SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
Baixar para ler offline
ปี ที่ 3 ฉบับที่ 1
ประจำเดือน มกรำคม 2562
ต้นแบบด้านการสร้างสรรค์ด้านภูมิ-เศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อม เมืองดีเด่น ปี 2561
บรรณาธิการ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ
ณัฐธิดา เย็นบารุง
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม
ออกแบบและจัดรูปเล่ม
ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม
ภาพปก
ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม
ภาพในเล่ม
Flaticon.com
Freepik.com
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
www.facebook.com/เทศบาลเมืองทุ่งสง
เผยแพร่
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
CONTACT US
www.furd.in.th
Tel. (+66) 2938 8826
Fax. (+66) 2938 8864
E-mail: furd_2014@gmail.com
สวัสดีปีใหม่ 2562 แก่ผู้อ่านทุกท่าน ช่วงเดือนธันวาคมปีที่ผ่านมา ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองได้
มอบรางวัล โครงการเมืองดีเด่น ประจาปี 2561 แก่ “เทศบาลเมืองทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช” ใน
ฐานะเมืองแห่งการสร้างสรรค์ด้วยภูมิ-เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ในพิธีประสาทปริญญาบัตร
มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2561
Furd Cities Monitor ฉบับนี้จึงเป็นการสรุปเรื่องราวการพัฒนาของเมืองทุ่งสงทั้งในด้านการ
กลายเป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้าของภาคใต้ รวมไปถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมผ่านโครงการพลิกทุ่งพลิก
โลก และการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า ซึ่งจะช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงบริบทของเมืองทุ่งสง ได้เห็นแนวทาง
ในการพัฒนาเมืองอย่างมั่นคงและยั่งยืน
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
รางวัลเมืองดีเด่น ปี 2561
เมืองทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
เมืองทุ่งสง
มหายุทธศาสตร์การขนส่งของภาคใต้
ชุมทางทุ่งสง
สะพานเชื่อมเศรษฐกิจโลก
ชุมชนพลิกถุง
ทุ่งสงพลิกโลก
ทุ่งสง โมเดลการจัดการ
ทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ
1 | FURD Cities Monitor January 2019 FURD Cities Monitor January 2019 | 2
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มอบรางวัลโครงการเมืองดีเด่น ด้าน
การสร้างสรรค์ด้วยภูมิ-เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ประจ้าปี 2561 แก่ เทศบาลเมืองทุ่งสง ในพิธี
ประสาทปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยรังสิต วันที่ 16 ธันวาคม 2561 ทั้งนี้ศูนย์ศึกษามหานครเห็นว่า เทศบาล
เมืองทุ่งสง มุ่งสานต่อแนวคิดและภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ด้วยยุทธวิธีใหม่ที่สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่และ
การเปลี่ยนแปลงในภูมิภาค แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและยกระดับเศรษฐกิจเมือง ยกระดับท้องถิ่นสร้าง
นวัตกรรมเข้าร่วมบริหารเศรษฐกิจภูมิภาค
รางวัลเมืองดีเด่น เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อเป็นแรงกระตุ้นและสร้างความภูมิใจให้กับผู้สร้างบ้านแปงเมือง ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาชสังคม ซึ่งด้าเนินการต่อเนื่องมากว่า 4 ปี
เมืองดีเด่น
ปี 2561
เมืองทุ่งสง เมืองแห่งการสร้างสรรค์
ด้วยภูมิ-เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม
3 | FURD Cities Monitor January 2019
เมืองทุ่งสง เมืองแห่งการสร้างสรรค์
ด้วยภูมิ-เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม
ทุ่งสง มีทำเลที่ตั้งเป็นเลิศอยู่กึ่งกลำงระหว่ำงทะเลอันดำมันกับอ่ำวไทย และ
กึ่งกลำงของภำคใต้ ด้วยภูมิศำสตร์ที่อยู่ใกล้เทือกเขำนครศรีธรรมรำชอันเป็นแหล่งต้น
น้ำ จึงมีลำน้ำหลำยสำขำไหลผ่ำนเมือง ในอดีตผู้คนจึงอำศัยกำรสัญจรทำงน้ำเป็นหลัก
จนกลำยเป็นศูนย์กลำงกำรขนถ่ำยสินค้ำส่งออกทำงทะเล จึงมักเรียกบริเวณนี้ว่ำทุ่งส่ง
สำเนียงใต้ออกเสียงว่ำ ทุ่งสง
กำรสัญจรทำงน้ำลดบทบำทลง เมื่อรัชกำลที่ 5 ทรงให้ทุ่งสงเป็นชุมทำงรถไฟ
ทุ่งสงกลำยเป็นศูนย์กลำงกำรเดินทำงของผู้คนและกำรขนส่งสินค้ำทำงรถไฟที่ใหญ่
ที่สุดของภำคใต้ ควำมรุ่งเรืองทำงกำรค้ำ ณ ทุ่งแห่งนี้ สะท้อนได้จำกกำรมีธนาคาร
สยามกัมมาจลสำขำภูมิภำคแห่งแรกของไทยมำตั้งอยู่ติดสถำนีรถไฟทุ่งสง สมัย
สงครำมโลกครั้งที่สองญี่ปุ่นเลือกทุ่งสงเป็นฐำนที่มั่นเพื่อใช้เป็นแหล่งซ่อมหัวรถจักร ใช้
ส่งกำลังบำรุง ยกระดับทุ่งสงให้มีศักยภำพซ่อมหัวรถจักรขนำดใหญ่เพียงแห่งเดียวของ
ภำคใต้
FURD Cities Monitor January 2019 | 4
วันนี้รถไฟไม่ใช่เส้นทำงหลักในกำรเดินทำงของผู้คนอีกต่อไป เศรษฐกิจและวิถี
ชีวิตคนทุ่งสงที่ต้องพึ่งพิงรถไฟได้ซบเซำลง แต่ด้วยมุมมองภูมิยุทธศำสตร์ ทุ่งสงยังคง
เป็นยุทธภูมิด้ำนกำรคมนำคมที่สำคัญยิ่งในคำบสมุทรภำคใต้ เทศบำลเมืองทุ่งสง มุ่ง
สำนต่อแนวคิดและภูมิปัญญำของบรรพบุรุษ ด้วยยุทธวิธีใหม่ที่สอดคล้องกับบริบทใน
พื้นที่และกำรเปลี่ยนแปลงในภูมิภำค โดยกำร ...
พลิกวิกฤตเป็นโอกาส ปรับเปลี่ยนโครงข่ำยรถไฟที่ยังคงอยู่ให้เป็น
ศูนย์กลำงโลจิสติกส์ระบบรำง กระจำยสินค้ำภำคใต้ไปเชื่อมต่อเข้ำมำเลเซียและออกสู่
โลก เปิดโอกำสให้สินค้ำไทยและสินค้ำฮำลำลที่มีศักยภำพสำมำรถไปสู่ตลำดโลกได้ใน
อนำคต ดำเนินกำรในนำม ศูนย์กระจำยสินค้ำภำคใต้ (Cargo Distribution Center-
Thungsong) นับว่าเป็นนวัตกรรมการบริหารของท้องถิ่นที่ยกระดับตนเองขึ้นมามี
บทบาทเข้าร่วมบริหารเศรษฐกิจภูมิภาค
พลิกฟื้นระบบนิเวศ ด้วยภูมิประเทศที่ง่ำยต่อกำรเกิดน้ำหลำก ประกอบกับ
กำรขยำยตัวของชุมชนเมือง ประสบภัยพิบัติน้ำท่วมใหญ่ 8 ครั้ง สร้ำงควำมเสียหำย
ในย่ำนเศรษฐกิจอย่ำงมำก กลำยเป็นจุดเริ่มต้นที่เทศบำลอำสำเป็นแกนหลักของกำร
แก้ปัญหำน้ำท่วมซ้ำซำก ประสำนข้ำมพื้นที่ตั้งแต่ต้นน้ำจนปลำยน้ำ ประสำนข้ำม
หน่วยงำนทั้งในและนอกพื้นที่ ทั้งจำกหน่วยงำนรำชกำรทุกภำคส่วน ตลอดจนภำค
ประชำสังคม และชุมชนที่เกี่ยวข้อง บูรณำกำรจัดกำรน้ำอย่ำงยั่งยืน แก้ปัญหำน้ำ
หลำก ลดควำมเชี่ยวกรำก ขจัดมลพิษ ฟื้นระบบนิเวศกลำยเป็นแหล่งอำหำรธรรมชำติ
ที่อุดมสมบูรณ์ หล่อเลี้ยงชุมชนจนทุกวันนี้
วันนี้ ทุ่งสง กลายเป็นทุ่งสวรรค์
ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต มีควำมภูมิใจ
ที่จะยกย่องเชิดชู และขอมอบรำงวัลเมืองดีเด่นให้แก่ เทศบาลเมืองทุ่งสง ในฐานะ
เมืองสร้างสรรค์ด้วยภูมิ-เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม มำ ณ ที่นี้
5 | FURD Cities Monitor January 2019 FURD Cities Monitor January 2019 | 6
เมืองทุ่งสง
มหายุทธศาสตร์การขนส่งของภาคใต้
ทุ่งสง ยุทธศาสตร์ชุมทางของภาคใต้
ทุ่งสง เป็นอำเภอที่มีควำมเจริญเป็นอันดับสองของจังหวัดนครศรีธรรมรำช พื้นที่แห่งนี้เห็นภำพ
ของชุมชน เริ่มปรำกฏชัดขึ้นเมื่อรำว 500 ปี แต่คำว่ำอำเภอทุ่งสง เริ่มปรำกฏเป็นทำงกำรเมื่อ 120 ปี
ก่อน ทุ่งสงมีสภำพภูมิศำสตร์พื้นที่ที่ดีมำก เนื่องจำกตั้งอยู่ตรงกลำงของภำคใต้ สำมำรถเชื่อมได้ทั้ง
ภำคใต้ตอนบนสุดและภำคใต้ตอนล่ำงสุด ซึ่งที่ตั้งนี้ ต่อมำได้กลำยเป็นและเป็นจุดศูนย์กลำงคมนำคม
ทำงบกทั้งรถยนต์และรถไฟ
ภาพ ที่ตั้งของทุ่งสงอันอยู่กึ่งกลางของภาคใต้
ที่มำ: www.google.com
////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////
7 | FURD Cities Monitor January 2019
..............................................
ประวัติศาสตร์การค้าขายของเมือง
เหตุที่เรียกว่ำ ทุ่งสงนั้น ไม่มีหลักฐำนปรำกฏแน่ชัดว่ำเริ่มมำ
จำกเมื่อใด แต่คำดว่ำน่ำจะเกิดจำกประวัติศำสตร์กำรค้ำขำยของ
เมืองที่มีมำตั้งแต่สมัยในอดีต คนในแถบนี้มีกำรค้ำขำยกัน โดยเฉพำะ
ระหว่ำงชำวเมืองทุ่งสงและชำวตรัง ชุมชนสองฝั่งแม่น้ำและคลอง
สำขำก็ค่อยๆขยำยตัวขึ้น และพัฒนำเป็นชุมชนใหญ่ ทุ่งสงไม่ได้เป็น
เพียงศูนย์กระจำยสินค้ำแค่ในประเทศ แต่ยังพบอีกว่ำมีกำรค้ำขำย
ระหว่ำงประเทศด้วย พื้นที่บริเวณนี้จึงมีชื่อว่ำ “ทุ่งส่ง” (สำเนียง
ท้องถิ่นเรียก “ทุ่งสง”)
ในช่วงปี 2355 – 2380 คำดกันว่ำทุ่งสงเป็นเสบียงเพื่อ
สงครำมเมืองไทรบุรี ทุ่งสงมีบทบำทในกำรส่งสินค้ำไปยังเมืองปีนัง
และเมืองกันตัง สมัยนั้นทุ่งสงเป็นตลำดค้ำโคกระบือ และส่งสินค้ำ
ข้ำวของเครื่องใช้ เช่น หนังวัว หนังควำย ) แก่ทหำรของเจ้ำพระยำ
นคร (น้อย) และต่อเรือรบเพื่อทำสงครำมกับเมืองไทยบุรี
ทุ่งสงยังได้ทำกำรค้ำขำยกับจีนด้วย ในสมัยนั้นจีนได้ส่งคนมำ
ติดต่อทำกำรค้ำขำยกับสยำม พ่อค้ำทุ่งสงจึงเดินทำงติดต่อและทำมำ
ค้ำขำยอย่ำงใกล้ชิดกับเมืองกันตัง ซึ่งเป็นเมืองท่ำค้ำขำยทำงทะเลกับ
จีน ทุ่งสงจึงมีเศรษฐกิจดีขึ้นจำกกำรส่งสินค้ำของป่ำ สมุนไพร เนื้อ
และหนังสัตว์ไปยังเมืองกันตัง และแลกเปลี่ยนสินค้ำกับจีนผ่ำน
กำรค้ำขำยแลกเปลี่ยนทำงเมืองกันตัง หลังจำกสมัยรัชกำลที่ 3 แล้ว
กำรค้ำกับจีนลดน้อยลง ทุ่งสงหันมำค้ำขำยกับชำวตะวันตกมำกขึ้น
มีกำรบรรทุกข้ำว รังนก ดีบุก และช้ำงส่งไปขำยที่เกำะหมำก (ปีนัง)
ลังกำ อีกทั้งยังส่งเรือไปซื้อสินค้ำที่เกำะหมำกด้วย
แผนที่การค้าขายในอดีตของทุ่งสง
ภำยใต้กรอบสีแสดง แสดงตำแหน่งท่ำเรือส่งสินค้ำจำกเมืองทุ่งสงไปยัง
เมืองตรังและเมืองกันตัง เพื่อจำหน่ำยไปยังปีนัง ลังกำ และอินเดีย
(ที่มำ: พันเอกชุมพล จินดำโชติ , 2553)
ชุมทางการคมนาคม : ชุมทางรถไฟทุ่งสง
ในสมัยรัชกำลที่ 5 ที่มีกำรสร้ำงเส้นทำงรถไฟทั่วประเทศ
สำหรับภำคใต้ให้คณะวิศวกรสร้ำงเส้นทำงรถไฟ และในจุดทำงแยก
ที่ไปตรังให้ระบุและปักหมุดไว้ว่ำ “ชุมทำงทุ่งสง” ปัจจุบันอำเภอทุ่ง
สงแทบจะเรียกได้ว่ำเป็น ศูนย์กลำงกำรเดินทำงรถไฟในภำคใต้
ตอนกลำง ก่อนลงไปภำคใต้ตอนล่ำง ทุกๆ กำรเดินรถไฟ จะต้อง
ผ่ำนชุมทำงทุ่งสงเพื่อเป็นจุดเปลี่ยน/ ผลัดเวรพนักงำนกำรรถไฟ จุด
พักระหว่ำงกำรเดินทำง จุดเชื่อมต่อที่สำคัญของกำรเดินทำงโดย
รถไฟ จุดเติมน้ำมันหัวรถจักร เติมน้ำประปำ และสิ่งอำนวยควำม
สะดวก สำธำรณูปโภคต่ำงๆ นอกจำกนี้ ที่สำคัญ ยังเป็น จุดขนถ่ำย
กระจำยสินค้ำ และศูนย์กลำงกำรบริกำรรถไฟที่สำคัญอีกหลำยๆ
อย่ำง
ภาพแผนที่การเดินทางรถไฟสายใต้
ในวงกลมสีแดงคือชุมทำงสถำนีทุ่งสงที่เชื่อมรถไฟภำคใต้ตอนบนและ
ตอนล่ำง อย่ำงสถำนีกันตัง มำบรรจบกับเส้นทำงรถไฟที่สร้ำงมำจำกสถำนี
เพชรบุรี เพื่อเชื่อมกันที่ทุ่งสงก่อนจะไปยังพัทลุงและหำดใหญ่
(ที่มำ: ศุลีมำน วงศ์สุภำพ , 2547)
FURD Cities Monitor January 2019 | 8
..............................................
ญี่ปุ่น ยกพลที่ทุ่งสงในสงครามหาเอเชียบูรพา
ช่วงสงครำมโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นเองก็เห็น
ควำมสำคัญของทุ่งสง มีกำรยกพลขึ้นบกที่ตลำดท่ำ
แพ เพื่อคุมสถำนีชุมทำงทุ่งสงหวังจะรวมพลเคลื่อน
เข้ำกรุงเทพฯ เมื่อกองกำลังญี่ปุ่นมำตั้งฐำนที่มั่นที่ทุ่ง
สง ได้พยำยำมควบคุมและคุ้มครองเส้นทำงคมนำคม
ทำงรถไฟอย่ำงเต็มควำมสำมำรถ เพรำะเป็นจุด
ยุทธศำสตร์สำคัญในกำรส่งกำลังบำรุงกำรขนย้ำย
เก็บวัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนอำวุธยุทโธปกรณ์ไว้ที่นี่
หัวรถจักรที่ใช้ในสมัยนั้นปรำกฏว่ำชุมทำงทุ่งมีมำก
ที่สุดในภำคใต้ และยังมีโรงซ่อมขนำดใหญ่ ซึ่งมี
ช่ำงฝีมือดีอยู่หลำยนำย ทหำรญี่ปุ่นจึงทำทุกทำงที่จะ
รักษำหัวรถจักรไว้ใช้งำนให้นำนที่สุด จำกเหตุกำรณ์
นี้ทำให้ทุ่งสงเป็นสถำนีเดียวในภำคใต้ที่มีโรงซ่อมหัว
รถจักรอยู่ด้วย
ทุ่งสง เมืองเศรษฐกิจและศูนย์กลางของภาคใต้
ทุ่งสง ที่ผ่ำนมำถือได้ว่ำเป็นเมืองเศรษฐกิจ
ขนำดใหญ่ของภำคใต้ตอนกลำง เมืองมีควำมรุ่งเรือง
มำกในช่วงที่รถไฟเป็นกำรคมนำคมหลักของประเทศ
รถไฟสถำนีทุ่งสงจึงกลำยเป็น “สถำนีชุมทำง” เป็น
ศูนย์กลำงสินค้ำเกษตรอย่ำงยำงแผ่น สินแร่จำก
เหมืองรอบบริเวณ ผลิตภัณฑ์จำกโรงปูนซิเมนต์ทุ่งสง
และนักเดินทำงมำขึ้นรถไฟจำนวนมำก – ไม่ว่ำจะ
ล่องใต้ หรือขึ้นเหนือ ทำให้ทุ่งสงก็กลำยเป็น
ศูนย์กลำงควำมเจริญอีกแห่งหนึ่งที่เติบโตอย่ำง
รวดเร็ว ทั้งด้ำนเศรษฐกิจ อุตสำหกรรม กำรศึกษำ
และวัฒนธรรม แม้ว่ำกำรเดินทำงรถไฟไม่คึกคัก
เหมือนแต่ก่อน มีผลทำให้กำรขนส่งสินค้ำหรือ
เศรษฐกิจในทุ่งสงซบเซำลงบ้ำง ไม่คึกคักเหมือนเคย
แต่กำรเป็นเมืองใหญ่ และพึ่งพิงเศรษฐกิจหลำยด้ำน
และกำรพัฒนำเมืองอย่ำงแข็งขันภำยใต้กำรนำของ
เทศบำลเมืองทุ่ง ทำให้ทุ่งสงวันนี้ก็ยังคงเป็นเมือง
ใหญ่ เมืองเศรษฐกิจสำคัญมำกทั้งในปัจจุบันและ
อนำคต
...................................
9 | FURD Cities Monitor January 2019
ศูนย์กระจายสินค้า กระตุ้นเศรษฐกิจทุ่งสง
ทุ่งสงเป็นเมืองชุมทำงระบบรำงเมื่อร้อยปี
ก่อน เป็นแหล่งส่งออกแร่ดีบุกจำกทุ่งสงไปปีนังผ่ำน
ท่ำเรือกันตัง เรำต้องมองย้อนไปถึงประวัติศำสตร์เมือง
ทุ่งสงว่ำ เดิมทำไมเรำถึงเป็นชุมทำง ทำไมเรำมี
ธนำคำรสยำมกัมมำจลเป็นแห่งแรกของภำคใต้ นั่น
แสดงให้เห็นว่ำภูมิศำสตร์ของเมืองทุ่งสงที่เป็นสะดือ
ของภำคใต้ คืออยู่กึ่งกลำงของภำคใต้ คั่นระหว่ำง
คำบสมุทรอันดำมันและอ่ำวไทยพอดี กำรขนส่งระบบ
รำงที่เขำสร้ำงไว้แล้ว ถ้ำได้รับกำรบูรณะให้สมบูรณ์
ร้อยเปอร์เซ็นต์ เมืองทุ่งสงก็จะเจริญขึ้นมำก ท้องถิ่น
เล็งเห็นโอกำสดังกล่ำว จึงเสนอให้ใช้ที่ดินกำรรถไฟ
ทั้งหมด 85 ไร่ ทำเป็นศูนย์กระจำยสินค้ำภำคใต้ขึ้นมำ
โดยใช้งบประมำณกลุ่มจังหวัดเป็นหลักและมีบริษัท
ศรีตรังเป็นผู้สัมปทำนกำรบริหำรจัดกำร
ในปัจจุบัน โครงกำรเปิดให้บริกำรไปแล้ว 2
ระยะ คือ ระยะที่ 1 เปิดให้เช่ำบริหำรจัดกำรลำนวำง
ตู้คอนเทนเนอร์ เมื่อวันที่ 13 กรกฎำคม พ.ศ. 2559
และระยะที่ 2 จังหวัดนครศรีธรรมรำชและเทศบำล
เมืองทุ่งสงมีกำรลงนำมในสัญญำเปิดให้บริกำรโกดัง
ศูนย์กระจำยสินค้ำภำคใต้ – ทุ่งสง เมื่อวันที่ 29
มกรำคม พ.ศ. 2561 ขณะนี้กำลังดำเนินกำรในระยะ
ที่ 3 เทศบำลเมืองทุ่งสงกำลังศึกษำและออกแบบ
ธุรกิจ เพื่อกำรพัฒนำให้ทุ่งสงเป็นศูนย์กระจำยสินค้ำ
ฮำลำล ครบวงจรแห่งแรกของประเทศไทย ในด้ำน
กำรจัดสรรรำยได้ โครงกำรระยะที่หนึ่ง ทำงบริษัท
ศรีตรังจะแบ่งกำไรสุทธิมำให้เทศบำลในสัดส่วนไม่
น้อยกว่ำร้อยละ 37 ต่อปี ส่วนโครงกำรระยะที่สอง
ทำงบริษัทจะแบ่งรำยได้ในกำรให้บริกำรคลังสินค้ำ
ก่อนหักค่ำใช้จ่ำยไม่น้อยกว่ำร้อยละ 30 ต่อปี จำกนั้น
เทศบำลเมืองทุ่งสงจะนำรำยได้เหล่ำนั้นเข้ำกองคลัง
ของเทศบำล
ผลกำรดำเนินงำนเมื่อปี 2560 ศูนย์กระจำย
สินค้ำมีตู้คอนเทนเนอร์วนเวียนเข้ำมำกว่ำ 8,083 ตู้
เพื่อเตรียมขนขึ้นรถไฟส่งต่อไปที่สถำนีรถไฟกันตัง ซึ่ง
ขนส่งประมำณวันละ 1 เที่ยว เที่ยวละประมำณ 40 ตู้
โดยสินค้ำส่วนใหญ่เป็นไม้ยำงพำรำกับยำงพำรำ ที่
ส่งออกตลำดต่ำงประเทศ โดยเฉพำะจีน ยุโรปและ
ญี่ปุ่น อย่ำงไรก็ตำม ทุกวันนี้กำรขนส่งก็ยังใช้ถนนเป็น
ส่วนมำก ทำงเทศบำลจึงพยำยำมสนับสนุนเอกชนให้
หันมำใช้ระบบรำงตลอดช่วงเวลำที่ผ่ำนมำ
ชุมทางทุ่งสง
สะพานเชื่อมเศรษฐกิจโลก
FURD Cities Monitor January 2019 | 10
ส่วนกลางต้องเสริมท้องถิ่น เชื่อมโยงเศรษฐกิจประเทศ
ที่ผ่ำนมำ โครงกำรที่ดำเนินกำรจำกล่ำงขึ้นบน (Bottom-Up
Policy) มักถูกส่วนกลำงมองว่ำไม่ใช่นโยบำยของเขำ เพรำะเขำเห็นว่ำ
ท้องถิ่นดำเนินกำรเองได้ ส่วนกลำงจึงปล่อยปะละเลย ทั้งที่ถ้ำหำก
ส่วนกลำงช่วยเมืองทุ่งสงในเรื่องกำรวำงระบบรำงในระดับประเทศแล้ว
โครงกำรนี้จะไม่ได้ผลักเพียงกำรส่งออกแค่ในทุ่งสง แต่ยังสำมำรถ
เชื่อมโยงกำรส่งออกระหว่ำงภูมิภำคในประเทศและอำจส่งต่อออก
ต่ำงประเทศได้ด้วย เช่น น้ำตำลจำกอีสำน ข้ำวสำรจำกภำคเหนือ ก็จะ
ขนส่งลงมำทุ่งสงผ่ำนระบบรำงได้ง่ำยขึ้น นอกจำกนี้ กำรสร้ำงควำม
เชื่อมั่นให้ผู้ประกอบกำรนั้น ภำครัฐต้องสนับสนุน มิใช่ปล่อยไปตำม
ยถำกรรมให้เขำสู้ด้วยตัวเอง บ่อยครั้งที่ภำคเอกชนเสนอโครงกำรที่ดีมี
ประโยชน์แต่ขำดเจ้ำภำพ ส่วนหนึ่งเพรำะข้ำรำชกำรระดับสูงอย่ำงผู้ว่ำ
รำชกำรจังหวัดและนำยอำเภอก็ไม่คิดจะอยู่นำน ปรำรถนำแต่กำร
เลื่อนตำแหน่งไปเป็นอธิบดี รองปลัด ส่งผลให้กว่ำท้องถิ่นจะปรับ
ควำมคิดปรับควำมเข้ำใจกับคนจำกส่วนกลำงได้ เขำก็ย้ำยไปที่อื่นเสีย
แล้ว จึงสรุปได้ว่ำ แม้ประเทศเรำจะมีควำมพร้อมสูง แต่ยังขำดควำม
ต่อเนื่องของรำชกำร
เทศบำลเมืองทุ่งสงจึงถือเป็นท้องถิ่นต้นแบบที่มีควำมคิดริเริ่ม
ฟื้นฟูระบบรำงในอดีตแล้วพัฒนำให้เป็นศูนย์กระจำยสินค้ำ สำมำรถทำ
หน้ำที่เป็นผู้ประสำนงำนรอบทิศและดึงศักยภำพท้องถิ่นจำกกำรเป็น
“เมืองชุมทำง” ออกมำ ทำให้เกิดระบบขนส่งสินค้ำหลักที่มี
ประสิทธิภำพ ลดต้นทุน กระตุ้นเศรษฐกิจ เรียกได้ว่ำเป็นกำรเปลี่ยน
บทบำทจำก “ช่ำงปะผุ” เป็น “ผู้จัดกำรเมือง” ได้อย่ำงแท้จริง ที่
สำคัญ เทศบำลเมืองทุ่งสงยังสำมำรถเปลี่ยนแนวคิดจำกเทศบำลที่แบ
มือรองบจำกส่วนกลำงมำเป็นเทศบำลที่สำมำรถหำรำยได้ด้วยตัวเองได้
อย่ำงยั่งยืน
11 | FURD Cities Monitor January 2019 FURD Cities Monitor January 2019 | 12
ชุมชนพลิกถุง
ทุ่งสงพลิกโลก
พลิกถุงพลิกโลก
ปัญหำขยะเป็นสิ่งที่เทศบำลเมืองทุ่งสงให้
ควำมสำคัญมำตลอด จนทุ่งสงได้รำงวัลสิ่งแวดล้อม
ระดับประเทศ จำกกำรทำตำมตัวชี้วัดครบถ้วน แต่ผล
ปรำกฏว่ำ ขยะกลับไม่ลดลงและเพิ่มขึ้นจำกเดิม 30 ตันเป็น
50 ตันเสียด้วยซ้ำ โครงกำรพลิกถุงพลิกโลกจึงถือกำเนิดขึ้น
ใน พ.ศ. 2559 เริ่มจำกกำรเชิญ ดร.ไพบูลย์ โพธิ์สุวรรณ มำ
ลงพื้นที่เป็นวิทยำกรให้ควำมรู้และแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษำ
โครงกำร ทำให้เกิดกำรปรึกษำแลกเปลี่ยนหำสำเหตุกัน จน
เทศบำลตัดสินใจว่ำจะเลือกใช้แนวคิดวิธีกำรของ ดร.ไพบูลย์
มำแก้ปัญหำเรื่องขยะ
หลังจำกคัดแยกเศษอำหำรออกไปแล้ว ขยะที่
เทศบำลเล็งเห็นว่ำเป็นปัญหำอันดับต้นๆ คือ ถุงพลำสติก
และโฟม เพรำะมีจำนวนมำกที่สุดและใช้เวลำย่อยสลำยนำน
ที่สุด อีกทั้งขยะเหล่ำนี้ต่ำงเป็นมลภำวะที่ทำให้เกิดมะเร็ง ซึ่ง
เป็นโรคที่คนไทยป่วยและตำยมำกที่สุด เทศบำลจึงคิดค้น
วิธีกำรกำจัดถุงพลำสติกอย่ำงง่ำยๆ เพียงแค่นำถุงพลำสติก
มำพลิกล้ำงทั้งสองด้ำนแล้วเอำไปตำกแดดขจัดควำมชื้นแล้ว
ส่งให้เทศบำล เทศบำลก็จะนำไปรวมกับขยะทั้งหมดที่
สำมำรถนำไปแปรรูปเป็นเชื้อเพลิงได้ ส่งไปที่โรงแยกขยะ
แล้วเข้ำสู่กระบวนกำรแปรรูปให้เป็นขยะเชื้อเพลิง (Refuse
Derived Fuel; RDF) แล้วส่งต่อให้โรงโม่ปูนบริษัท ปูนซิ
เมนต์ไทย จำกัด (มหำชน) หรือ SCG เพื่อนำไปทำเป็น
เชื้อเพลิงต่อไป

13 | FURD Cities Monitor January 2019
โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)
หลังจำกเทศบำลเมืองทุ่งสงดำเนินโครงกำร
พลิกถุงพลิกโลกมำระยะหนึ่ง ใน พ.ศ. 2560
เทศบำลก็ประกำศให้โรงเรียนเทศบำลวัดชัยชุมพล
เป็นโรงเรียนต้นแบบพลิกถุงพลิกโลก และในปีถัดมำ
ได้ส่งเข้ำประกวดโครงกำรโรงเรียนปลอดขยะ ที่จัด
โดยกรมส่งเสริมคุณภำพสิ่งแวดล้อม กระทรวง
ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ที่ให้ควำมสำคัญ
กับแนวคิด “Zero Waste” เป็นแนวคิดกำรจัดกำร
ขยะตั้งแต่ต้นทำงคือลดกำรเกิดขยะ ทำให้ขยะเหลือ
น้อยที่สุด ไปจนถึงกำรจัดกำรขยะที่เหลือได้อย่ำงมี
ประสิทธิภำพ ซึ่งสอดคล้องกับโครงกำรพลิกถุงพลิก
โลกพอดี ผลปรำกฏว่ำ โรงเรียนเทศบำลวัดชัยชุมพล
ได้คะแนนระดับดีเยี่ยมอันดับหนึ่งของประเทศ
ประจำปี 2561
ควำมสำเร็จส่วนหนึ่งเป็นเพรำะนักเรียน
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกำรบริโภค หันมำใช้แก้วน้ำ
ส่วนตัวแทนแก้วพลำสติก ใช้จำนชำมที่ถำวรแทน
ถ้วยโฟม และใช้ภำชนะที่ทำจำกใบตองแทน
ถุงพลำสติก และที่สำคัญคือกำรมีโครงกำรพลิกถุง
พลิกโลก ที่ทำให้นักเรียนรู้จักคัดแยกขยะรีไซเคิล
ขยะอันตรำย และขยะย่อยสลำยได้ยำกอย่ำงเช่น
ถุงพลำสติก แล้วส่งต่อให้เทศบำล กิจกรรมเหล่ำนี้ทำ
ให้โรงเรียนเทศบำลวัดชัยชุมพล สำมำรถลดขยะจำก
วันละ 500 กิโลกรัม เหลือเพียง 50 กิโลกรัมเท่ำนั้น
โรงเรียนแห่งนี้จึงมีส่วนช่วยสร้ำงชื่อเสียงให้เมืองทุ่ง
สงในเรื่องกำรจัดกำรขยะตั้งแต่ต้นทำง รวมทั้งเป็น
แบบอย่ำงให้กับนักเรียน บุคลำกรทำงกำรศึกษำใน
กำรนำควำมรู้และประโยชน์ที่ได้จำกกำรคัดแยกขยะ
ไปเผยแพร่ให้กับครอบครัวต่อไปด้วย
โดยภำพรวม หลังจำกกำรรณรงค์ด้วยวิธี
ดังกล่ำว เทศบำลทุกกองฝ่ำย โรงเรียนในสังกัด
เทศบำลทั้งหมดไปจนถึงชุมชนก็ให้ควำมร่วมมือ
ปฏิบัติตำม จนทำให้ในระยะเวลำ 8 เดือน เทศบำล
สำมำรถลดปริมำณขยะไปได้มำกกว่ำร้อยละ 50 จำก
50 ตันต่อวันเหลือเพียง 25 ตันต่อวัน อีกทั้งจำกเดิม
เทศบำลต้องเสียค่ำฝังกลบขยะ 50 ตันต่อวันเป็น
มูลค่ำกว่ำ 4.8 ล้ำนบำทต่อปี แต่ปัจจุบันเสียแค่ 1.2
ล้ำนบำทต่อปีเท่ำนั้น ทำให้เทศบำลเกิดแรงบันดำล
ใจในกำรผลักดันโครงกำรที่ไม่ได้เป็นแค่กิจกรรม
สร้ำงภำพชั่วข้ำมคืน
FURD Cities Monitor January 2019 | 14
ภาพ โปสเตอร์รณรงค์ร่วมกันแยกขยะในโครงการ พลิกถุง พลิกโลก
ที่มำ: Facebook fanpage เทศบำลเมืองทุ่งสง
15 | FURD Cities Monitor January 2019
ทุ่งสง โมเดลการจัดการ
ทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ
ทุ่งสงเป็นเมืองผ่ำนของคลองหลำยสำย เช่น คลองท่ำเลำ คลองท่ำโหลน คลองท่ำแพ และ
คลองวังหีบ แม้จะมีบทบำทในทำงเศรษฐกิจในอดีต แต่กำรเป็นเมืองน้ำ ทำให้ทุ่งสงเผชิญปัญหำอุทัก
ภัยมำตลอด มีน้ำท่วมทุกปี ในประวัติศำสตร์ทุ่งสงมีอุทักภัยครั้งใหญ่ประมำณ 8 ครั้ง โดยเฉพำะใน
พ.ศ.2548-2549 ทุ่งสงเกิดภัยพิบัติน้ำท่วมครั้งใหญ่ มีน้ำหลำก เกิดขยะจำนวนมำก สร้ำงควำม
เสียหำยทำงเศรษฐกิจมำกถึง 250 ล้ำนบำทเลยทีเดียว (ข้อมูลจำกชมรมธนำคำรอำเภอทุ่งสง)
ภาพ ภูมิประเทศและลุ่มแม่น้้าสาขาตรัง
ที่มำ: เทศบำลเมืองทุ่งสง
ภาพปัญหาอุทกภัยในพื้นที่อ้าเภอทุ่งสงเมื่อ 15 ธ.ค. 2548 และ 14 ก.พ. 2549
                    

FURD Cities Monitor January 2019 | 16
การจัดการทรัพยากรน้้าแบบบูรณาการของเมืองทุ่งสง
เทศบำลเมืองทุ่งสงใช้แนวคิด “การท้างานแบบ
บูรณาการ” ลุกขึ้นมำเป็นหน่วยงำนหลักประสำนงำน
ร่วมกับหน่วยงำนทุกภำคส่วน ทำให้ทุกภำคีของเมืองทั้ง
หน่วยงำนรำชกำร ส่วนภูมิภำค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสำหกิจ
นักวิชำกำร สถำบันกำรศึกษำ รวมถึงภำคประชำชน และ
ภำคีที่เกี่ยวข้อง
ทุกฝ่ำยที่เกี่ยวข้องภำยใต้กำรประสำนงำนและจัดกำร
ของเทศบำลเมืองทุ่งสง ได้ดำเนินกำรขุดลอกและกำรขยำยคู
คลองกำรตักขยะ และตะกอนที่มำกับน้ำรื้อสิ่งกีดขวำงต่ำงๆ
ทำแก้มลิง ผลจำกกำรทำงำนแบบบูรณำกำรนี้ เกิด
ควำมสำเร็จมำก ทำให้ปี 2550 – 2553 เมืองทุ่งสงไม่มี
ปัญหำน้ำท่วมในตัวเมืองและย่ำนเศรษฐกิจอีกต่อไป ทั้งที่
ปริมำณน้ำฝนมำกกว่ำปีก่อน นอกจำกนี้ยังมีกำรจัดกำร
ทรัพยำกรน้ำคลองท่ำแพร่วมกับชุมชน วัด และโรงเรียนทุก
ขั้นตอน สร้ำงนวัตกรรมเขื่อนมีชีวิตโดยใช้ไม้ไผ่และหญ้ำ
แฝก จัดรูปที่ดิน ทั้งหมดนี้เป็นกำรทำงำนบนฐำนงำนวิจัย
และภูมิปัญญำแบบท้องถิ่นทั้งสิ้น ทำให้คลองท่ำแพลดกำร
ท่วม มีสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดกิจกรรมด้ำนอนุรักษ์อีก
มำกมำย ทำให้กลำยเป็นต้นแบบกำรอนุรักษ์คลอง และ
ขยำยผลไปยังกลุ่มเครือข่ำยคลองท่ำโหลน คลองท่ำเลำ
ต่อไป
17 | FURD Cities Monitor January 2019
สู่การจัดการทรัพยากรน้้าลุ่มแม่น้้าตรัง : วาระของ
ภูมิภาค
ในปี 2554 ได้เกิดภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่อีกครั้ง
เป็นสัญญำณเตือนภัยว่ำกำรแก้ไขปัญหำทรัพยำกรน้ำ
จะต้องทำทั้งระบบต้นน้ำ กลำงน้ำ และปลำยน้ำ ทำให้เกิด
กำรเชื่อมกับอีก 2 จังหวัด คือ นครศรีธรรมรำชและตรัง ใน
ฐำนะเมืองที่แม่น้ำไหลผ่ำนเช่นเดียวกัน รวมตลอด
นักวิชำกำร องค์ในและต่ำงประเทศ เช่น IUWP จำก
เนเธอร์แลนด์ IUCN และสถำบันกำรศึกษำในพื้นที่และ
นอกพื้นที่ลุ่มน้ำ ขยำยผลสู่ควำมร่วมมือ “การบริหาร
จัดการน้้าของลุ่มน้้าสาขาแม่น้้าตรังแบบบูรณาการ” ขึ้น
ปลำยปี 2554 ให้กลำยเป็น “วำระระดับภูมิภำค” ที่ทุก
ภำคส่วนได้เข้ำมำมีบทบำทเกี่ยวข้อง เทศบำลเมืองทุ่งสงจึง
ทำหน้ำที่ดำเนินกำรประสำนงำนและจัดประชุมสัมมนำ
จำนวน 13 ครั้ง จนได้แผนยุทธศำสตร์กำรทำงำนที่ชัดเจน
และจะดำเนินกำรต่อจำกนี้ และหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำกำร
ทำงำนแบบบูรณำกำรทั้งระดับภูมิภำคจะสำมำรถแก้ไข
ปัญหำทรัพยำกรน้ำอย่ำงยั่งยืนได้
ภาพ แผนการด้าเนินจัดการ ต้นน้้า กลางน้้า ปลายน้้า
ที่มำ: เทศบำลเมืองทุ่งสง
FURD Cities Monitor January 2019 | 18
ความส้าเร็จบนกลไกของราชการและความเข้าใจ
ธรรมชาติในองค์รวม
บทเรียนวิธีกำรทำงำนของกำรจัดกำรลุ่มแม่น้ำตรังที่
สำคัญอีกอย่ำงหนึ่ง คือ ควำมเข้ำใจและทำงำนทีเชื่อมกับ
ระบบรำชกำรอย่ำงดี โดยปกติเรำมักจะเห็นบทบำทของ
ท้องถิ่น เอกชน หรือชุมชนเป็นตัวนำ โดยที่หน่วยงำนรัฐมัก
เป็นเพียงผู้สนับสนุนและไม่มีบทบำทโดดเด่น แต่กำรทำงำน
ครั้งนี้ ได้ผ่ำนกำรประชุม ดูงำน ทุกหน่วยงำน กำรให้บทบำท
ทุกภำคส่วน ดึงศักยภำพของข้ำรำชกำร โดยเทศบำลเป็น
เพียงผู้ประสำนและจัดกำรเท่ำนั้น ซึ่งผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
นำยอำเภอ เป็นประธำนและผู้นำในคณะทำงำน กำรตั้ง
คณะกรรมกำรที่ชัดเจน กำรให้ควำมคิดและรับผิดชอบของแต่
ละหน่วยงำน และควำมคิดเห็นที่ตกผลึกไปให้ทิศทำงเดียวกัน
แล้ว แม้ว่ำแต่ละหน่วยงำนจะมีพันธกิจที่แตกต่ำงกัน และเมื่อ
จุดมุ่งหมำยไปให้ทิศทำงเดียวกัน ก็ย่อมทำให้กำรจัดกำรและ
พัฒนำเป็นไปให้ทิศทำงเดียวกัน นับว่ำเป็นผลงำนและ
ควำมสำเร็จของกำรมีส่วนร่วม ระหว่ำงท้องถิ่น ส่วนกลำง
ส่วนภูมิภำค นักวิชำกำร องค์กรต่ำงประเทศ และภำคชุมชน
และประชำสังคม ที่เข้ำมำทำงำนในลักษณะองค์รวมหรือ
บูรณำกำรได้
เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง
ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์
เมืองขวางน้า
ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า
ชุดหนังสือเมือง
หนังสือออกใหม่
สั่งซือได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ)
3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies
เมืองนิยม
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ราชาธิปไตย
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
เมือง กิน คน
ผศ.ดร. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์
ตะวันออก—ตะวันตก
ใครสร้างโลกสมัยใหม่
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริของ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก
ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่
ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้
เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ
จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่
และระดับประเทศ
ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง
ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี
ประสิทธิภาพ
ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ
หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย
การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่
ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย
การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง
ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน
อนาคตสืบไป
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)

FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD_RSU
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD_RSU
 
ย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลPattie Pattie
 
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...Dr.Choen Krainara
 
Presentation1 ป่าในเมือง.pdf
Presentation1 ป่าในเมือง.pdfPresentation1 ป่าในเมือง.pdf
Presentation1 ป่าในเมือง.pdfWarongWonglangka
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD_RSU
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...FURD_RSU
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...Kanjana thong
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD_RSU
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/pntcz
 

Semelhante a FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019) (18)

FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
 
ย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดล
 
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
 
Presentation1 ป่าในเมือง.pdf
Presentation1 ป่าในเมือง.pdfPresentation1 ป่าในเมือง.pdf
Presentation1 ป่าในเมือง.pdf
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/
 

Mais de FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD_RSU
 

Mais de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
 

FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)

  • 1. ปี ที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกรำคม 2562 ต้นแบบด้านการสร้างสรรค์ด้านภูมิ-เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เมืองดีเด่น ปี 2561
  • 2. บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม ออกแบบและจัดรูปเล่ม ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม ภาพปก ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม ภาพในเล่ม Flaticon.com Freepik.com อรุณ สถิตพงศ์สถาพร www.facebook.com/เทศบาลเมืองทุ่งสง เผยแพร่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 CONTACT US www.furd.in.th Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864 E-mail: furd_2014@gmail.com สวัสดีปีใหม่ 2562 แก่ผู้อ่านทุกท่าน ช่วงเดือนธันวาคมปีที่ผ่านมา ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองได้ มอบรางวัล โครงการเมืองดีเด่น ประจาปี 2561 แก่ “เทศบาลเมืองทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช” ใน ฐานะเมืองแห่งการสร้างสรรค์ด้วยภูมิ-เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ในพิธีประสาทปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2561 Furd Cities Monitor ฉบับนี้จึงเป็นการสรุปเรื่องราวการพัฒนาของเมืองทุ่งสงทั้งในด้านการ กลายเป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้าของภาคใต้ รวมไปถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมผ่านโครงการพลิกทุ่งพลิก โลก และการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า ซึ่งจะช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงบริบทของเมืองทุ่งสง ได้เห็นแนวทาง ในการพัฒนาเมืองอย่างมั่นคงและยั่งยืน ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ รางวัลเมืองดีเด่น ปี 2561 เมืองทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมืองทุ่งสง มหายุทธศาสตร์การขนส่งของภาคใต้ ชุมทางทุ่งสง สะพานเชื่อมเศรษฐกิจโลก ชุมชนพลิกถุง ทุ่งสงพลิกโลก ทุ่งสง โมเดลการจัดการ ทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ
  • 3. 1 | FURD Cities Monitor January 2019 FURD Cities Monitor January 2019 | 2 ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มอบรางวัลโครงการเมืองดีเด่น ด้าน การสร้างสรรค์ด้วยภูมิ-เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ประจ้าปี 2561 แก่ เทศบาลเมืองทุ่งสง ในพิธี ประสาทปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยรังสิต วันที่ 16 ธันวาคม 2561 ทั้งนี้ศูนย์ศึกษามหานครเห็นว่า เทศบาล เมืองทุ่งสง มุ่งสานต่อแนวคิดและภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ด้วยยุทธวิธีใหม่ที่สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่และ การเปลี่ยนแปลงในภูมิภาค แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและยกระดับเศรษฐกิจเมือง ยกระดับท้องถิ่นสร้าง นวัตกรรมเข้าร่วมบริหารเศรษฐกิจภูมิภาค รางวัลเมืองดีเด่น เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อเป็นแรงกระตุ้นและสร้างความภูมิใจให้กับผู้สร้างบ้านแปงเมือง ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชสังคม ซึ่งด้าเนินการต่อเนื่องมากว่า 4 ปี เมืองดีเด่น ปี 2561 เมืองทุ่งสง เมืองแห่งการสร้างสรรค์ ด้วยภูมิ-เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม
  • 4. 3 | FURD Cities Monitor January 2019 เมืองทุ่งสง เมืองแห่งการสร้างสรรค์ ด้วยภูมิ-เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ทุ่งสง มีทำเลที่ตั้งเป็นเลิศอยู่กึ่งกลำงระหว่ำงทะเลอันดำมันกับอ่ำวไทย และ กึ่งกลำงของภำคใต้ ด้วยภูมิศำสตร์ที่อยู่ใกล้เทือกเขำนครศรีธรรมรำชอันเป็นแหล่งต้น น้ำ จึงมีลำน้ำหลำยสำขำไหลผ่ำนเมือง ในอดีตผู้คนจึงอำศัยกำรสัญจรทำงน้ำเป็นหลัก จนกลำยเป็นศูนย์กลำงกำรขนถ่ำยสินค้ำส่งออกทำงทะเล จึงมักเรียกบริเวณนี้ว่ำทุ่งส่ง สำเนียงใต้ออกเสียงว่ำ ทุ่งสง กำรสัญจรทำงน้ำลดบทบำทลง เมื่อรัชกำลที่ 5 ทรงให้ทุ่งสงเป็นชุมทำงรถไฟ ทุ่งสงกลำยเป็นศูนย์กลำงกำรเดินทำงของผู้คนและกำรขนส่งสินค้ำทำงรถไฟที่ใหญ่ ที่สุดของภำคใต้ ควำมรุ่งเรืองทำงกำรค้ำ ณ ทุ่งแห่งนี้ สะท้อนได้จำกกำรมีธนาคาร สยามกัมมาจลสำขำภูมิภำคแห่งแรกของไทยมำตั้งอยู่ติดสถำนีรถไฟทุ่งสง สมัย สงครำมโลกครั้งที่สองญี่ปุ่นเลือกทุ่งสงเป็นฐำนที่มั่นเพื่อใช้เป็นแหล่งซ่อมหัวรถจักร ใช้ ส่งกำลังบำรุง ยกระดับทุ่งสงให้มีศักยภำพซ่อมหัวรถจักรขนำดใหญ่เพียงแห่งเดียวของ ภำคใต้ FURD Cities Monitor January 2019 | 4 วันนี้รถไฟไม่ใช่เส้นทำงหลักในกำรเดินทำงของผู้คนอีกต่อไป เศรษฐกิจและวิถี ชีวิตคนทุ่งสงที่ต้องพึ่งพิงรถไฟได้ซบเซำลง แต่ด้วยมุมมองภูมิยุทธศำสตร์ ทุ่งสงยังคง เป็นยุทธภูมิด้ำนกำรคมนำคมที่สำคัญยิ่งในคำบสมุทรภำคใต้ เทศบำลเมืองทุ่งสง มุ่ง สำนต่อแนวคิดและภูมิปัญญำของบรรพบุรุษ ด้วยยุทธวิธีใหม่ที่สอดคล้องกับบริบทใน พื้นที่และกำรเปลี่ยนแปลงในภูมิภำค โดยกำร ... พลิกวิกฤตเป็นโอกาส ปรับเปลี่ยนโครงข่ำยรถไฟที่ยังคงอยู่ให้เป็น ศูนย์กลำงโลจิสติกส์ระบบรำง กระจำยสินค้ำภำคใต้ไปเชื่อมต่อเข้ำมำเลเซียและออกสู่ โลก เปิดโอกำสให้สินค้ำไทยและสินค้ำฮำลำลที่มีศักยภำพสำมำรถไปสู่ตลำดโลกได้ใน อนำคต ดำเนินกำรในนำม ศูนย์กระจำยสินค้ำภำคใต้ (Cargo Distribution Center- Thungsong) นับว่าเป็นนวัตกรรมการบริหารของท้องถิ่นที่ยกระดับตนเองขึ้นมามี บทบาทเข้าร่วมบริหารเศรษฐกิจภูมิภาค พลิกฟื้นระบบนิเวศ ด้วยภูมิประเทศที่ง่ำยต่อกำรเกิดน้ำหลำก ประกอบกับ กำรขยำยตัวของชุมชนเมือง ประสบภัยพิบัติน้ำท่วมใหญ่ 8 ครั้ง สร้ำงควำมเสียหำย ในย่ำนเศรษฐกิจอย่ำงมำก กลำยเป็นจุดเริ่มต้นที่เทศบำลอำสำเป็นแกนหลักของกำร แก้ปัญหำน้ำท่วมซ้ำซำก ประสำนข้ำมพื้นที่ตั้งแต่ต้นน้ำจนปลำยน้ำ ประสำนข้ำม หน่วยงำนทั้งในและนอกพื้นที่ ทั้งจำกหน่วยงำนรำชกำรทุกภำคส่วน ตลอดจนภำค ประชำสังคม และชุมชนที่เกี่ยวข้อง บูรณำกำรจัดกำรน้ำอย่ำงยั่งยืน แก้ปัญหำน้ำ หลำก ลดควำมเชี่ยวกรำก ขจัดมลพิษ ฟื้นระบบนิเวศกลำยเป็นแหล่งอำหำรธรรมชำติ ที่อุดมสมบูรณ์ หล่อเลี้ยงชุมชนจนทุกวันนี้ วันนี้ ทุ่งสง กลายเป็นทุ่งสวรรค์ ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต มีควำมภูมิใจ ที่จะยกย่องเชิดชู และขอมอบรำงวัลเมืองดีเด่นให้แก่ เทศบาลเมืองทุ่งสง ในฐานะ เมืองสร้างสรรค์ด้วยภูมิ-เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม มำ ณ ที่นี้
  • 5. 5 | FURD Cities Monitor January 2019 FURD Cities Monitor January 2019 | 6 เมืองทุ่งสง มหายุทธศาสตร์การขนส่งของภาคใต้ ทุ่งสง ยุทธศาสตร์ชุมทางของภาคใต้ ทุ่งสง เป็นอำเภอที่มีควำมเจริญเป็นอันดับสองของจังหวัดนครศรีธรรมรำช พื้นที่แห่งนี้เห็นภำพ ของชุมชน เริ่มปรำกฏชัดขึ้นเมื่อรำว 500 ปี แต่คำว่ำอำเภอทุ่งสง เริ่มปรำกฏเป็นทำงกำรเมื่อ 120 ปี ก่อน ทุ่งสงมีสภำพภูมิศำสตร์พื้นที่ที่ดีมำก เนื่องจำกตั้งอยู่ตรงกลำงของภำคใต้ สำมำรถเชื่อมได้ทั้ง ภำคใต้ตอนบนสุดและภำคใต้ตอนล่ำงสุด ซึ่งที่ตั้งนี้ ต่อมำได้กลำยเป็นและเป็นจุดศูนย์กลำงคมนำคม ทำงบกทั้งรถยนต์และรถไฟ ภาพ ที่ตั้งของทุ่งสงอันอยู่กึ่งกลางของภาคใต้ ที่มำ: www.google.com ////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////
  • 6. 7 | FURD Cities Monitor January 2019 .............................................. ประวัติศาสตร์การค้าขายของเมือง เหตุที่เรียกว่ำ ทุ่งสงนั้น ไม่มีหลักฐำนปรำกฏแน่ชัดว่ำเริ่มมำ จำกเมื่อใด แต่คำดว่ำน่ำจะเกิดจำกประวัติศำสตร์กำรค้ำขำยของ เมืองที่มีมำตั้งแต่สมัยในอดีต คนในแถบนี้มีกำรค้ำขำยกัน โดยเฉพำะ ระหว่ำงชำวเมืองทุ่งสงและชำวตรัง ชุมชนสองฝั่งแม่น้ำและคลอง สำขำก็ค่อยๆขยำยตัวขึ้น และพัฒนำเป็นชุมชนใหญ่ ทุ่งสงไม่ได้เป็น เพียงศูนย์กระจำยสินค้ำแค่ในประเทศ แต่ยังพบอีกว่ำมีกำรค้ำขำย ระหว่ำงประเทศด้วย พื้นที่บริเวณนี้จึงมีชื่อว่ำ “ทุ่งส่ง” (สำเนียง ท้องถิ่นเรียก “ทุ่งสง”) ในช่วงปี 2355 – 2380 คำดกันว่ำทุ่งสงเป็นเสบียงเพื่อ สงครำมเมืองไทรบุรี ทุ่งสงมีบทบำทในกำรส่งสินค้ำไปยังเมืองปีนัง และเมืองกันตัง สมัยนั้นทุ่งสงเป็นตลำดค้ำโคกระบือ และส่งสินค้ำ ข้ำวของเครื่องใช้ เช่น หนังวัว หนังควำย ) แก่ทหำรของเจ้ำพระยำ นคร (น้อย) และต่อเรือรบเพื่อทำสงครำมกับเมืองไทยบุรี ทุ่งสงยังได้ทำกำรค้ำขำยกับจีนด้วย ในสมัยนั้นจีนได้ส่งคนมำ ติดต่อทำกำรค้ำขำยกับสยำม พ่อค้ำทุ่งสงจึงเดินทำงติดต่อและทำมำ ค้ำขำยอย่ำงใกล้ชิดกับเมืองกันตัง ซึ่งเป็นเมืองท่ำค้ำขำยทำงทะเลกับ จีน ทุ่งสงจึงมีเศรษฐกิจดีขึ้นจำกกำรส่งสินค้ำของป่ำ สมุนไพร เนื้อ และหนังสัตว์ไปยังเมืองกันตัง และแลกเปลี่ยนสินค้ำกับจีนผ่ำน กำรค้ำขำยแลกเปลี่ยนทำงเมืองกันตัง หลังจำกสมัยรัชกำลที่ 3 แล้ว กำรค้ำกับจีนลดน้อยลง ทุ่งสงหันมำค้ำขำยกับชำวตะวันตกมำกขึ้น มีกำรบรรทุกข้ำว รังนก ดีบุก และช้ำงส่งไปขำยที่เกำะหมำก (ปีนัง) ลังกำ อีกทั้งยังส่งเรือไปซื้อสินค้ำที่เกำะหมำกด้วย แผนที่การค้าขายในอดีตของทุ่งสง ภำยใต้กรอบสีแสดง แสดงตำแหน่งท่ำเรือส่งสินค้ำจำกเมืองทุ่งสงไปยัง เมืองตรังและเมืองกันตัง เพื่อจำหน่ำยไปยังปีนัง ลังกำ และอินเดีย (ที่มำ: พันเอกชุมพล จินดำโชติ , 2553) ชุมทางการคมนาคม : ชุมทางรถไฟทุ่งสง ในสมัยรัชกำลที่ 5 ที่มีกำรสร้ำงเส้นทำงรถไฟทั่วประเทศ สำหรับภำคใต้ให้คณะวิศวกรสร้ำงเส้นทำงรถไฟ และในจุดทำงแยก ที่ไปตรังให้ระบุและปักหมุดไว้ว่ำ “ชุมทำงทุ่งสง” ปัจจุบันอำเภอทุ่ง สงแทบจะเรียกได้ว่ำเป็น ศูนย์กลำงกำรเดินทำงรถไฟในภำคใต้ ตอนกลำง ก่อนลงไปภำคใต้ตอนล่ำง ทุกๆ กำรเดินรถไฟ จะต้อง ผ่ำนชุมทำงทุ่งสงเพื่อเป็นจุดเปลี่ยน/ ผลัดเวรพนักงำนกำรรถไฟ จุด พักระหว่ำงกำรเดินทำง จุดเชื่อมต่อที่สำคัญของกำรเดินทำงโดย รถไฟ จุดเติมน้ำมันหัวรถจักร เติมน้ำประปำ และสิ่งอำนวยควำม สะดวก สำธำรณูปโภคต่ำงๆ นอกจำกนี้ ที่สำคัญ ยังเป็น จุดขนถ่ำย กระจำยสินค้ำ และศูนย์กลำงกำรบริกำรรถไฟที่สำคัญอีกหลำยๆ อย่ำง ภาพแผนที่การเดินทางรถไฟสายใต้ ในวงกลมสีแดงคือชุมทำงสถำนีทุ่งสงที่เชื่อมรถไฟภำคใต้ตอนบนและ ตอนล่ำง อย่ำงสถำนีกันตัง มำบรรจบกับเส้นทำงรถไฟที่สร้ำงมำจำกสถำนี เพชรบุรี เพื่อเชื่อมกันที่ทุ่งสงก่อนจะไปยังพัทลุงและหำดใหญ่ (ที่มำ: ศุลีมำน วงศ์สุภำพ , 2547) FURD Cities Monitor January 2019 | 8 .............................................. ญี่ปุ่น ยกพลที่ทุ่งสงในสงครามหาเอเชียบูรพา ช่วงสงครำมโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นเองก็เห็น ควำมสำคัญของทุ่งสง มีกำรยกพลขึ้นบกที่ตลำดท่ำ แพ เพื่อคุมสถำนีชุมทำงทุ่งสงหวังจะรวมพลเคลื่อน เข้ำกรุงเทพฯ เมื่อกองกำลังญี่ปุ่นมำตั้งฐำนที่มั่นที่ทุ่ง สง ได้พยำยำมควบคุมและคุ้มครองเส้นทำงคมนำคม ทำงรถไฟอย่ำงเต็มควำมสำมำรถ เพรำะเป็นจุด ยุทธศำสตร์สำคัญในกำรส่งกำลังบำรุงกำรขนย้ำย เก็บวัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนอำวุธยุทโธปกรณ์ไว้ที่นี่ หัวรถจักรที่ใช้ในสมัยนั้นปรำกฏว่ำชุมทำงทุ่งมีมำก ที่สุดในภำคใต้ และยังมีโรงซ่อมขนำดใหญ่ ซึ่งมี ช่ำงฝีมือดีอยู่หลำยนำย ทหำรญี่ปุ่นจึงทำทุกทำงที่จะ รักษำหัวรถจักรไว้ใช้งำนให้นำนที่สุด จำกเหตุกำรณ์ นี้ทำให้ทุ่งสงเป็นสถำนีเดียวในภำคใต้ที่มีโรงซ่อมหัว รถจักรอยู่ด้วย ทุ่งสง เมืองเศรษฐกิจและศูนย์กลางของภาคใต้ ทุ่งสง ที่ผ่ำนมำถือได้ว่ำเป็นเมืองเศรษฐกิจ ขนำดใหญ่ของภำคใต้ตอนกลำง เมืองมีควำมรุ่งเรือง มำกในช่วงที่รถไฟเป็นกำรคมนำคมหลักของประเทศ รถไฟสถำนีทุ่งสงจึงกลำยเป็น “สถำนีชุมทำง” เป็น ศูนย์กลำงสินค้ำเกษตรอย่ำงยำงแผ่น สินแร่จำก เหมืองรอบบริเวณ ผลิตภัณฑ์จำกโรงปูนซิเมนต์ทุ่งสง และนักเดินทำงมำขึ้นรถไฟจำนวนมำก – ไม่ว่ำจะ ล่องใต้ หรือขึ้นเหนือ ทำให้ทุ่งสงก็กลำยเป็น ศูนย์กลำงควำมเจริญอีกแห่งหนึ่งที่เติบโตอย่ำง รวดเร็ว ทั้งด้ำนเศรษฐกิจ อุตสำหกรรม กำรศึกษำ และวัฒนธรรม แม้ว่ำกำรเดินทำงรถไฟไม่คึกคัก เหมือนแต่ก่อน มีผลทำให้กำรขนส่งสินค้ำหรือ เศรษฐกิจในทุ่งสงซบเซำลงบ้ำง ไม่คึกคักเหมือนเคย แต่กำรเป็นเมืองใหญ่ และพึ่งพิงเศรษฐกิจหลำยด้ำน และกำรพัฒนำเมืองอย่ำงแข็งขันภำยใต้กำรนำของ เทศบำลเมืองทุ่ง ทำให้ทุ่งสงวันนี้ก็ยังคงเป็นเมือง ใหญ่ เมืองเศรษฐกิจสำคัญมำกทั้งในปัจจุบันและ อนำคต ...................................
  • 7. 9 | FURD Cities Monitor January 2019 ศูนย์กระจายสินค้า กระตุ้นเศรษฐกิจทุ่งสง ทุ่งสงเป็นเมืองชุมทำงระบบรำงเมื่อร้อยปี ก่อน เป็นแหล่งส่งออกแร่ดีบุกจำกทุ่งสงไปปีนังผ่ำน ท่ำเรือกันตัง เรำต้องมองย้อนไปถึงประวัติศำสตร์เมือง ทุ่งสงว่ำ เดิมทำไมเรำถึงเป็นชุมทำง ทำไมเรำมี ธนำคำรสยำมกัมมำจลเป็นแห่งแรกของภำคใต้ นั่น แสดงให้เห็นว่ำภูมิศำสตร์ของเมืองทุ่งสงที่เป็นสะดือ ของภำคใต้ คืออยู่กึ่งกลำงของภำคใต้ คั่นระหว่ำง คำบสมุทรอันดำมันและอ่ำวไทยพอดี กำรขนส่งระบบ รำงที่เขำสร้ำงไว้แล้ว ถ้ำได้รับกำรบูรณะให้สมบูรณ์ ร้อยเปอร์เซ็นต์ เมืองทุ่งสงก็จะเจริญขึ้นมำก ท้องถิ่น เล็งเห็นโอกำสดังกล่ำว จึงเสนอให้ใช้ที่ดินกำรรถไฟ ทั้งหมด 85 ไร่ ทำเป็นศูนย์กระจำยสินค้ำภำคใต้ขึ้นมำ โดยใช้งบประมำณกลุ่มจังหวัดเป็นหลักและมีบริษัท ศรีตรังเป็นผู้สัมปทำนกำรบริหำรจัดกำร ในปัจจุบัน โครงกำรเปิดให้บริกำรไปแล้ว 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เปิดให้เช่ำบริหำรจัดกำรลำนวำง ตู้คอนเทนเนอร์ เมื่อวันที่ 13 กรกฎำคม พ.ศ. 2559 และระยะที่ 2 จังหวัดนครศรีธรรมรำชและเทศบำล เมืองทุ่งสงมีกำรลงนำมในสัญญำเปิดให้บริกำรโกดัง ศูนย์กระจำยสินค้ำภำคใต้ – ทุ่งสง เมื่อวันที่ 29 มกรำคม พ.ศ. 2561 ขณะนี้กำลังดำเนินกำรในระยะ ที่ 3 เทศบำลเมืองทุ่งสงกำลังศึกษำและออกแบบ ธุรกิจ เพื่อกำรพัฒนำให้ทุ่งสงเป็นศูนย์กระจำยสินค้ำ ฮำลำล ครบวงจรแห่งแรกของประเทศไทย ในด้ำน กำรจัดสรรรำยได้ โครงกำรระยะที่หนึ่ง ทำงบริษัท ศรีตรังจะแบ่งกำไรสุทธิมำให้เทศบำลในสัดส่วนไม่ น้อยกว่ำร้อยละ 37 ต่อปี ส่วนโครงกำรระยะที่สอง ทำงบริษัทจะแบ่งรำยได้ในกำรให้บริกำรคลังสินค้ำ ก่อนหักค่ำใช้จ่ำยไม่น้อยกว่ำร้อยละ 30 ต่อปี จำกนั้น เทศบำลเมืองทุ่งสงจะนำรำยได้เหล่ำนั้นเข้ำกองคลัง ของเทศบำล ผลกำรดำเนินงำนเมื่อปี 2560 ศูนย์กระจำย สินค้ำมีตู้คอนเทนเนอร์วนเวียนเข้ำมำกว่ำ 8,083 ตู้ เพื่อเตรียมขนขึ้นรถไฟส่งต่อไปที่สถำนีรถไฟกันตัง ซึ่ง ขนส่งประมำณวันละ 1 เที่ยว เที่ยวละประมำณ 40 ตู้ โดยสินค้ำส่วนใหญ่เป็นไม้ยำงพำรำกับยำงพำรำ ที่ ส่งออกตลำดต่ำงประเทศ โดยเฉพำะจีน ยุโรปและ ญี่ปุ่น อย่ำงไรก็ตำม ทุกวันนี้กำรขนส่งก็ยังใช้ถนนเป็น ส่วนมำก ทำงเทศบำลจึงพยำยำมสนับสนุนเอกชนให้ หันมำใช้ระบบรำงตลอดช่วงเวลำที่ผ่ำนมำ ชุมทางทุ่งสง สะพานเชื่อมเศรษฐกิจโลก FURD Cities Monitor January 2019 | 10 ส่วนกลางต้องเสริมท้องถิ่น เชื่อมโยงเศรษฐกิจประเทศ ที่ผ่ำนมำ โครงกำรที่ดำเนินกำรจำกล่ำงขึ้นบน (Bottom-Up Policy) มักถูกส่วนกลำงมองว่ำไม่ใช่นโยบำยของเขำ เพรำะเขำเห็นว่ำ ท้องถิ่นดำเนินกำรเองได้ ส่วนกลำงจึงปล่อยปะละเลย ทั้งที่ถ้ำหำก ส่วนกลำงช่วยเมืองทุ่งสงในเรื่องกำรวำงระบบรำงในระดับประเทศแล้ว โครงกำรนี้จะไม่ได้ผลักเพียงกำรส่งออกแค่ในทุ่งสง แต่ยังสำมำรถ เชื่อมโยงกำรส่งออกระหว่ำงภูมิภำคในประเทศและอำจส่งต่อออก ต่ำงประเทศได้ด้วย เช่น น้ำตำลจำกอีสำน ข้ำวสำรจำกภำคเหนือ ก็จะ ขนส่งลงมำทุ่งสงผ่ำนระบบรำงได้ง่ำยขึ้น นอกจำกนี้ กำรสร้ำงควำม เชื่อมั่นให้ผู้ประกอบกำรนั้น ภำครัฐต้องสนับสนุน มิใช่ปล่อยไปตำม ยถำกรรมให้เขำสู้ด้วยตัวเอง บ่อยครั้งที่ภำคเอกชนเสนอโครงกำรที่ดีมี ประโยชน์แต่ขำดเจ้ำภำพ ส่วนหนึ่งเพรำะข้ำรำชกำรระดับสูงอย่ำงผู้ว่ำ รำชกำรจังหวัดและนำยอำเภอก็ไม่คิดจะอยู่นำน ปรำรถนำแต่กำร เลื่อนตำแหน่งไปเป็นอธิบดี รองปลัด ส่งผลให้กว่ำท้องถิ่นจะปรับ ควำมคิดปรับควำมเข้ำใจกับคนจำกส่วนกลำงได้ เขำก็ย้ำยไปที่อื่นเสีย แล้ว จึงสรุปได้ว่ำ แม้ประเทศเรำจะมีควำมพร้อมสูง แต่ยังขำดควำม ต่อเนื่องของรำชกำร เทศบำลเมืองทุ่งสงจึงถือเป็นท้องถิ่นต้นแบบที่มีควำมคิดริเริ่ม ฟื้นฟูระบบรำงในอดีตแล้วพัฒนำให้เป็นศูนย์กระจำยสินค้ำ สำมำรถทำ หน้ำที่เป็นผู้ประสำนงำนรอบทิศและดึงศักยภำพท้องถิ่นจำกกำรเป็น “เมืองชุมทำง” ออกมำ ทำให้เกิดระบบขนส่งสินค้ำหลักที่มี ประสิทธิภำพ ลดต้นทุน กระตุ้นเศรษฐกิจ เรียกได้ว่ำเป็นกำรเปลี่ยน บทบำทจำก “ช่ำงปะผุ” เป็น “ผู้จัดกำรเมือง” ได้อย่ำงแท้จริง ที่ สำคัญ เทศบำลเมืองทุ่งสงยังสำมำรถเปลี่ยนแนวคิดจำกเทศบำลที่แบ มือรองบจำกส่วนกลำงมำเป็นเทศบำลที่สำมำรถหำรำยได้ด้วยตัวเองได้ อย่ำงยั่งยืน
  • 8. 11 | FURD Cities Monitor January 2019 FURD Cities Monitor January 2019 | 12 ชุมชนพลิกถุง ทุ่งสงพลิกโลก พลิกถุงพลิกโลก ปัญหำขยะเป็นสิ่งที่เทศบำลเมืองทุ่งสงให้ ควำมสำคัญมำตลอด จนทุ่งสงได้รำงวัลสิ่งแวดล้อม ระดับประเทศ จำกกำรทำตำมตัวชี้วัดครบถ้วน แต่ผล ปรำกฏว่ำ ขยะกลับไม่ลดลงและเพิ่มขึ้นจำกเดิม 30 ตันเป็น 50 ตันเสียด้วยซ้ำ โครงกำรพลิกถุงพลิกโลกจึงถือกำเนิดขึ้น ใน พ.ศ. 2559 เริ่มจำกกำรเชิญ ดร.ไพบูลย์ โพธิ์สุวรรณ มำ ลงพื้นที่เป็นวิทยำกรให้ควำมรู้และแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษำ โครงกำร ทำให้เกิดกำรปรึกษำแลกเปลี่ยนหำสำเหตุกัน จน เทศบำลตัดสินใจว่ำจะเลือกใช้แนวคิดวิธีกำรของ ดร.ไพบูลย์ มำแก้ปัญหำเรื่องขยะ หลังจำกคัดแยกเศษอำหำรออกไปแล้ว ขยะที่ เทศบำลเล็งเห็นว่ำเป็นปัญหำอันดับต้นๆ คือ ถุงพลำสติก และโฟม เพรำะมีจำนวนมำกที่สุดและใช้เวลำย่อยสลำยนำน ที่สุด อีกทั้งขยะเหล่ำนี้ต่ำงเป็นมลภำวะที่ทำให้เกิดมะเร็ง ซึ่ง เป็นโรคที่คนไทยป่วยและตำยมำกที่สุด เทศบำลจึงคิดค้น วิธีกำรกำจัดถุงพลำสติกอย่ำงง่ำยๆ เพียงแค่นำถุงพลำสติก มำพลิกล้ำงทั้งสองด้ำนแล้วเอำไปตำกแดดขจัดควำมชื้นแล้ว ส่งให้เทศบำล เทศบำลก็จะนำไปรวมกับขยะทั้งหมดที่ สำมำรถนำไปแปรรูปเป็นเชื้อเพลิงได้ ส่งไปที่โรงแยกขยะ แล้วเข้ำสู่กระบวนกำรแปรรูปให้เป็นขยะเชื้อเพลิง (Refuse Derived Fuel; RDF) แล้วส่งต่อให้โรงโม่ปูนบริษัท ปูนซิ เมนต์ไทย จำกัด (มหำชน) หรือ SCG เพื่อนำไปทำเป็น เชื้อเพลิงต่อไป 
  • 9. 13 | FURD Cities Monitor January 2019 โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) หลังจำกเทศบำลเมืองทุ่งสงดำเนินโครงกำร พลิกถุงพลิกโลกมำระยะหนึ่ง ใน พ.ศ. 2560 เทศบำลก็ประกำศให้โรงเรียนเทศบำลวัดชัยชุมพล เป็นโรงเรียนต้นแบบพลิกถุงพลิกโลก และในปีถัดมำ ได้ส่งเข้ำประกวดโครงกำรโรงเรียนปลอดขยะ ที่จัด โดยกรมส่งเสริมคุณภำพสิ่งแวดล้อม กระทรวง ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ที่ให้ควำมสำคัญ กับแนวคิด “Zero Waste” เป็นแนวคิดกำรจัดกำร ขยะตั้งแต่ต้นทำงคือลดกำรเกิดขยะ ทำให้ขยะเหลือ น้อยที่สุด ไปจนถึงกำรจัดกำรขยะที่เหลือได้อย่ำงมี ประสิทธิภำพ ซึ่งสอดคล้องกับโครงกำรพลิกถุงพลิก โลกพอดี ผลปรำกฏว่ำ โรงเรียนเทศบำลวัดชัยชุมพล ได้คะแนนระดับดีเยี่ยมอันดับหนึ่งของประเทศ ประจำปี 2561 ควำมสำเร็จส่วนหนึ่งเป็นเพรำะนักเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกำรบริโภค หันมำใช้แก้วน้ำ ส่วนตัวแทนแก้วพลำสติก ใช้จำนชำมที่ถำวรแทน ถ้วยโฟม และใช้ภำชนะที่ทำจำกใบตองแทน ถุงพลำสติก และที่สำคัญคือกำรมีโครงกำรพลิกถุง พลิกโลก ที่ทำให้นักเรียนรู้จักคัดแยกขยะรีไซเคิล ขยะอันตรำย และขยะย่อยสลำยได้ยำกอย่ำงเช่น ถุงพลำสติก แล้วส่งต่อให้เทศบำล กิจกรรมเหล่ำนี้ทำ ให้โรงเรียนเทศบำลวัดชัยชุมพล สำมำรถลดขยะจำก วันละ 500 กิโลกรัม เหลือเพียง 50 กิโลกรัมเท่ำนั้น โรงเรียนแห่งนี้จึงมีส่วนช่วยสร้ำงชื่อเสียงให้เมืองทุ่ง สงในเรื่องกำรจัดกำรขยะตั้งแต่ต้นทำง รวมทั้งเป็น แบบอย่ำงให้กับนักเรียน บุคลำกรทำงกำรศึกษำใน กำรนำควำมรู้และประโยชน์ที่ได้จำกกำรคัดแยกขยะ ไปเผยแพร่ให้กับครอบครัวต่อไปด้วย โดยภำพรวม หลังจำกกำรรณรงค์ด้วยวิธี ดังกล่ำว เทศบำลทุกกองฝ่ำย โรงเรียนในสังกัด เทศบำลทั้งหมดไปจนถึงชุมชนก็ให้ควำมร่วมมือ ปฏิบัติตำม จนทำให้ในระยะเวลำ 8 เดือน เทศบำล สำมำรถลดปริมำณขยะไปได้มำกกว่ำร้อยละ 50 จำก 50 ตันต่อวันเหลือเพียง 25 ตันต่อวัน อีกทั้งจำกเดิม เทศบำลต้องเสียค่ำฝังกลบขยะ 50 ตันต่อวันเป็น มูลค่ำกว่ำ 4.8 ล้ำนบำทต่อปี แต่ปัจจุบันเสียแค่ 1.2 ล้ำนบำทต่อปีเท่ำนั้น ทำให้เทศบำลเกิดแรงบันดำล ใจในกำรผลักดันโครงกำรที่ไม่ได้เป็นแค่กิจกรรม สร้ำงภำพชั่วข้ำมคืน FURD Cities Monitor January 2019 | 14 ภาพ โปสเตอร์รณรงค์ร่วมกันแยกขยะในโครงการ พลิกถุง พลิกโลก ที่มำ: Facebook fanpage เทศบำลเมืองทุ่งสง
  • 10. 15 | FURD Cities Monitor January 2019 ทุ่งสง โมเดลการจัดการ ทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ ทุ่งสงเป็นเมืองผ่ำนของคลองหลำยสำย เช่น คลองท่ำเลำ คลองท่ำโหลน คลองท่ำแพ และ คลองวังหีบ แม้จะมีบทบำทในทำงเศรษฐกิจในอดีต แต่กำรเป็นเมืองน้ำ ทำให้ทุ่งสงเผชิญปัญหำอุทัก ภัยมำตลอด มีน้ำท่วมทุกปี ในประวัติศำสตร์ทุ่งสงมีอุทักภัยครั้งใหญ่ประมำณ 8 ครั้ง โดยเฉพำะใน พ.ศ.2548-2549 ทุ่งสงเกิดภัยพิบัติน้ำท่วมครั้งใหญ่ มีน้ำหลำก เกิดขยะจำนวนมำก สร้ำงควำม เสียหำยทำงเศรษฐกิจมำกถึง 250 ล้ำนบำทเลยทีเดียว (ข้อมูลจำกชมรมธนำคำรอำเภอทุ่งสง) ภาพ ภูมิประเทศและลุ่มแม่น้้าสาขาตรัง ที่มำ: เทศบำลเมืองทุ่งสง ภาพปัญหาอุทกภัยในพื้นที่อ้าเภอทุ่งสงเมื่อ 15 ธ.ค. 2548 และ 14 ก.พ. 2549                       FURD Cities Monitor January 2019 | 16 การจัดการทรัพยากรน้้าแบบบูรณาการของเมืองทุ่งสง เทศบำลเมืองทุ่งสงใช้แนวคิด “การท้างานแบบ บูรณาการ” ลุกขึ้นมำเป็นหน่วยงำนหลักประสำนงำน ร่วมกับหน่วยงำนทุกภำคส่วน ทำให้ทุกภำคีของเมืองทั้ง หน่วยงำนรำชกำร ส่วนภูมิภำค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสำหกิจ นักวิชำกำร สถำบันกำรศึกษำ รวมถึงภำคประชำชน และ ภำคีที่เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ำยที่เกี่ยวข้องภำยใต้กำรประสำนงำนและจัดกำร ของเทศบำลเมืองทุ่งสง ได้ดำเนินกำรขุดลอกและกำรขยำยคู คลองกำรตักขยะ และตะกอนที่มำกับน้ำรื้อสิ่งกีดขวำงต่ำงๆ ทำแก้มลิง ผลจำกกำรทำงำนแบบบูรณำกำรนี้ เกิด ควำมสำเร็จมำก ทำให้ปี 2550 – 2553 เมืองทุ่งสงไม่มี ปัญหำน้ำท่วมในตัวเมืองและย่ำนเศรษฐกิจอีกต่อไป ทั้งที่ ปริมำณน้ำฝนมำกกว่ำปีก่อน นอกจำกนี้ยังมีกำรจัดกำร ทรัพยำกรน้ำคลองท่ำแพร่วมกับชุมชน วัด และโรงเรียนทุก ขั้นตอน สร้ำงนวัตกรรมเขื่อนมีชีวิตโดยใช้ไม้ไผ่และหญ้ำ แฝก จัดรูปที่ดิน ทั้งหมดนี้เป็นกำรทำงำนบนฐำนงำนวิจัย และภูมิปัญญำแบบท้องถิ่นทั้งสิ้น ทำให้คลองท่ำแพลดกำร ท่วม มีสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดกิจกรรมด้ำนอนุรักษ์อีก มำกมำย ทำให้กลำยเป็นต้นแบบกำรอนุรักษ์คลอง และ ขยำยผลไปยังกลุ่มเครือข่ำยคลองท่ำโหลน คลองท่ำเลำ ต่อไป
  • 11. 17 | FURD Cities Monitor January 2019 สู่การจัดการทรัพยากรน้้าลุ่มแม่น้้าตรัง : วาระของ ภูมิภาค ในปี 2554 ได้เกิดภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่อีกครั้ง เป็นสัญญำณเตือนภัยว่ำกำรแก้ไขปัญหำทรัพยำกรน้ำ จะต้องทำทั้งระบบต้นน้ำ กลำงน้ำ และปลำยน้ำ ทำให้เกิด กำรเชื่อมกับอีก 2 จังหวัด คือ นครศรีธรรมรำชและตรัง ใน ฐำนะเมืองที่แม่น้ำไหลผ่ำนเช่นเดียวกัน รวมตลอด นักวิชำกำร องค์ในและต่ำงประเทศ เช่น IUWP จำก เนเธอร์แลนด์ IUCN และสถำบันกำรศึกษำในพื้นที่และ นอกพื้นที่ลุ่มน้ำ ขยำยผลสู่ควำมร่วมมือ “การบริหาร จัดการน้้าของลุ่มน้้าสาขาแม่น้้าตรังแบบบูรณาการ” ขึ้น ปลำยปี 2554 ให้กลำยเป็น “วำระระดับภูมิภำค” ที่ทุก ภำคส่วนได้เข้ำมำมีบทบำทเกี่ยวข้อง เทศบำลเมืองทุ่งสงจึง ทำหน้ำที่ดำเนินกำรประสำนงำนและจัดประชุมสัมมนำ จำนวน 13 ครั้ง จนได้แผนยุทธศำสตร์กำรทำงำนที่ชัดเจน และจะดำเนินกำรต่อจำกนี้ และหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำกำร ทำงำนแบบบูรณำกำรทั้งระดับภูมิภำคจะสำมำรถแก้ไข ปัญหำทรัพยำกรน้ำอย่ำงยั่งยืนได้ ภาพ แผนการด้าเนินจัดการ ต้นน้้า กลางน้้า ปลายน้้า ที่มำ: เทศบำลเมืองทุ่งสง FURD Cities Monitor January 2019 | 18 ความส้าเร็จบนกลไกของราชการและความเข้าใจ ธรรมชาติในองค์รวม บทเรียนวิธีกำรทำงำนของกำรจัดกำรลุ่มแม่น้ำตรังที่ สำคัญอีกอย่ำงหนึ่ง คือ ควำมเข้ำใจและทำงำนทีเชื่อมกับ ระบบรำชกำรอย่ำงดี โดยปกติเรำมักจะเห็นบทบำทของ ท้องถิ่น เอกชน หรือชุมชนเป็นตัวนำ โดยที่หน่วยงำนรัฐมัก เป็นเพียงผู้สนับสนุนและไม่มีบทบำทโดดเด่น แต่กำรทำงำน ครั้งนี้ ได้ผ่ำนกำรประชุม ดูงำน ทุกหน่วยงำน กำรให้บทบำท ทุกภำคส่วน ดึงศักยภำพของข้ำรำชกำร โดยเทศบำลเป็น เพียงผู้ประสำนและจัดกำรเท่ำนั้น ซึ่งผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด นำยอำเภอ เป็นประธำนและผู้นำในคณะทำงำน กำรตั้ง คณะกรรมกำรที่ชัดเจน กำรให้ควำมคิดและรับผิดชอบของแต่ ละหน่วยงำน และควำมคิดเห็นที่ตกผลึกไปให้ทิศทำงเดียวกัน แล้ว แม้ว่ำแต่ละหน่วยงำนจะมีพันธกิจที่แตกต่ำงกัน และเมื่อ จุดมุ่งหมำยไปให้ทิศทำงเดียวกัน ก็ย่อมทำให้กำรจัดกำรและ พัฒนำเป็นไปให้ทิศทำงเดียวกัน นับว่ำเป็นผลงำนและ ควำมสำเร็จของกำรมีส่วนร่วม ระหว่ำงท้องถิ่น ส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค นักวิชำกำร องค์กรต่ำงประเทศ และภำคชุมชน และประชำสังคม ที่เข้ำมำทำงำนในลักษณะองค์รวมหรือ บูรณำกำรได้
  • 12. เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์ เมืองขวางน้า ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า ชุดหนังสือเมือง หนังสือออกใหม่ สั่งซือได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ) 3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies เมืองนิยม ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ราชาธิปไตย ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เมือง กิน คน ผศ.ดร. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ตะวันออก—ตะวันตก ใครสร้างโลกสมัยใหม่ ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริของ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่ ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้ เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับประเทศ ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี ประสิทธิภาพ ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่ ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน อนาคตสืบไป
  • 13. ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864