SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business)
กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
ศานนท์ หวังสร้างบุญ
เจ้าของ once again hostel
โฮสเทลเพื่อชุมชน
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business)
กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
ผู้เขียน : ศานนท์ หวังสร้างบุญ
บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายฮาพีฟี สะมะแอ
ผู้ถอดความ นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร, นายฮาพีฟี สะมะแอ
ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ : พฤษภาคม พ.ศ. 2559
ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
3
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business)
กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
บทนา
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว เป็นที่นิยมชมชอบของชาวต่างชาติ
เป็นอย่างมาก จากสถิติเมื่อ พ.ศ. 2557 นักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครกว่า 15 ล้าน
คน มีการใช้จ่ายในการท่องเที่ยวเฉลี่ย 4,700 บาทต่อคน คิดเป็นมูลค่ากว่า 6,900 ล้านบาท หากแต่มี
คาถามคือ เงินจานวนมหาศาลเหล่านี้ไปตกอยู่ในมือของใคร ทาไมคนกรุงเทพฯ บางส่วนถึงยังคงยากจน
คนกรุงเทพฯ ได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยวสูงสุดหรือไม่ เป็นที่น่าสนใจว่า จะกระจายรายได้อย่างไร
ทาอย่างไรให้นักท่องเที่ยวกับคนในชุมชนมาเจอกัน เพื่อให้เกิดกระจายรายได้จากคนรวยสู่คนจน
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากประเทศสวีเดน จึงเป็น
เครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยให้เกิดการกระจายรายได้จากการท่องเที่ยวไปยังชุมชน สร้างธุรกิจการท่องเที่ยว
โดยมีการเชื่อมโยงคนจนเข้าสู่ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)1
ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวซึ่งเป็น
เป็นแนวคิดที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน เพื่อช่วยเหลือชุมชน
2. ความสาคัญของ Inclusive Business Tourism
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งยวดในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้า และ
การกระจายรายได้สู่ชุมชน จากการวิจัยโดยสถาบัน Endeva เมืองเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี เรื่อง
“Destination: Mutual Benefit - A Guide to Inclusive Business in Tourism (2014)” เกี่ยวกับ
เส้นทางและขั้นตอนการทาธุรกิจแบบมีส่วนร่วมในธุรกิจการท่องเที่ยว ในรายงานมีการเปรียบเทียบถึง
ความแตกต่างของ แนวคิดการท่องเที่ยวฐานชุมชน (Community-based Tourism) กับแนวคิดธุรกิจแบบ
มีส่วนร่วม (Inclusive Business) ดังนี้ สาหรับ แนวคิดการท่องเที่ยวฐานชุมชน เป็นการท่องเที่ยวที่
สนับสนุนคนจน (Pro-poor Tourism) เน้นกระจายรายได้ไปสู่คนจนเป็นหลัก หากเราหยุดแจกจ่าย
รายได้ คนจนก็จะกลับมาจนเช่นเดิม ส่วนแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วมนั้นไม่ได้เจาะจงว่าต้องให้รายได้
1 ห่วงโซ่คุณค่า คือ เป็นแนวคิดหนึ่งของ ไมเคิล อี พอร์เตอร์ ที่แสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบของกิจกรรมต่าง ๆ ในโซ่อุปทาน (Supply
Chain) ที่เพิ่มคุณค่าให้กับตัวสินค้า ผลิตภัณฑ์ (Products) บริการ (Service) ที่ต้องการขาย โดยการเพิ่มคุณค่าจากกิจกรรมการแปรสภาพ
วัตถุดิบเพื่อป้อนเข้าสู่ขั้นตอนการผลิต และขายในราคาที่สูงกว่าต้นทุนของวัตถุดิบ โดยมูลค่าที่เพิ่มขึ้นนี้แสดงให้เห็นถึงคุณค่าที่
เพิ่มขึ้น โดยในกระบวนการผลิต เมื่อได้พิจารณาต้นทุนของกิจกรรมอย่างละเอียด เรียกว่า การวิเคราะห์โซ่คุณค่า (Value chain analysis)
เพื่อกาหนดว่า กระบวนการใดเพิ่มคุณค่า และกระบวนการใดไม่เพิ่มคุณค่า โดยมีเป้าหมายหลัก คือ ความพยายามออกแบบ
กระบวนการใหม่ และกาจัดหรือทาให้กระบวนการที่ไม่เพิ่มคุณค่าเหลือน้อยที่สุด (ที่มา : รศ.ดร.ยรรยง ศรีสม)
4
กับคนจน แต่เป็นการเน้นสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับคนจน อาจจะไม่ใช่ด้านรายได้ แต่เป็นด้าน
คุณภาพชีวิตหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในระยะยาว เป็นสร้างธุรกิจร่วมกัน มีเป้าหมายการ
พัฒนาในการดาเนินธุรกิจ เช่น ต้องการพัฒนาชุมชนอย่างไรให้มีการประเมินระดับการมีส่วนร่วมที่
ชัดเจน ทั้งนี้ ธุรกิจควรจะต้องมีความร่วมมือกับภาครัฐ เพื่อให้เกิดการดาเนินการที่มีประสิทธิผลสูงสุด
ผลการวิจัยพบว่า ความสัมพันธ์ของธุรกิจการท่องเที่ยว ได้แก่ ธุรกิจจัดทัวร์ บริษัทขนส่ง ธุรกิจ
ที่อยู่อาศัย ธุรกิจร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก และผู้ให้บริการด้านการจัดกิจกรรม กับกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจหรือทักษะที่คนท้องถิ่นมี ได้แก่ การบารุงรักษากับการบริการ การทากิจกรรม งานฝีมือ การ
ทาอาหารและเครื่องดื่ม การขนส่ง การอนุรักษ์ธรรมชาติ และการก่อสร้าง ว่าธุรกิจท่องเที่ยวประเภทใด
ประเภทหนึ่ง สามารถสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชนผ่านกิจกรรมอะไรได้บ้างและยากง่ายแค่ไหน พบว่า
ธุรกิจการจัดทัวร์สามารถร่วมกับชุมชนในการจัดกิจกรรมและการขนส่งได้อย่างมาก รองลงมาเป็นงาน
ด้านฝีมือ ส่วนกิจกรรมอื่น ๆ เชื่อมโยงกับชุมชนได้ยาก (แผนภาพที่ 1) หากเปรียบคนทาธุรกิจเป็น
แม่น้า ซึ่งสามารถสร้างผลประโยชน์ร่วม (mutual benefit) ผ่านกิจกรรม 7 ด้าน (แผนภาพที่ 2)
แผนภาพที่ 1 ระดับการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนกับธุรกิจในห่วงโซ่คุณค่า
ที่มา: Tewes-Gradl et al. 2014. “Destination: Mutual Benefit - A Guide to Inclusive Business in
Tourism.” p.6.
5
แผนภาพที่ 2 เส้นทางสู่การสร้างผลประโยชน์ร่วม (mutual benefit)
ที่มา: Tewes-Gradl et al. 2014. “Destination: Mutual Benefit - A Guide to Inclusive Business in
Tourism.” p.7.
3. Once Again: แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วมใจกลางย่านเก่าของกรุงเทพฯ
ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ การพัฒนาเมืองและการลงทุนต่างๆ ที่ขยายความเจริญไปยังย่าน
อื่นๆของกรุงเทพมหานคร เป็นย่านพาณิชกรรมแห่งใหม่ที่ทันสมัย ความเจริญเหล่านี้ทาให้ย่านพาณิช
ยกรรมเก่า เฉกเช่นชุมชนเก่าแก่ที่เฟื้องฟูในอดีต อาทิ ชุมชนต่างๆในเกาะรัตนโกสินทร์จากตายหายไป
ชุมชนเหล่านี้ไม่ได้หายไปในทางกายภาพที่ผู้คนย้ายออกไปเท่านั้น หากแต่ในทาศิลปวัฒนธรรม ที่
ทรงคุณค่าก็หายไปด้วย (แผนภาพที่ 3) เช่น การตีบาตร ละครชาตรี เป็นต้น ประกอบกับการไล่รื้อ
ชุมชน ย่านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ท่าพระจันทร์ ปากคลองตลาด การจัดระเบียบกับความสมดุลของ
วัฒนธรรมเป็นสิ่งสาคัญ
6
แผนภาพที่ 3 ชุมชนบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์
ที่มา: ศานนท์ หวังสร้างบุญ (2559)
3.1 แรงบันดาลใจในการก่อตั้ง
ด้วยความประสงค์ที่จะรักษามรดกทางศิลปวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าให้คงอยู่คู่กับแผ่นดิน
ไทย โครงการ Once Again จึงถือกาเนิดขึ้น โดยมีบ้านหลวงราชไมตรี จันทบูร เป็นต้นแบบในการ
ดาเนินการ แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม ในการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าให้มีลมหายใจ และมีชีวิตชีวาดังเช่น
อดีต ซึ่งบ้านหลวงราชไมตรีนั้นถูกใช้เป็นศูนย์กลางธุรกิจ เปลี่ยนจากพื้นที่ร้างมาจัดการที่ดึงดูดชาวบ้าน
มาคุยเรื่องการท่องเที่ยว แบ่งหุ้นให้ชาวบ้านซื้อ 550 คน 8000 หุ้น เปิดให้เช่าในราคาถูก เป็นธุรกิจ
ชุมชนขึ้นมา บ้านต่าง ๆ กลับมาประกอบอาชีพ สร้างการมีส่วนร่วมในชุมชน
Once Again เป็นโฮสเทล ที่ปรับปรุงโรงพิมพ์เก่าจานวน 4 ห้องแถว ขนาด 400 ตารางเมตร
ตั้งอยู่บริเวณซอยประตูผี ที่เชื่อมและดึงเสน่ห์ชุมชนโดยรอบ 4 ชุมชนที่กาลังจะหายไป ได้แก่
ชุมชนที่หายไปแล้ว
ชุมชนที่ยังคงอยู่
ชุมชนที่กาลังจะหายไป
7
- ชุมชนวังกรมพระสมมตอมรพันธ์ ที่ยังคงเย็บสบง เย็บจีวรพระ อีกทั้งเป็นที่ตั้งของวังเก่า
ของลูกหลานรัชกาลที่ 4
- ย่านนางเลิ้ง ตลาดเก่า ที่มีละครชาตรี บ้านเต้นราที่รุ่งเรืองสมัย พ.ศ. 2499 โรงหนังเฉลิม
ธานีเสมือนเป็นสยามพารากอนในอดีต เป็นย่านบันเทิง
- ชุมชนบ้านบาตร ปัจจุบันยังทาบาตร เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต
- ชุมชนป้อมมหากาฬ ที่มีบ้านไม้โบราณ มีอาชีพดั้งเดิม กรงนก ปั้นดินเผา
ในตอนแรกนั้นตั้งชื่อโฮสเทลว่า 2325 แต่เห็นว่าชุมชนกาลังจะตายจึงตั้งชื่อใหม่ว่า Once
Again เพื่อเป็นภารกิจหลักที่จะฟื้นชุมชนกลับมา โดยคิดว่าธุรกิจที่ทาไม่ใช่เป็นแค่มีพื้นที่ 400 ตาราง
เมตรเท่านั้น แต่พื้นที่เป็นทั้งเกาะรัตนโกสินทร์ ซึ่งเรียกว่าเป็น หมู่บ้าน พยายามพานักท่องเที่ยวที่มาพัก
ไปท่องเที่ยว และทาให้แต่ละชุมชนมีที่พัก มาจองกับ Once Again ไปพักที่ชุมชนได้เลย
3.2 การใส่ห่วงโซ่คุณค่าของ Once Again ไปยังชุมชน ๆ
การดาเนินธุรกิจแบบมีส่วนร่วมของ Once Again นั้นมีการดึงเอาทรัพยากรที่อยู่ในชุมชนทั้งสิ้น
เพื่อเป็นการพัฒนาชุมชน โดยการเพิ่มโซ่คุณค่าไปยังส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจโฮสเท
ลและการท่องเที่ยวทั้งระบบ (แผนภาพที่ 4) ได้แก่
- แม่บ้าน และพนักงานต้อนรับที่ต้องมีอัธยาศัยและมีทักษะภาษาอังกฤษที่ดี ซึ่งจ้างคนใน
ท้องถิ่นเช่น จากบ้านบาตร เป็นต้น
- อาหารเช้า จะเวียนกันซื้ออาหารแต่ละเจ้าจากร้านอาหารท้องถิ่น แนวคิดคือจะไม่ทาอะไรที่
คนในชุมชนทาแล้ว เช่น คาเฟ่ด้านล่างจะขายอาหารอีกระดับหนึ่ง เป็นต้น
- การซัก-อบ-รีด ใช้ชุมชนข้าง ๆประมาณ 5 ร้าน
- การเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ มีการบริการแท็กซี่ของคนในชุมชนจานวน 3 คัน
- กิจกรรมท่องเที่ยวชุมชน โฮสเทลมีจักรยานให้บริการ 10 คัน และเปิดโอกาสให้บ้านที่มี
จักรยานแต่ไม่ได้ใช้มาฝากไว้ หากมีคนเช่า ชาวบ้านก็จะได้เงินค่าเช่าไป กิจกรรมทัวร์ส่วน
ใหญ่ใช้เวลาครึ่งวัน ไปท่องเที่ยวบ้านบาตร มักคุเทศก์เป็นผู้ชนะวันยังเวิลด์อีกด้วย
8
แผนภาพที่ 4 แสดงองค์ประกอบของแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม ที่ผสานธุรกิจเข้ากับชุมชน
ที่มา: ศานนท์ หวังสร้างบุญ (2559)
จากการสังเกต จากทุกครั้ง ๆ ที่ไปเที่ยวจะเห็นพัฒนาการของคนในชุมชนในด้านภาษาอังกฤษ
นอกจากนี้โฮสเทลยังนาครูที่สอนภาษาอังกฤษสอนคนในชุมชน โดยเริ่มจากเด็กๆ ผู้ปกครองไปจนถึง
แม่ค้า ร้านนวด อีกด้วย
3.4 การขยายการบริการในอนาคต
แนวคิดในการพัฒนาและขยายการบริการให้ครอบคลุมในอนาคต ซึ่งจะมีการขยายเครือข่ายให้
กว้างขึ้น เริ่มต้นเริ่มต้นจากการบริการ โฮสเทล เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาพักในชุมชน จากนั้นจึง
ขยาย คาเฟต์ ชื่อว่า Holiday by cafe veledome ซึ่งมุ่งเน้นส่งเสริมเคมเปญการใช้จักยานในประเทศ
ไทย นอกจากนี้ยังยังมีการมองไปยังธุรกิจการท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวชุมชน โดยพัฒนา
บัตรโดยสารที่สามารถใช้ได้กับทุกการขนส่งมวลชน (Pass) เฉกเช่น ในต่างประเทศมีการใช้ PASS ไป
เที่ยวได้หลาย ๆ ซึ่งจะคุ้มค่าเพราะเดินทางฟรี และเข้าได้หลาย ๆ ที่ แต่การเดินทางของกรุงเทพฯ
ค่อนข้างยากลาบากและค่าโดยสารที่ค่อนข้างถูกมาก จึงเป็นอุปสรรค์สาคัญในการรวมเป็นบัตรโดยสาร
เดียว และสุดท้ายคือ สื่อประชาสัมพันธ์ที่ยังเป็นโจทย์สาคัญที่ท้าทายในอนาคต (แผนภาพที่ 5)
9
แผนภาพที่ 5 เครือข่ายต่างในอนาคต
ที่มา: ศานนท์ หวังสร้างบุญ (2559)
3.5 ความท้าทายในการดาเนินธุรกิจ
ในการดาเนินธุรกิจที่ยึดแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม นั้นโจทย์ใหญ่คือ เรากาลังช่วยบุคคล
ใดบุคคลหนึ่งหรือเปล่า ทาอย่างไรให้เป็นการช่วยทั้งชุมชน เรื่องการท่องเที่ยวน่าจะเป็นการช่วยทั้ง
ชุมชนได้มากที่สุด พอร่วมกับชุมชน ความเป็นโฮสเทล จึงใหญ่ขึ้นมากเปรียบเป็นหมู่บ้านเช่นที่บอก
ก่อให้เกิดปัญหาตามมา เช่น การไล่รื้อ จริง ๆ แล้วการทาธุรกิจนี้จึงอาจเป็นการทาเรื่องเมือง เพราะการ
ที่เขาอยู่เป็นคนเมืองที่สามารถสร้างอะไรดี ๆ ให้เมืองได้
10
4. บทสรุป
การรักษาและการฟื้นฟูย่านเมืองเก่า ที่เคยเป็นแหล่งพาณิชยกรรม และยังคงรักษามรดกทาง
ศิลปวัฒนธรรม ให้คงอยู่ได้ภายใต้ยุคสมัยปัจจุบัน ที่มีช่องว่างความเหลื่อมล้าทางชนชั้นที่นับวันยิ่งกว้าง
ขึ้นนั้น สามารถทาได้หลายวิธีด้วยกัน แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม เป็นแนวคิดหนึ่งที่เป็นเครื่องมือช่วย
เสริมสร้างศักยภาพ และความภาคภูมิใจในชุมชน ผ่านการท่องเที่ยว ที่เชื่อมโยงชุมชนกับการท่องเที่ยว
โดยตรง ทาให้คนในชุมชนรักษา ไม่ละทิ้งมรดกที่สืบทอดกัน โดยเปลี่ยนมรดกเหล่านี้ให้เป็นทุนที่มี
ศักยภาพ ที่สามารถสร้างมูลค่าจากการท่องเที่ยวได้ อันทาให้ชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดีและลดช่องว่าง
ระหว่างรายได้อีกด้วย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
sariya25
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
Natthawut Sutthi
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
teerachon
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
Pattama Poyangyuen
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
Mo Taengmo
 
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
Wararit Wongrat
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
peter dontoom
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
tassanee chaicharoen
 

Mais procurados (20)

ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 

Destaque

แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม: แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
FURD_RSU
 
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
FURD_RSU
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมืองเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD_RSU
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
FURD_RSU
 
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
FURD_RSU
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
FURD_RSU
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
FURD_RSU
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
FURD_RSU
 
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
FURD_RSU
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
Nattakorn Sunkdon
 

Destaque (20)

กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวกลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
 
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม: แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมืองเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคมPPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
Inclusive marketing
Inclusive marketingInclusive marketing
Inclusive marketing
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
 
Tourist Behavior
Tourist BehaviorTourist Behavior
Tourist Behavior
 
CULTURE AND HERITAGE TOURISM
CULTURE AND HERITAGE TOURISMCULTURE AND HERITAGE TOURISM
CULTURE AND HERITAGE TOURISM
 

Semelhante a แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง

เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
FURD_RSU
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
FURD_RSU
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
FURD_RSU
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
FURD_RSU
 

Semelhante a แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง (16)

Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
 
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมืองPower Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
 

Mais de FURD_RSU

Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
FURD_RSU
 

Mais de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
 

แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง

  • 1. แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง ศานนท์ หวังสร้างบุญ เจ้าของ once again hostel โฮสเทลเพื่อชุมชน แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. 2 แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง ผู้เขียน : ศานนท์ หวังสร้างบุญ บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายฮาพีฟี สะมะแอ ผู้ถอดความ นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร, นายฮาพีฟี สะมะแอ ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ : พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 3. 3 แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง บทนา กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว เป็นที่นิยมชมชอบของชาวต่างชาติ เป็นอย่างมาก จากสถิติเมื่อ พ.ศ. 2557 นักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครกว่า 15 ล้าน คน มีการใช้จ่ายในการท่องเที่ยวเฉลี่ย 4,700 บาทต่อคน คิดเป็นมูลค่ากว่า 6,900 ล้านบาท หากแต่มี คาถามคือ เงินจานวนมหาศาลเหล่านี้ไปตกอยู่ในมือของใคร ทาไมคนกรุงเทพฯ บางส่วนถึงยังคงยากจน คนกรุงเทพฯ ได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยวสูงสุดหรือไม่ เป็นที่น่าสนใจว่า จะกระจายรายได้อย่างไร ทาอย่างไรให้นักท่องเที่ยวกับคนในชุมชนมาเจอกัน เพื่อให้เกิดกระจายรายได้จากคนรวยสู่คนจน แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากประเทศสวีเดน จึงเป็น เครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยให้เกิดการกระจายรายได้จากการท่องเที่ยวไปยังชุมชน สร้างธุรกิจการท่องเที่ยว โดยมีการเชื่อมโยงคนจนเข้าสู่ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)1 ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวซึ่งเป็น เป็นแนวคิดที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน เพื่อช่วยเหลือชุมชน 2. ความสาคัญของ Inclusive Business Tourism แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งยวดในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้า และ การกระจายรายได้สู่ชุมชน จากการวิจัยโดยสถาบัน Endeva เมืองเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี เรื่อง “Destination: Mutual Benefit - A Guide to Inclusive Business in Tourism (2014)” เกี่ยวกับ เส้นทางและขั้นตอนการทาธุรกิจแบบมีส่วนร่วมในธุรกิจการท่องเที่ยว ในรายงานมีการเปรียบเทียบถึง ความแตกต่างของ แนวคิดการท่องเที่ยวฐานชุมชน (Community-based Tourism) กับแนวคิดธุรกิจแบบ มีส่วนร่วม (Inclusive Business) ดังนี้ สาหรับ แนวคิดการท่องเที่ยวฐานชุมชน เป็นการท่องเที่ยวที่ สนับสนุนคนจน (Pro-poor Tourism) เน้นกระจายรายได้ไปสู่คนจนเป็นหลัก หากเราหยุดแจกจ่าย รายได้ คนจนก็จะกลับมาจนเช่นเดิม ส่วนแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วมนั้นไม่ได้เจาะจงว่าต้องให้รายได้ 1 ห่วงโซ่คุณค่า คือ เป็นแนวคิดหนึ่งของ ไมเคิล อี พอร์เตอร์ ที่แสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบของกิจกรรมต่าง ๆ ในโซ่อุปทาน (Supply Chain) ที่เพิ่มคุณค่าให้กับตัวสินค้า ผลิตภัณฑ์ (Products) บริการ (Service) ที่ต้องการขาย โดยการเพิ่มคุณค่าจากกิจกรรมการแปรสภาพ วัตถุดิบเพื่อป้อนเข้าสู่ขั้นตอนการผลิต และขายในราคาที่สูงกว่าต้นทุนของวัตถุดิบ โดยมูลค่าที่เพิ่มขึ้นนี้แสดงให้เห็นถึงคุณค่าที่ เพิ่มขึ้น โดยในกระบวนการผลิต เมื่อได้พิจารณาต้นทุนของกิจกรรมอย่างละเอียด เรียกว่า การวิเคราะห์โซ่คุณค่า (Value chain analysis) เพื่อกาหนดว่า กระบวนการใดเพิ่มคุณค่า และกระบวนการใดไม่เพิ่มคุณค่า โดยมีเป้าหมายหลัก คือ ความพยายามออกแบบ กระบวนการใหม่ และกาจัดหรือทาให้กระบวนการที่ไม่เพิ่มคุณค่าเหลือน้อยที่สุด (ที่มา : รศ.ดร.ยรรยง ศรีสม)
  • 4. 4 กับคนจน แต่เป็นการเน้นสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับคนจน อาจจะไม่ใช่ด้านรายได้ แต่เป็นด้าน คุณภาพชีวิตหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในระยะยาว เป็นสร้างธุรกิจร่วมกัน มีเป้าหมายการ พัฒนาในการดาเนินธุรกิจ เช่น ต้องการพัฒนาชุมชนอย่างไรให้มีการประเมินระดับการมีส่วนร่วมที่ ชัดเจน ทั้งนี้ ธุรกิจควรจะต้องมีความร่วมมือกับภาครัฐ เพื่อให้เกิดการดาเนินการที่มีประสิทธิผลสูงสุด ผลการวิจัยพบว่า ความสัมพันธ์ของธุรกิจการท่องเที่ยว ได้แก่ ธุรกิจจัดทัวร์ บริษัทขนส่ง ธุรกิจ ที่อยู่อาศัย ธุรกิจร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก และผู้ให้บริการด้านการจัดกิจกรรม กับกิจกรรมทาง เศรษฐกิจหรือทักษะที่คนท้องถิ่นมี ได้แก่ การบารุงรักษากับการบริการ การทากิจกรรม งานฝีมือ การ ทาอาหารและเครื่องดื่ม การขนส่ง การอนุรักษ์ธรรมชาติ และการก่อสร้าง ว่าธุรกิจท่องเที่ยวประเภทใด ประเภทหนึ่ง สามารถสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชนผ่านกิจกรรมอะไรได้บ้างและยากง่ายแค่ไหน พบว่า ธุรกิจการจัดทัวร์สามารถร่วมกับชุมชนในการจัดกิจกรรมและการขนส่งได้อย่างมาก รองลงมาเป็นงาน ด้านฝีมือ ส่วนกิจกรรมอื่น ๆ เชื่อมโยงกับชุมชนได้ยาก (แผนภาพที่ 1) หากเปรียบคนทาธุรกิจเป็น แม่น้า ซึ่งสามารถสร้างผลประโยชน์ร่วม (mutual benefit) ผ่านกิจกรรม 7 ด้าน (แผนภาพที่ 2) แผนภาพที่ 1 ระดับการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนกับธุรกิจในห่วงโซ่คุณค่า ที่มา: Tewes-Gradl et al. 2014. “Destination: Mutual Benefit - A Guide to Inclusive Business in Tourism.” p.6.
  • 5. 5 แผนภาพที่ 2 เส้นทางสู่การสร้างผลประโยชน์ร่วม (mutual benefit) ที่มา: Tewes-Gradl et al. 2014. “Destination: Mutual Benefit - A Guide to Inclusive Business in Tourism.” p.7. 3. Once Again: แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วมใจกลางย่านเก่าของกรุงเทพฯ ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ การพัฒนาเมืองและการลงทุนต่างๆ ที่ขยายความเจริญไปยังย่าน อื่นๆของกรุงเทพมหานคร เป็นย่านพาณิชกรรมแห่งใหม่ที่ทันสมัย ความเจริญเหล่านี้ทาให้ย่านพาณิช ยกรรมเก่า เฉกเช่นชุมชนเก่าแก่ที่เฟื้องฟูในอดีต อาทิ ชุมชนต่างๆในเกาะรัตนโกสินทร์จากตายหายไป ชุมชนเหล่านี้ไม่ได้หายไปในทางกายภาพที่ผู้คนย้ายออกไปเท่านั้น หากแต่ในทาศิลปวัฒนธรรม ที่ ทรงคุณค่าก็หายไปด้วย (แผนภาพที่ 3) เช่น การตีบาตร ละครชาตรี เป็นต้น ประกอบกับการไล่รื้อ ชุมชน ย่านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ท่าพระจันทร์ ปากคลองตลาด การจัดระเบียบกับความสมดุลของ วัฒนธรรมเป็นสิ่งสาคัญ
  • 6. 6 แผนภาพที่ 3 ชุมชนบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ ที่มา: ศานนท์ หวังสร้างบุญ (2559) 3.1 แรงบันดาลใจในการก่อตั้ง ด้วยความประสงค์ที่จะรักษามรดกทางศิลปวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าให้คงอยู่คู่กับแผ่นดิน ไทย โครงการ Once Again จึงถือกาเนิดขึ้น โดยมีบ้านหลวงราชไมตรี จันทบูร เป็นต้นแบบในการ ดาเนินการ แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม ในการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าให้มีลมหายใจ และมีชีวิตชีวาดังเช่น อดีต ซึ่งบ้านหลวงราชไมตรีนั้นถูกใช้เป็นศูนย์กลางธุรกิจ เปลี่ยนจากพื้นที่ร้างมาจัดการที่ดึงดูดชาวบ้าน มาคุยเรื่องการท่องเที่ยว แบ่งหุ้นให้ชาวบ้านซื้อ 550 คน 8000 หุ้น เปิดให้เช่าในราคาถูก เป็นธุรกิจ ชุมชนขึ้นมา บ้านต่าง ๆ กลับมาประกอบอาชีพ สร้างการมีส่วนร่วมในชุมชน Once Again เป็นโฮสเทล ที่ปรับปรุงโรงพิมพ์เก่าจานวน 4 ห้องแถว ขนาด 400 ตารางเมตร ตั้งอยู่บริเวณซอยประตูผี ที่เชื่อมและดึงเสน่ห์ชุมชนโดยรอบ 4 ชุมชนที่กาลังจะหายไป ได้แก่ ชุมชนที่หายไปแล้ว ชุมชนที่ยังคงอยู่ ชุมชนที่กาลังจะหายไป
  • 7. 7 - ชุมชนวังกรมพระสมมตอมรพันธ์ ที่ยังคงเย็บสบง เย็บจีวรพระ อีกทั้งเป็นที่ตั้งของวังเก่า ของลูกหลานรัชกาลที่ 4 - ย่านนางเลิ้ง ตลาดเก่า ที่มีละครชาตรี บ้านเต้นราที่รุ่งเรืองสมัย พ.ศ. 2499 โรงหนังเฉลิม ธานีเสมือนเป็นสยามพารากอนในอดีต เป็นย่านบันเทิง - ชุมชนบ้านบาตร ปัจจุบันยังทาบาตร เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต - ชุมชนป้อมมหากาฬ ที่มีบ้านไม้โบราณ มีอาชีพดั้งเดิม กรงนก ปั้นดินเผา ในตอนแรกนั้นตั้งชื่อโฮสเทลว่า 2325 แต่เห็นว่าชุมชนกาลังจะตายจึงตั้งชื่อใหม่ว่า Once Again เพื่อเป็นภารกิจหลักที่จะฟื้นชุมชนกลับมา โดยคิดว่าธุรกิจที่ทาไม่ใช่เป็นแค่มีพื้นที่ 400 ตาราง เมตรเท่านั้น แต่พื้นที่เป็นทั้งเกาะรัตนโกสินทร์ ซึ่งเรียกว่าเป็น หมู่บ้าน พยายามพานักท่องเที่ยวที่มาพัก ไปท่องเที่ยว และทาให้แต่ละชุมชนมีที่พัก มาจองกับ Once Again ไปพักที่ชุมชนได้เลย 3.2 การใส่ห่วงโซ่คุณค่าของ Once Again ไปยังชุมชน ๆ การดาเนินธุรกิจแบบมีส่วนร่วมของ Once Again นั้นมีการดึงเอาทรัพยากรที่อยู่ในชุมชนทั้งสิ้น เพื่อเป็นการพัฒนาชุมชน โดยการเพิ่มโซ่คุณค่าไปยังส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจโฮสเท ลและการท่องเที่ยวทั้งระบบ (แผนภาพที่ 4) ได้แก่ - แม่บ้าน และพนักงานต้อนรับที่ต้องมีอัธยาศัยและมีทักษะภาษาอังกฤษที่ดี ซึ่งจ้างคนใน ท้องถิ่นเช่น จากบ้านบาตร เป็นต้น - อาหารเช้า จะเวียนกันซื้ออาหารแต่ละเจ้าจากร้านอาหารท้องถิ่น แนวคิดคือจะไม่ทาอะไรที่ คนในชุมชนทาแล้ว เช่น คาเฟ่ด้านล่างจะขายอาหารอีกระดับหนึ่ง เป็นต้น - การซัก-อบ-รีด ใช้ชุมชนข้าง ๆประมาณ 5 ร้าน - การเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ มีการบริการแท็กซี่ของคนในชุมชนจานวน 3 คัน - กิจกรรมท่องเที่ยวชุมชน โฮสเทลมีจักรยานให้บริการ 10 คัน และเปิดโอกาสให้บ้านที่มี จักรยานแต่ไม่ได้ใช้มาฝากไว้ หากมีคนเช่า ชาวบ้านก็จะได้เงินค่าเช่าไป กิจกรรมทัวร์ส่วน ใหญ่ใช้เวลาครึ่งวัน ไปท่องเที่ยวบ้านบาตร มักคุเทศก์เป็นผู้ชนะวันยังเวิลด์อีกด้วย
  • 8. 8 แผนภาพที่ 4 แสดงองค์ประกอบของแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม ที่ผสานธุรกิจเข้ากับชุมชน ที่มา: ศานนท์ หวังสร้างบุญ (2559) จากการสังเกต จากทุกครั้ง ๆ ที่ไปเที่ยวจะเห็นพัฒนาการของคนในชุมชนในด้านภาษาอังกฤษ นอกจากนี้โฮสเทลยังนาครูที่สอนภาษาอังกฤษสอนคนในชุมชน โดยเริ่มจากเด็กๆ ผู้ปกครองไปจนถึง แม่ค้า ร้านนวด อีกด้วย 3.4 การขยายการบริการในอนาคต แนวคิดในการพัฒนาและขยายการบริการให้ครอบคลุมในอนาคต ซึ่งจะมีการขยายเครือข่ายให้ กว้างขึ้น เริ่มต้นเริ่มต้นจากการบริการ โฮสเทล เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาพักในชุมชน จากนั้นจึง ขยาย คาเฟต์ ชื่อว่า Holiday by cafe veledome ซึ่งมุ่งเน้นส่งเสริมเคมเปญการใช้จักยานในประเทศ ไทย นอกจากนี้ยังยังมีการมองไปยังธุรกิจการท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวชุมชน โดยพัฒนา บัตรโดยสารที่สามารถใช้ได้กับทุกการขนส่งมวลชน (Pass) เฉกเช่น ในต่างประเทศมีการใช้ PASS ไป เที่ยวได้หลาย ๆ ซึ่งจะคุ้มค่าเพราะเดินทางฟรี และเข้าได้หลาย ๆ ที่ แต่การเดินทางของกรุงเทพฯ ค่อนข้างยากลาบากและค่าโดยสารที่ค่อนข้างถูกมาก จึงเป็นอุปสรรค์สาคัญในการรวมเป็นบัตรโดยสาร เดียว และสุดท้ายคือ สื่อประชาสัมพันธ์ที่ยังเป็นโจทย์สาคัญที่ท้าทายในอนาคต (แผนภาพที่ 5)
  • 9. 9 แผนภาพที่ 5 เครือข่ายต่างในอนาคต ที่มา: ศานนท์ หวังสร้างบุญ (2559) 3.5 ความท้าทายในการดาเนินธุรกิจ ในการดาเนินธุรกิจที่ยึดแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม นั้นโจทย์ใหญ่คือ เรากาลังช่วยบุคคล ใดบุคคลหนึ่งหรือเปล่า ทาอย่างไรให้เป็นการช่วยทั้งชุมชน เรื่องการท่องเที่ยวน่าจะเป็นการช่วยทั้ง ชุมชนได้มากที่สุด พอร่วมกับชุมชน ความเป็นโฮสเทล จึงใหญ่ขึ้นมากเปรียบเป็นหมู่บ้านเช่นที่บอก ก่อให้เกิดปัญหาตามมา เช่น การไล่รื้อ จริง ๆ แล้วการทาธุรกิจนี้จึงอาจเป็นการทาเรื่องเมือง เพราะการ ที่เขาอยู่เป็นคนเมืองที่สามารถสร้างอะไรดี ๆ ให้เมืองได้
  • 10. 10 4. บทสรุป การรักษาและการฟื้นฟูย่านเมืองเก่า ที่เคยเป็นแหล่งพาณิชยกรรม และยังคงรักษามรดกทาง ศิลปวัฒนธรรม ให้คงอยู่ได้ภายใต้ยุคสมัยปัจจุบัน ที่มีช่องว่างความเหลื่อมล้าทางชนชั้นที่นับวันยิ่งกว้าง ขึ้นนั้น สามารถทาได้หลายวิธีด้วยกัน แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม เป็นแนวคิดหนึ่งที่เป็นเครื่องมือช่วย เสริมสร้างศักยภาพ และความภาคภูมิใจในชุมชน ผ่านการท่องเที่ยว ที่เชื่อมโยงชุมชนกับการท่องเที่ยว โดยตรง ทาให้คนในชุมชนรักษา ไม่ละทิ้งมรดกที่สืบทอดกัน โดยเปลี่ยนมรดกเหล่านี้ให้เป็นทุนที่มี ศักยภาพ ที่สามารถสร้างมูลค่าจากการท่องเที่ยวได้ อันทาให้ชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดีและลดช่องว่าง ระหว่างรายได้อีกด้วย