง
วิชาการรองรับนั้นมีประสิทธิผลเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย เพราะผลของนโยบายอาจก่อให้เกิดผลสืบเนื่องที่
ตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ได้ อย่างไรก็ตาม นโยบายที่ดีจะเกิดขึ้นได้นั้นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้กาหนด
นโยบายและสาธารณชนในการคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อที่จะกระตุ้นให้เขาคิดได้ว่า นโยบายที่แทรกแซง
แค่เฉพาะบางส่วนของระบบที่ซับซ้อนนั้น อาจทาให้เกิดผลกระทบที่ไม่คาดคิดตามมาได้
| 3
3. แผนภาพแสดงอิทธิพล (Influence Diagrams)
แผนภาพแสดงอิทธิพลเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหลักใน
ระบบที่ซับซ้อน ประกอบด้วยกลุ่มข้อความที่แสดงถึงตัวแปรของระบบ และลูกศรที่แสดงถึงการเชื่อมโยง
ของสาเหตุและผลกระทบ โดยตัวอย่างของขั้นตอนการเขียนความสัมพันธ์ระหว่างกันของมาตรฐานของ
ธรรมาภิบาล (governance standards) กับสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง มีดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกตัวแปรที่เราสนใจ (focus variable) ที่มีบทบาทสาคัญต่อปัญหาหรือประเด็นที่เราสนใจ
(แผนภาพที่ 1)
แผนภาพที่ 1 การเขียนแผนภาพอิทธิพลขั้นตอนที่หนึ่ง
ที่มา: International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the
Changing Urban Environment: A Systems Approach.” p.14.
ขั้นตอนที่ 2 เพิ่มตัวแปรที่ส่งผลกระทบต่อตัวแปรที่เราสนใจ โดยพยายามใส่ตัวแปรให้น้อยที่สุดและใส่
เฉพาะตัวแปรที่สาคัญจริง ๆ (แผนภาพที่ 2)
แผนภาพที่ 2 การเขียนแผนภาพอิทธิพลขั้นตอนที่สอง
ที่มา: International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the
Changing Urban Environment: A Systems Approach.” p.14.
ความมุ่งมั่นที่จะไปสู่
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
ความมุ่งมั่นที่จะไปสู่
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัย
แวดล้อมที่กาหนดสุขภาวะ
และความเป็นอยู่ที่ดีขนาดของประชากร
| 4
ขั้นตอนที่ 3 ใส่ตัวแปรที่ได้รับผลกระทบ หากตัวแปรที่เราสนใจมีการเปลี่ยนแปลง (แผนภาพที่ 3)
แผนภาพที่ 3 การเขียนแผนภาพอิทธิพลขั้นตอนที่สาม
ที่มา: International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the
Changing Urban Environment: A Systems Approach.” p.15.
ขั้นตอนที่ 4 ใส่เส้นเชื่อมโยงระหว่างตัวแปรทั้งหมด โดยคิดเป็นวงจรป้อนกลับ (feedback loops) ซึ่งเป็น
การคิดในลักษณะเป็นวงมากกว่าเป็นเส้นตรง โดยตัวแปรทุกตัวมีการเชื่อมต่อทั้งทางตรง
และทางอ้อม (แผนภาพที่ 4)
Urban health and
wellbeing
ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัย
แวดล้อมที่กาหนดสุขภาวะ
และความเป็นอยู่ที่ดี
ขนาดของประชากร
ความมุ่งมั่นที่จะไปสู่
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน คุณภาพของที่อยู่อาศัย
ความมุ่งมั่นในการจากัด
การขยายตัวของเมือง
โอกาสในการเข้าถึงการเดิน
และการขี่จักรยาน
คุณภาพอากาศ
ความมุ่งมั่นในการสร้าง
ประสิทธิผลของระบบขนส่ง
| 5
แผนภาพที่ 4 การเขียนแผนภาพอิทธิพลขั้นตอนที่สี่
ที่มา: International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the
Changing Urban Environment: A Systems Approach.” p.15.
4. แรงต้านกลับของนโยบาย (Policy Resistance)
จากศาสตร์เชิงระบบทาให้เราเห็นว่า นโยบายที่พัฒนามาจากการคิดแบบแยกส่วนนั้น อาจ
ประสบกับปัญหาแรงต้านกลับของนโยบายหรือการที่นโยบายสร้างผลกระทบที่ไม่เป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ ยกตัวอย่างเช่น นโยบายที่ส่งเสริมให้เมืองมีสินค้าหรือบริการที่หลากหลายมากขึ้น ส่งผล
ให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนเมืองดีขึ้น แต่ความหลากหลายที่เพิ่มขึ้นนั้นก็สามารถนาไปสู่พฤติกรรมที่ทา
ให้สุขภาวะของคนเมืองลดลงได้ด้วยเหมือนกัน เช่น คนเมืองอาจหันไปใช้รถยนต์แทนการเดินหรือขี่
จักรยาน คนเมืองอาจหันไปบริโภคอาหารที่มีแคลอรี่สูงมากขึ้น เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แม้การหลีกเลี่ยง
ปัญหาแรงต้านกลับของนโยบายจะเป็นเรื่องที่ยากมาก แต่เราก็สามารถลดปัญหานี้ลงได้ด้วยการนา
วิธีการเชิงระบบมาใช้ประกอบการคิดนโยบาย
ความมุ่งมั่นที่จะไปสู่
การพัฒนาเมืองอย่าง
ยั่งยืน
ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัย
แวดล้อมที่กาหนดสุขภาวะ
และความเป็นอยู่ที่ดี
ขนาดของประชากร
คุณภาพของที่อยู่อาศัย
โอกาสในการเข้าถึงการเดิน
และขี่จักรยาน
ระดับการคานึงถึงสุขภาวะ
และความเป็นอยู่ที่ดี
ความมุ่งมั่นในการจากัด
การขยายตัวของเมือง
ความมุ่งมั่นในการสร้าง
ประสิทธิผลของระบบ
ความหนาแน่น
ประชากร
Urban health
and wellbeing
คุณภาพอากาศ
ผลกระทบของนโยบายและการ
วางแผนใช้ประโยชน์ที่ดิน
มูลค่าที่ดิน
ขนาดพื้นที่ทางเกษตร
ในชานเมือง
ความอยู่รอดของพื้นที่ทางเกษตร
ในชานเมือง
ปริมาณอาหารที่ท้องถิ่นผลิต
ได้
การยึดมั่นในอาหารแบบดั้งเดิม
| 6
ในปัจจุบัน ศาสตร์เชิงระบบถูกพัฒนาจนถึงจุดที่สามารถนาไปใช้สนับสนุนงานวิจัยหรือการ
กาหนดนโยบายเชิงภาพรวมได้ เพราะมันช่วยให้ผู้กาหนดนโยบายสามารถหลีกเลี่ยงปัญหาแรงต้าน
กลับของนโยบาย และทาให้สามารถระบุจุดคานงัด (leverage point) ที่ซึ่งใช้แรงเพียงเล็กน้อยก็สามารถ
สร้างผลกระทบที่ยิ่งใหญ่ได้ อย่างไรก็ตาม นอกจากงานวิจัยเชิงระบบต้องอาศัยทั้งเวลา เนื้อหาที่ดีมา
สนับสนุน และแนวคิดการวิเคราะห์ที่ชัดเจนแล้ว สิ่งที่จาเป็นและก่อให้เกิดประสิทธิผลที่สุดคือ การวิจัยที่
มุ่งส่งเสริมสุขภาวะกับความเป็นอยู่ที่ดีของคนในเมืองเป็นสาคัญ
5. การประยุกต์ศาสตร์เชิงระบบในเรื่องสุขภาวะกับความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง
การวัดปัญหาสุขภาวะหรือภาระโรคของคนในเมืองหรือภูมิภาคมีหลากหลายตัวชี้วัด ไม่ว่าจะ
เป็นอายุคาดเฉลี่ย (life expectancy) ปีสุขภาวะที่สูญเสียปรับด้วยความบกพร่องทางสุขภาพ (disability
adjusted life years) และจานวนปีที่สูญเสียไปเนื่องจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (years of life lost)
ทั้งนี้ เราสามารถอ้างงานวิจัยที่ผ่านมา แล้วจัดอันดับหาสาเหตุของโรคและโรคที่คนเป็นมากที่สุด เพื่อ
เปรียบเทียบปัญหาด้านสุขภาวะในพื้นที่ที่ศึกษากับภูมิภาคอื่นได้ อย่างไรก็ตาม การทราบถึงสาเหตุและ
ผลสืบเนื่องของโรคเพียงอย่างเดียวก็ไม่ได้ทาให้ความเป็นอยู่ของคนเมืองดีขึ้นเสมอไป ในอีกทางหนึ่ง
เราควรคานึงถึงปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่อาจส่งผลต่อสุขภาวะคนเมืองควบคู่ไปด้วย เพื่อให้เกิด
การเชื่อมโยงระหว่างประเด็นทางสังคมเมืองกับจุดคานงัดที่เราสามารถใช้นโยบายแทรกแซงอย่างเป็น
ระบบเข้าไปได้
การเข้าใจภาพรวมของสุขภาวะในร่างกายมนุษย์นั้นมีประโยชน์และจาเป็นต่อการวิเคราะห์
ผลกระทบของสุขภาวะต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนเมืองเป็นอย่างมาก เราอาจเริ่มจากการสังเกตตัว
แปรที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะทั้งทางกายภาพและจิตวิทยา-สังคมเป็นตัวแปรเริ่มต้นที่นาไปสู่การมีสุขภาวะ
และความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง (ตารางที่ 1)
| 7
ตารางที่ 1 ปัจจัยทางกายภาพและจิตวิทยา-สังคมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะ
ปัจจัยทางกายภาพ ปัจจัยทางจิตวิทยา-สังคม
อากาศ
น้า
อาหาร
ระดับความรุนแรงของกัมมันตภาพรังสี
การติดเชื้อแบคทีเรียจากการใกล้ชิด
การป้องกันภัยพิบัติ
เสียงรบกวน
กิจกรรมทางกายภาพ
การนอนหลับ
การสนับสนุนทางอารมณ์
ความรื่นเริง
โอกาสในการสร้างความร่วมมือ
การกระตุ้นความรู้สึก
ความหลากหลายทางชีวภาพของสภาพแวดล้อม
สุนทรียภาพของสภาพแวดล้อม
โอกาสในการใช้ความคิดสร้างสรรค์
โอกาสในการเรียนรู้
โอกาสในการพักผ่อนหย่อนใจ
โอกาสในการสร้างจิตสานึกร่วมของประชาชน
(spontaneity)
ความหลากหลายของกิจกรรมในแต่ละวัน
ความรู้สึกเป็นเจ้าของ มีเป้าหมาย และภาคภูมิใจ
ความเหินห่างและความสูญเสียของผู้คน
ที่มา: International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the
Changing Urban Environment: A Systems Approach.” p.16.
แปลความและเรียบเรียงจาก
International Council of Science Unions. 2011. Science Plan on Urban Health and Wellbeing in
the Changing Urban Environment: A Systems Approach. http://www.icsu.org/icsu-
asia/what-we-do/science-planning/urban-health/science-plan-on-urban-health-and- well
being-in-the-changing-urban-environment-a-systems-approach (accessed January
20, 2016).

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาFURD_RSU
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาFURD_RSU
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ FURD_RSU
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลFURD_RSU
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก FURD_RSU
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1BTNHO
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1Kanjana thong
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีFURD_RSU
 
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาFURD_RSU
 

Mais procurados (20)

นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
 

Semelhante a สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทางการประยุกต์

FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD_RSU
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนFURD_RSU
 
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesHealth Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesThira Woratanarat
 
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศกรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศDr.Choen Krainara
 
รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3Wichai Likitponrak
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
กระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติดกระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติดkittisak sapphajak
 
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรการใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรRattanaporn Sarapee
 
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่Chakgrit Podapol
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารmontiya2530
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารwasamon2531
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศFURD_RSU
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)chorchamp
 
Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02BeeEM2
 

Semelhante a สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทางการประยุกต์ (20)

FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิ
โครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิโครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิ
โครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิ
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
 
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesHealth Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
 
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
 
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศกรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ
 
รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3
 
ต่าย
ต่ายต่าย
ต่าย
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
กระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติดกระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติด
 
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรการใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
 
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)
 
Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02
 

Mais de FURD_RSU

เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD_RSU
 

Mais de FURD_RSU (20)

เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
 

สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทางการประยุกต์

  • 2. | 1 สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบและแนวทางการประยุกต์ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร แผนงานนโยบายสาธาณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง 1. บทนา การที่จานวนและความหนาแน่นของประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองเพิ่มขึ้นอย่างมาก ทาให้ เมืองมีการจัดการเมืองที่คานึงถึงสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมืองเป็นสาคัญ โดยการมุ่งเน้นทา ความเข้าใจระบบเมืองด้วยการศึกษาหาสาเหตุและผลกระทบระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ซึ่ง กันและกันในระบบ และไม่ควรพิจารณาผลกระทบแบบแยกส่วน เพราะผลการวิเคราะห์อาจถูกต้องเพียง บางส่วนและในระยะสั้นเท่านั้น เนื่องจากความคิดของแต่ละคนที่เข้าใจความเป็นไปของโลกเพียง บางส่วนนั้นแคบเกินกว่าที่จะนาไปสร้างเป็นนโยบายที่จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาเมืองในระยะยาวได้ ในที่นี้จะนาเสนอขั้นตอนการประยุกต์ใช้วิธีการเชิงระบบ (systems approach) ที่พัฒนาขึ้นโดย สภาวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ (International Council of Science: ICSU) เข้ากับประเด็นปัญหา เมือง เพื่อค้นหาแนวทางการสร้างสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง 2. หลักคิดของวิธีการเชิงระบบ (Systems Approach) ศาสตร์เชิงระบบ (system science) ช่วยทาให้เราเข้าใจความเป็นไปของสิ่งต่าง ๆ ในระบบที่ ซับซ้อน ซึ่งไม่สามารถเข้าใจได้ด้วยการศึกษาแบบแยกส่วนได้ กล่าวคือ การมองว่าทุกสิ่งในระบบต่าง ส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน และมีความแตกต่างกันไปตามช่วงเวลา ทาให้เราเข้าใจผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจาก ระบบได้ดีขึ้น ฉะนั้น ปัจจัยที่ขับเคลื่อนการมีสุขภาวะกับความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมืองจึงต้องมีการ เชื่อมโยงระหว่างปัจจัยด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และชีวกายภาพในระบบของมนุษย์ กับสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ การศึกษาปัญหาที่คาบเกี่ยวกันระหว่างเรื่องสุขภาวะของคนเมืองกับการ ออกแบบเมืองต้องศึกษาในภาพกว้างให้มากที่สุดด้วย
  • 3. | 2 การที่ระบบเมืองมีความซับซ้อนมากขึ้น วิธีการเชิงระบบจึงเป็นแนวทางที่เมืองควรนามาใช้ ในทางปฏิบัติ โดยอาจจะเริ่มจากหลักการง่าย ๆ อย่างเช่น หลักการคิดอย่างเป็นระบบ (systems thinking method) ซึ่งมีเครื่องมือที่หลากหลาย ตั้งแต่การใช้แบบจาลองความคิด (conceptual model) ไปจนถึงการวิเคราะห์แบบพลวัตเชิงปริมาณ (quantitative dynamical analysis) ในที่นี้จะให้ความสาคัญกับเครื่องมือที่ชื่อว่า แผนภาพแสดงอิทธิพล (influence diagrams) แผนภาพนี้เป็นเครื่องมือชิ้นหนึ่งที่สามารถรวบรวบและประยุกต์ความรู้และมุมมองจากหลากหลาย สาขาวิชาเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างชัดเจน ทาให้เราเห็นภาพรวมโครงสร้างของระบบอันมีประโยชน์ต่อการ วิจัยต่อไปด้วย ฉะนั้น ขั้นตอนของการพัฒนาโมเดลในการวิจัย ไม่ว่าจะเป็นเชิงคุณภาพหรือปริมาณ ล้วนช่วยทาให้เราเข้าใจความเป็นไปของระบบได้อย่างถูกต้อง สภาวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศได้ให้ความสาคัญกับแผนงานที่เป็นศาสตร์ด้านสหวิทยาการ (Interdisciplinary Science Plan) ในเรื่อง “สุขภาวะกับความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง ภายใต้ สภาพแวดล้อมเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้วิธีวิเคราะห์เชิงระบบ” (Health and Wellbeing in the Changing Urban Environment: A Systems Analysis) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ระบบเชิงคณิตศาสตร์ที่ง่าย ต่อการจาลองสภาพความเป็นจริง แต่ไม่สามารถคาดการณ์ผลลัพธ์ของนโยบายเฉพาะส่วนได้อย่าง แม่นยา เนื่องจากโมเดลนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจระบบในภาพรวมและแนะแนวทาง ปฏิบัติในอนาคตเสียมากกว่า ในขั้นเริ่มต้น เราควรใช้วิธีการเชิงระบบในการวิเคราะห์ระบบก่อน เนื่องจากภายใต้ ความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน เราต้องเข้าใจว่าสิ่งต่าง ๆ ในระบบอาจส่งผลให้เกิดผลลัพธ์อะไรตามมาได้บ้าง อีกทั้ง ด้วยความที่การวิเคราะห์ระบบเชิงคณิตศาสตร์นั้นค่อนข้างยุ่งยากและไม่สามารถใช้อธิบายระบบ ทั้งภูมิภาค ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งได้ วิธีการเชิงระบบจึงเป็นวิธีที่ทาให้เราเข้าใจความเชื่อมโยงของ สาขาวิชาต่าง ๆ และเห็นถึงความจาเป็นของการศึกษาทั้งระบบได้ดีกว่า ในขณะเดียวกัน วิธีการเชิง ระบบชี้ให้เห็นถึงรูปแบบของการเกิดปัญหา รวมทั้งทาให้ทราบปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดสุขภาวะและความ เป็นอยู่ที่ดีของคนเมืองอันจะช่วยแก้ไขรูปแบบปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ซึ่งเราเรียกปัจจัยนั้นว่า “ต้นตอของ เหตุ (causes of the causes)” นอกจากนี้ วิธีการเชิงระบบยังส่งเสริมให้นโยบายที่มีหลักฐานทาง วิชาการรองรับนั้นมีประสิทธิผลเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย เพราะผลของนโยบายอาจก่อให้เกิดผลสืบเนื่องที่ ตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ได้ อย่างไรก็ตาม นโยบายที่ดีจะเกิดขึ้นได้นั้นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้กาหนด นโยบายและสาธารณชนในการคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อที่จะกระตุ้นให้เขาคิดได้ว่า นโยบายที่แทรกแซง แค่เฉพาะบางส่วนของระบบที่ซับซ้อนนั้น อาจทาให้เกิดผลกระทบที่ไม่คาดคิดตามมาได้
  • 4. | 3 3. แผนภาพแสดงอิทธิพล (Influence Diagrams) แผนภาพแสดงอิทธิพลเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหลักใน ระบบที่ซับซ้อน ประกอบด้วยกลุ่มข้อความที่แสดงถึงตัวแปรของระบบ และลูกศรที่แสดงถึงการเชื่อมโยง ของสาเหตุและผลกระทบ โดยตัวอย่างของขั้นตอนการเขียนความสัมพันธ์ระหว่างกันของมาตรฐานของ ธรรมาภิบาล (governance standards) กับสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง มีดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือกตัวแปรที่เราสนใจ (focus variable) ที่มีบทบาทสาคัญต่อปัญหาหรือประเด็นที่เราสนใจ (แผนภาพที่ 1) แผนภาพที่ 1 การเขียนแผนภาพอิทธิพลขั้นตอนที่หนึ่ง ที่มา: International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the Changing Urban Environment: A Systems Approach.” p.14. ขั้นตอนที่ 2 เพิ่มตัวแปรที่ส่งผลกระทบต่อตัวแปรที่เราสนใจ โดยพยายามใส่ตัวแปรให้น้อยที่สุดและใส่ เฉพาะตัวแปรที่สาคัญจริง ๆ (แผนภาพที่ 2) แผนภาพที่ 2 การเขียนแผนภาพอิทธิพลขั้นตอนที่สอง ที่มา: International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the Changing Urban Environment: A Systems Approach.” p.14. ความมุ่งมั่นที่จะไปสู่ การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ความมุ่งมั่นที่จะไปสู่ การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัย แวดล้อมที่กาหนดสุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดีขนาดของประชากร
  • 5. | 4 ขั้นตอนที่ 3 ใส่ตัวแปรที่ได้รับผลกระทบ หากตัวแปรที่เราสนใจมีการเปลี่ยนแปลง (แผนภาพที่ 3) แผนภาพที่ 3 การเขียนแผนภาพอิทธิพลขั้นตอนที่สาม ที่มา: International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the Changing Urban Environment: A Systems Approach.” p.15. ขั้นตอนที่ 4 ใส่เส้นเชื่อมโยงระหว่างตัวแปรทั้งหมด โดยคิดเป็นวงจรป้อนกลับ (feedback loops) ซึ่งเป็น การคิดในลักษณะเป็นวงมากกว่าเป็นเส้นตรง โดยตัวแปรทุกตัวมีการเชื่อมต่อทั้งทางตรง และทางอ้อม (แผนภาพที่ 4) Urban health and wellbeing ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัย แวดล้อมที่กาหนดสุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดี ขนาดของประชากร ความมุ่งมั่นที่จะไปสู่ การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน คุณภาพของที่อยู่อาศัย ความมุ่งมั่นในการจากัด การขยายตัวของเมือง โอกาสในการเข้าถึงการเดิน และการขี่จักรยาน คุณภาพอากาศ ความมุ่งมั่นในการสร้าง ประสิทธิผลของระบบขนส่ง
  • 6. | 5 แผนภาพที่ 4 การเขียนแผนภาพอิทธิพลขั้นตอนที่สี่ ที่มา: International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the Changing Urban Environment: A Systems Approach.” p.15. 4. แรงต้านกลับของนโยบาย (Policy Resistance) จากศาสตร์เชิงระบบทาให้เราเห็นว่า นโยบายที่พัฒนามาจากการคิดแบบแยกส่วนนั้น อาจ ประสบกับปัญหาแรงต้านกลับของนโยบายหรือการที่นโยบายสร้างผลกระทบที่ไม่เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ ยกตัวอย่างเช่น นโยบายที่ส่งเสริมให้เมืองมีสินค้าหรือบริการที่หลากหลายมากขึ้น ส่งผล ให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนเมืองดีขึ้น แต่ความหลากหลายที่เพิ่มขึ้นนั้นก็สามารถนาไปสู่พฤติกรรมที่ทา ให้สุขภาวะของคนเมืองลดลงได้ด้วยเหมือนกัน เช่น คนเมืองอาจหันไปใช้รถยนต์แทนการเดินหรือขี่ จักรยาน คนเมืองอาจหันไปบริโภคอาหารที่มีแคลอรี่สูงมากขึ้น เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แม้การหลีกเลี่ยง ปัญหาแรงต้านกลับของนโยบายจะเป็นเรื่องที่ยากมาก แต่เราก็สามารถลดปัญหานี้ลงได้ด้วยการนา วิธีการเชิงระบบมาใช้ประกอบการคิดนโยบาย ความมุ่งมั่นที่จะไปสู่ การพัฒนาเมืองอย่าง ยั่งยืน ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัย แวดล้อมที่กาหนดสุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดี ขนาดของประชากร คุณภาพของที่อยู่อาศัย โอกาสในการเข้าถึงการเดิน และขี่จักรยาน ระดับการคานึงถึงสุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดี ความมุ่งมั่นในการจากัด การขยายตัวของเมือง ความมุ่งมั่นในการสร้าง ประสิทธิผลของระบบ ความหนาแน่น ประชากร Urban health and wellbeing คุณภาพอากาศ ผลกระทบของนโยบายและการ วางแผนใช้ประโยชน์ที่ดิน มูลค่าที่ดิน ขนาดพื้นที่ทางเกษตร ในชานเมือง ความอยู่รอดของพื้นที่ทางเกษตร ในชานเมือง ปริมาณอาหารที่ท้องถิ่นผลิต ได้ การยึดมั่นในอาหารแบบดั้งเดิม
  • 7. | 6 ในปัจจุบัน ศาสตร์เชิงระบบถูกพัฒนาจนถึงจุดที่สามารถนาไปใช้สนับสนุนงานวิจัยหรือการ กาหนดนโยบายเชิงภาพรวมได้ เพราะมันช่วยให้ผู้กาหนดนโยบายสามารถหลีกเลี่ยงปัญหาแรงต้าน กลับของนโยบาย และทาให้สามารถระบุจุดคานงัด (leverage point) ที่ซึ่งใช้แรงเพียงเล็กน้อยก็สามารถ สร้างผลกระทบที่ยิ่งใหญ่ได้ อย่างไรก็ตาม นอกจากงานวิจัยเชิงระบบต้องอาศัยทั้งเวลา เนื้อหาที่ดีมา สนับสนุน และแนวคิดการวิเคราะห์ที่ชัดเจนแล้ว สิ่งที่จาเป็นและก่อให้เกิดประสิทธิผลที่สุดคือ การวิจัยที่ มุ่งส่งเสริมสุขภาวะกับความเป็นอยู่ที่ดีของคนในเมืองเป็นสาคัญ 5. การประยุกต์ศาสตร์เชิงระบบในเรื่องสุขภาวะกับความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง การวัดปัญหาสุขภาวะหรือภาระโรคของคนในเมืองหรือภูมิภาคมีหลากหลายตัวชี้วัด ไม่ว่าจะ เป็นอายุคาดเฉลี่ย (life expectancy) ปีสุขภาวะที่สูญเสียปรับด้วยความบกพร่องทางสุขภาพ (disability adjusted life years) และจานวนปีที่สูญเสียไปเนื่องจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (years of life lost) ทั้งนี้ เราสามารถอ้างงานวิจัยที่ผ่านมา แล้วจัดอันดับหาสาเหตุของโรคและโรคที่คนเป็นมากที่สุด เพื่อ เปรียบเทียบปัญหาด้านสุขภาวะในพื้นที่ที่ศึกษากับภูมิภาคอื่นได้ อย่างไรก็ตาม การทราบถึงสาเหตุและ ผลสืบเนื่องของโรคเพียงอย่างเดียวก็ไม่ได้ทาให้ความเป็นอยู่ของคนเมืองดีขึ้นเสมอไป ในอีกทางหนึ่ง เราควรคานึงถึงปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่อาจส่งผลต่อสุขภาวะคนเมืองควบคู่ไปด้วย เพื่อให้เกิด การเชื่อมโยงระหว่างประเด็นทางสังคมเมืองกับจุดคานงัดที่เราสามารถใช้นโยบายแทรกแซงอย่างเป็น ระบบเข้าไปได้ การเข้าใจภาพรวมของสุขภาวะในร่างกายมนุษย์นั้นมีประโยชน์และจาเป็นต่อการวิเคราะห์ ผลกระทบของสุขภาวะต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนเมืองเป็นอย่างมาก เราอาจเริ่มจากการสังเกตตัว แปรที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะทั้งทางกายภาพและจิตวิทยา-สังคมเป็นตัวแปรเริ่มต้นที่นาไปสู่การมีสุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง (ตารางที่ 1)
  • 8. | 7 ตารางที่ 1 ปัจจัยทางกายภาพและจิตวิทยา-สังคมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะ ปัจจัยทางกายภาพ ปัจจัยทางจิตวิทยา-สังคม อากาศ น้า อาหาร ระดับความรุนแรงของกัมมันตภาพรังสี การติดเชื้อแบคทีเรียจากการใกล้ชิด การป้องกันภัยพิบัติ เสียงรบกวน กิจกรรมทางกายภาพ การนอนหลับ การสนับสนุนทางอารมณ์ ความรื่นเริง โอกาสในการสร้างความร่วมมือ การกระตุ้นความรู้สึก ความหลากหลายทางชีวภาพของสภาพแวดล้อม สุนทรียภาพของสภาพแวดล้อม โอกาสในการใช้ความคิดสร้างสรรค์ โอกาสในการเรียนรู้ โอกาสในการพักผ่อนหย่อนใจ โอกาสในการสร้างจิตสานึกร่วมของประชาชน (spontaneity) ความหลากหลายของกิจกรรมในแต่ละวัน ความรู้สึกเป็นเจ้าของ มีเป้าหมาย และภาคภูมิใจ ความเหินห่างและความสูญเสียของผู้คน ที่มา: International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the Changing Urban Environment: A Systems Approach.” p.16. แปลความและเรียบเรียงจาก International Council of Science Unions. 2011. Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the Changing Urban Environment: A Systems Approach. http://www.icsu.org/icsu- asia/what-we-do/science-planning/urban-health/science-plan-on-urban-health-and- well being-in-the-changing-urban-environment-a-systems-approach (accessed January 20, 2016).