SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 46
ศาสนาเชน
นัก อหิง สาต่อ ความศัก ดิ์ส ิท ธิ์ข อง
               ชีว ิต


       การเปลือ ยกายเพื่อ ละกิเ ลส
       การเปลือ ยกายเพื่อ ยั่ว ยวน
                 กิเ ลส
       อะไรคือ ความแตกต่า ง
“ ยุคทอง
  แห่ง
 ปัญญา ”
โสเกรตีส พ.ศ. 73-144
                                     เพลโต พ.ศ. 116-196
                                     อริส โตเติล พ.ศ. 159-221

กรีก
       มหาวีร ะ
                                พระพุท ธเจ้า
                                80ปีก่อนพ.ศ.


                                               จี
                                               น
                  อิน เ
                  ดีย




       ธาเลส 81-3 ปีก่อน พ.ศ.                  เหลาจื่อ       ขงจื่อ
                                                    8ปีกอนพ.ศ.-พ.ศ.74
                                                        ่
แผนที่แสดงการนับถือศาสนาเชนในปัจจุบน
                                   ั
ศาสนาเชน ถือกำาเนิดขึ้นในประเทศ
                  อินเดียเมื่อประมาณ 2500 ปีล่วงมาแล้ว
                 หรือร่วมสมัยเดียวกันกับพระพุทธองค์ ดัง
                 ปรากฏหลักฐานตามพระไตรปิฎกในนาม
                  ของ “ นิครณฐนาฏบุตร” (บุตรของนัก
                   ฟ้อน) เป็น 1 ใน 6 คุรุ ของลัทธิที่มีชื่อ
    ลัก ษณะโดยทั่ว ไป      เสียงในสมัยพุทธกาล

 ศาสนาเชนจัดได้ว่าเป็นศาสนาในแบ
บอเทวนิย ม (Atheism) ซึ่ง ถือ กำา เนิด
   ขึ้น เพื่อ ปฏิเ สธฐานะของศาสนา
 พราหมณ์ – ฮิน ดู เช่น เดีย วกัน กับ
  พระพุท ธศาสนา แต่ในรายละเอียด
ของหลักคำาสอนบางเรื่อง เช่น เรื่องของ
กรรม หรือความเป็นอมตะของวิญญาณ
  (อัตตา) นั้น มีความแตกต่างจากพุทธ
 เกิด ควบคู่ก ัน มากับ พระพุท ธศาสนา
 จัด เป็น ศาสนาประเภทศาสนาถิ่น /ชาติข อง
  ชนชาติอ ิน เดีย ทางภาคเหนือ
 บำา เพ็ญ ตบะด้ว ยวิธ ีต ่า งๆ โดยเฉพาะการ
  ทรมานร่า งกาย
  (อัต ตกิล มถานุโ ยค )
 ปัจ จุบ ัน มีศ าสนิก ชนน้อ ยลงเรื่อ ยๆ   (มีป ระมาณ
  1 ล้า น 5 แสนคน )
 คัม ภีร ์เ รีย กชื่อ ว่า อาคม (หมายถึง ศีล )
 เป็น นัก มัง สวิร ัต ิ (อาชีพ พวกพระ ครูอ าจารย์
  ศิล ปิน พ่อ ค้า นัก ธุร กิจ นายธนาคาร )
 มีศ าสดามาแล้ว ถึง ๒๔ องค์
 ศาสดาองค์แ รก ชื่อ “ฤษภะ ” องค์ส ุด ท้า ยชื่อ
  “มหาวีร ะ ”(เจ้า ชายวรรธมาน)
 ศาสดาเรีย กว่า “ตีร ถัง กร ” (ผู้ก ระทำา ซึ่ง ท่า )
เชน หรือ ชิน ะแปลว่า ผู้ช นะ
(หมายถึง การชนะตัว เอง)

     เป็น การชนะด้ว ยวิน ัย แห่ง
     การควบคุม ตัณ หาของตน
     อย่า งเข้ม งวด

      “บุค คลผู้ช นะตนเองได้
     ย่อ มชนะทุก อย่า งซึ่ง เป็น
     ความชนะที่ค ุ้ม ค่า ”

      “มัน เป็น การยากที่จ ะ
     เอาชนะตัว เองได้ แต่เ มื่อ
     ใดเอาชนะได้แ ล้ว ทุก อย่า ง
     ก็ถ ูก เอาชนะได้ด ้ว ย
มหาวีร ะ : ศาสดา
ศาสนาเชน
ใหม่ว ่า “มหา
วีร ะ ”
แปลว่า ผูก ล้า
          ้
หาญ
อภิเ ษกสมรส เมือ อายุ 19 พร
               ่
กับ เจ้า หญิง ยโสธรา มีธ ิด า 1 อ
      ออกผนวช           เมื่อ
      อายุ 30 พรรษา
ทรงบรรลุ
ธรรมสูง สุด
ทีช ื่อ ว่า
  ่
“ไกวัล ”
  และทรง
ได้พ ระนาม
ว่า พระชิ
นะ คือ ผู้
ชนะ (กิเ ลส
ในใจทั้ง
ศนา
ใต้ต ้น
อโศก
ประกาศ
ศาสนา
เชนและ
สั่ง สอน
สาวก
เป็น เวลา
ปัจ ฉิม
   เทศนา
ปริน พ พานเมือ
     ิ          ่
พระชนมายุไ ด้
72 พรรษา ใน
 วัน ที่ศ าสดา
    มหาวีร ะ
  ปริน พ พาน
         ิ
คัม ภีร ์ข องเชน
    ระบุว ่า มี
 นัก บวชราว
จริย ศาสตร์(บัญ ญัต ิ ๕
           ประการ )
a.อหิง สา = การไม่ฆ ่า ไม่เ บีย ดเบีย น
   ไม่ท ำา ร้า ยสัต ว์
๒. สัต ยะ =
  ซื่อ สัต ย์                  ทั้ง ห้า ข้อ รวมแล้ว
                               เรีย กว่า พรต = วัต ร
๓. อัส ตีย ะ =ไม่ล ัก ขโมย     การปฏิบ ัต ิข องนัก บวช
  หลบหนีภ าษี                  เรีย กว่า “มหาพรต”
                               การปฏิบ ัต ิข องคฤหัส ถ์
๔. พรหมจริย ะ = เว้น           เรีย กว่า “อนุพ รต”
  จากกามสุข                    นัก บวชที่ป ฏิบ ัต ิเ คร่ง ครัด
                               เรีย กว่า “สาธุ สาธนี”
๕. อปริค หะ =
  ไม่โ ลภ
ติร ัต นะของเชน
อปฏิบติเพื่อบรรลุโมกษะ เรียกว่า ไตรรัตน์ หรือ ติรัตนะ
     ั
มายถึง แก้ว 3 ประการ ได้แก่


      1. สัม ยัค ทรรศนะ คือ ความเห็น ชอบ

         2. สัม ยัค ชฺญ าน คือ ความรู้ช อบ

        3. สัม ยัค จาริต คือ ความประพฤติ
                         ชอบ
วจนะและสุภ าษิต ของเชน
                 จงรู้วาอะไรเป็นเหตุผูกมัดวิญญาณ และเมื่อรู้
                       ่
                           ก็จงพยายามขจัดออกไป
                      นกติดอยู่ในกรงย่อมออกจากกรงไม่
                      ได้ฉันใด บุคคลผู้เขลาต่อความถูก
                        และความผิดก็ย่อมออกจากความ
                            ระทมทุกข์ไม่ได้ฉันนั้น
                      มีทางทำาบาปอยู่ 3 ทาง คือโดยการก
                      ระทำาของเรา โดยการสนับสนุนคน
                             อื่น โดยการเห็นด้วย


   ความนิ่งมีอำานาจ
ชีวิตทุกชีวิตออมเกลียดความ
       เหนื ย่ คำาพูด
          เจ็บปวด
 เพราะฉะนันอย่าทำาร้ายเขา
            ้
         หรือฆ่าเขา
นีเป็นแก่นสารแห่งปัญญา ไม่
  ่
วจนะและสุภ าษิต ของเชน

      ความเหย่อหยิงเป็นหนามที่
                        ่
                   บางมาก
      แต่เป็นเรื่องยากที่จะดึงออก
        คนควรปฏิบติต่อสัตว์โลก
                      ั
     ทั้งหมดในโลก ดังเช่นตัวเอง
            ชอบที่จะให้ผู้อื่น
           ปฏิบติต่อตน ฯลฯ
                 ั
 ศาสนาเชนยึด อหิง สาธรรมและชีว ิต
 สัน โดษ Non-violence
 ศาสนาเชนถือ ว่า “ชีว ิต ทีด ีจ ะสามารถมี
                                  ่
 ขึ้น ได้ก ็โ ดยการรู้จ ัก หัก ห้า ม ตนเอง
 เท่า นัน เพราะตัณ หาเป็น เหตุแ ห่ง ทุก ข์ท ง
        ้                                   ั้
 ปวง ”
 วิญ ญาณทีห นัก ด้ว ยบาปจะจมสู่
                ่
 นรก...วิญ ญาณทีเ บาบริส ุท ธิ์จ ะลอย
                      ่
 ขึ้น สวรรค์จ นเข้า สูน ร วาณ ”
                        ่ ิ
นิกาย
  ภายหลังการสินชีวิตของศาสดามหาวีระ ศาสนาเชน
              ้
      ได้มการแตกแยกออกเป็น 2 นิกาย ได้แก่
          ี




๑. ทิคัมพร – เปลือยกาย            ๒. เศวตัมพร – นุ่งห่มผ้าขาว
  ซึ่งหลักคำาสอนของนิกายทั้ง 2 นั้น โดยเนื้อหาสาระ  แล้วมีความแตก
                          ต่างกันไม่มากนัก
             จะแตกต่างกันก็เพียงรายละเอียดปลีกย่อยเท่านั้น
 ๑. ทิค ัม พร – เปลือยกาย
มีลักษณะเด่นๆโดยสังเขปดังนี้
      อนุรักษ์นิยม, เจริญอยู่ทางตอนใต้
                  ของอินเดีย
      มีอาภรณ์เป็นอากาศอยู่ตลอดเวลา
         เนื่องจากทัศนะทีถือว่าการเป็น
                           ่
      นักบวชจำาเป็นที่จะต้องสละทุกสิ่งทุก
       อย่างไม่สามารถถือครองสิ่งใดได้
      แนวคิดของนิกายนี้มีลักษณะแบบ
       “อัตตกิลมถานุโยค” มีการทรมาน
       ตนเองในหลากหลายลักษณะ โดย
       ถือเป็นการบำาเพ็ญตบะขั้นอุกฤษฏ์
      อันจะทำาให้กเลสและกรรมเก่าหมด
                    ิ
       ไปจนสามารถเข้าถึงโมกษะได้ใน
                      ทีสุด
                        ่
     นิกายนี้มีความเชื่อว่า ผู้ชายเท่านั้น
      จึงจะสามารถบรรลุโมกษะได้ ส่วนผู้
      หญิงจำาเป็นที่จะต้องอธิษฐานให้เกิด
ภาพนักบวชในนิกายทิคัมพร
๒. เศวตัม พร–นุ่งห่มผ้าขาว
มีลักษณะเด่นๆโดยสังเขปดังนี้
      เจริญอยู่ทางตอนเหนือ
      ของอินเดีย
      อาภรณ์สีขาว ไม่กระทำาตน
      เป็นชีเปลือยเหมือนพวก
      ทิคัมพร
      แนวทางในการปฏิบัติของ
      นิกายนี้ จะไม่เคร่งครัด
      เท่ากับนิกายทิคัมพร เช่น แก้
      บทบัญญัติแห่งการเปลือย
      กายไม่ให้ตึงเกินไป
      นิกายนี้มีความเห็นว่า ผู้
      หญิงมีศักยภาพในการบรรลุ
      โมกษะได้เช่นเดียวกับผู้ชาย
      พุทธศาสนาเรียกว่า
ภาพนักบวชชายและนักบวชหญิง   (ขวาสุด) ในนิกาย
                เศวตามพร
ข้อ
                 สัง เกต
๑.  การแบ่งแยกนิกาย นอกจากอิทธิพลของ
 กาลเวลาแล้ว สภาพแวดล้อ มก็มส่วน         ี
 สำาคัญ
๒. ผู้ห ญิง สำา เร็จ เป็น สิท ธาได้ ก็เพราะบาง
 นิกาย
       (เศวตัม พร) มีติดถังกรเป็นผู้หญิง
๓. นักบวชทุกท่านต้องถอนผมของตนด้วย
 ทางตาลหรือมือ แทนการโกนเพือพิส ูจ น์่
 ความอดทน
๔. ศาสนาเชนยกย่องการปฏิบัติแบบ
     อัตตกิลมถานุโลก เช่น การนิยมอดอาหาร
    (ถือเป็นการตายทีบริสุทธิ์)
                        ่
คัม ภีร ท างศาสนา
                    ์
  ศาสนาเชน เรียกคัมภีร์ทางศาสนาว่า “ อาคม” มีอยู่
  ประมาณ 50 เล่ม แต่งเป็นภาษาสันสกฤตบ้าง ภาษา
อรรธมาคธีบ้าง ภาษาประกฤตบ้าง ประกอบด้วยอังคะ
  (Section) ต่างๆ ซึ่งในบางอังคะ สาวกของศาสดา
   มหาวีระได้แต่งขึ้นมาในภายหลัง ซึงตัวคัมภีร์โดย
                                           ่
                       สาระสำาคัญนัน  ้
มีหลัชีวีตของมนุษย์ทั้งปวงเป็นทุกข์ จึงต้องปฏิบัติตามวิถีพรต
 1.
     กใหญ่ใจความอยู่ 3 ประการ คือ
     เพื่อมุ่งเข้าสู่ไกรวัลย์ อันเป็นการดับทุกข์โดยสมบูรณ์

   2.     สัวสารวัฏพันธนาการชีวะไว้ด้วยอนุภาคแห่ง
                         กรรม
   จำาเป็นต้องชำาระชีวะให้บริสุทธิ์ เรียกว่า “มุกตะชีวะ”
           3. การปฏิบัติหน้าที่ประจำาวันตามสถานะ
                 (คฤหัสถ์, บรรพชิต) ของตน
สัญ ลัก ษณ์ข องศาสนาเชน




รูป แบบที่ 1 เป็นรูปฝ่ามือนี้เป็นที่นิยมมากที่สุดในกลุ่มศาสนิ
กชนชาวเชน
รูป แบบที่ 2 สร้างขึ้นใหม่ในโอกาสครบรอบ 2,500 ปี การ
นิพพานของศาสดามหาวีระ
   ศาสนาเชนถือเอารูป
    กระบอกทรงตั้ง ภายใน
    บรรจุสัญลักษณ์ 4     รูปกงจักร
                          1.
    ประการ พร้อมความ
    หมาย ดังนี้      สัญลักษณ์ของ
                     อหิงสา วางบนฝ่ามือ
                    2. รูปสวัสดิกะ
                     สัญลักษณ์ของ
                     สังสาระ
                    3. จุด 3 จุด
                     สัญลักษณ์แทนความ
                     เห็นชอบ รู้ชอบ
                     ประพฤติชอบ
                    4. จุด 1 จุด ตอนบน
       สัญ ลัก ษณ์ข องศาสนาความ
                     สุด สัญลักษณ์แทน
                     วิญญาณแห่ง
               เชน (1) ตอยู่บนจุอิสระ ด
                     หลุดพ้นเป็น
                     สถิ         ดสูงสุ
                     ของเอกภพ
รูปของ   มหาวีระ ผู้เป็นศาสดาองค์สดท้าย
                                   ุ
       ทิคมพร – รูปติดถังกรเปลือยกาย
           ั
       เศวตัมพร – รูปติดถังกรนุ่งห่มผ้า




  สัญ ลัก ษณ์ข องศาสนา
          เชน (2)
ความเหมือ น -ความแตกต่า ง
ระหว่า ง ศาสนาเชนกับ พุท ธ
ความเหมือ นกับ พระพุท ธ
         ศาสนา
๑. เป็น อเทวนิย ม
๒. เน้น อหิง สาธรรม – เมตตา
๓. ปฏิเ สธระบบวรรณะ คัม ภีร ์แ ละ
 ความศัก ดิ์ส ท ธิข องพระเวท
                ิ ์
๔. เชือ เรื่อ ง “กรรม ”(ความดีต ้อ ง
      ่
 มาจากดี)
๕. ยอมรับ ใน “สัง สารวัฏ ”และ
 “การหลุด พ้น ”         (นิร วาณ-
 นิพ พาน)
ความแตกต่า งจากพระพุท ธ
ศาสนา
 ๑. คำา สอนยึด ถือ
  “อัต ตา ”(วิญ ญาณของบุค คล
  เป็น นิร ัน ดร)ส่ว นพุท ธศาสนา
  เป็น “อนัต ตา
 ๒. เน้น หลัก อหิง สาธรรมมากกว่า
  พระพุท ธศาสนา (เชนถือ ว่า
  อหิง สาธรรมเป็น มงกุฎ ของ
  ศาสนานี้)
“โครงสร้า งพระไตรปิฎ ก”
    พระวิน ย
           ั    พระสุต ตัน ต   พระอภิธ รรม
     ปิฎ ก         ปิฎ ก          ปิฎ ก


๑.มหาวิภ ัง ค์ ทีฆ นิก าย ธัม มสัง คณี
             ๑.          ๑.
                         ๒. วิภ ัง ค์
๒.ภิก ขุน ีว ๒.มัช ฌิม นิก าย
             ิภ ัง ค์
                         ๓. ธาตุก ถา
๓.มหาวรรค ง ยุต ตนิก าย
             ๓.สั
                         ๔. ปุค คลบัญ ญัต ิ
๔.จุล ลวรรค ง คุต รนิ๕.าย ต ถุ
             ๔.อั        ก กถาวั
๕.ปริว าร ๕.ขุท ทกนิก าย ๖. ยมก
                          ๗. ปัฏ ฐาน
โครงสร้า งมัช ณิม นิก าย
      มูล
                มัช ณิม      อุป ริ
   ปัณ ณาส    ปัณ ณาสก์   ปัณ ณากส์
      ก์
                อภยราช
๑.มูล ปริย าวรรคมารสูต๑. เทวทหวรรค
            ๑.คหปติว รรค
               กุ     ร
๒.สีห นาทวรรค ขุว รรค อนุป ทวรรค
          ๒.ภิก    ๒.
๓.โอปัม มวรรคพ พาชกวรรค ญตวรรค
          ๓.ปริ    ๓. สุญ
          ๔.ราชวรรค วิภ ัง ควรรค
๔.มหายกวรรค        ๔.
๕.จูฬ ยมกวรรค      ๕. สฬายตวรรค
          ๕.พราหมณวรรค
นิครนถนาฏบุตร ได้สอน อภยราชกุม ารให้ไป
               ถามพระผู้มีพระภาค
เกี่ยวกับการกล่าววาจา ซึ่งนิครนถนาฏบุตรกล่าว
                        ว่า
 พระตถาคตเคยพูนอย่างนี้แล้ว พระสมณโคดม
ถ้าถามปัญหา ๒ เงื่อ ด วาจาที่ไ ม่เ ป็น ที่ร ัก ไม่
 เป็น ที่พ อใจของคนอื่นคายไม่อ อก
            จะกลืน ไม่เ ข้า หรือ ไม่ไม่เ คย
      เคยพูด
                                     พูด
                             จะย้อนได้ว่า เหตุไฉน
ท่านกับปุถุชนจะต่าง          จึงว่ากล่าวพระเทวทัต
กันอย่างไรกัน เพราะ             อย่างรุนแรง จน
แม้ปถุชนก็กล่าววาจา
    ุ                         พระเทวทัตโกรธไม่
ในข้อนี้ มิใช่ปัญหาที่พง
                                                ึ
พระตถาคตเคยพูด
                         ตอบโดยแง่เดียว
วาจาทีไ ม่เ ป็น ทีร ัก
         ่        ่
                          ( คือตรัสทังสองอย่างโดย
                                     ้
ไม่เ ป็น ทีพ อใจของคน
           ่
                                 ควรแก่เหตุ)
อื่น หรือ ไม่
ถ้านำาออกในเบื้องแรก     เด็กทีอมเอาไม้หรือ
                               ่
        ไม่ได้           กระเบื้องเข้าไปใน
ก็ต้องประคองจับศีรษะ      ปาก เพราะความ
 ด้วยมือซ้าย งอนิ้วนำา   พลั้งเผลอของท่าน
ของออกมาด้วยมือขวา       หรือแม่นม ท่านจะ
 แม้จะพร้อมกับโลหิต
 ด้วย เพราะต้องการ
                              ทำาอย่างไร
     ช่วยเหลือเด็ก
ตถาคตก็ฉนนัน
               ั ้       คำาใดจริง แท้
เหมือนกัน ทราบว่า        ประกอบ
    วาจาใดไม่จริง        ด้วยประโยชน์
 ไม่แท้ ไม่ประกอบ        แม้ไม่เป็นทีรัก
                                     ่
ด้วยประโยชน์ หรือ        ไม่เป็นทีพอใจ
                                   ่
     จริง แท้ แต่ไม่     ของคนอื่น
      ประกอบด้วย         ตถาคตย่อมรู้
 ประโยชน์ และไม่         กาลทีจะกล่าว
                               ่
    เป็นทีรักไม่เป็น
          ่              วาจานัน ้
ทีพอใจของคนอื่น
  ่
 ก็ไม่กล่าววาจานัน   ้
ากสูตรนี้เราได้ทราบว่าสิงที่พระพุทธเจ้าทรงสอนและไม่ทรงสอน มีด
                        ่

                                 คนไม่ชอบ
        ไม่จริง --ไม่มประโยชน์
                      ี                          ไม่สอน
                                  คนชอบ
                                 คนไม่ชอบ
                 ไม่มีประโยชน์                   ไม่สอน
                                  คนชอบ
        จริง
                                 คนไม่ชอบ
                   มีป ระโยชน์                  รู้เ วลาสอน
                                  คนชอบ
ความเหมือ น -ความแตกต่า ง
  ระหว่า ง ศาสนาเชนกับ
     พราหมณ์-ฮิน ดู
ความเหมือ นระหว่า งเชนกับ
 พราหมณ์ - ฮิน ดู




เชน สอนเรื่อ งอาตมัน คล้า ยฮิน ดู
แต่แ ตกต่า งที่เ ชนเป็น อเทวนิย ม
ข้อ แตกต่า งระหว่า งเชนกับ
พราหมณ์ - ฮิน ดู
 1. เชนปฏิเ สธการมีอ ยู่ข องพระเจ้า ไม่เชื่อเรือง ่
พระเจ้าสร้างโลก ไม่เชื่อเรื่องการอ้อนวอนให้พระเจ้ามา
ช่วย แต่เชื่อในการกระทำาของตนเอง ไม่มีการบูชา
พระเจ้า แต่มีการบูชากราบไหว้ชีวะบริสุทธิทั้งหลายที่
                                           ์
เข้าถึงการหลุดพ้นสมบูรณ์ 5 ประเภท คือ (1) อรหันต์
(2) สิทธะ (3) อาจาริยะ (4) อปาธยายะ (5) สาธุ และ
เชื่อว่าทุกสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นไปตามอำานาจของเหตุปัจจัยใน
ธรรมชาติ
 2. เชนปฏิเ สธฐานะของคัม ภีร ์พ ระเวท เนืองจาก ่
หากถือกันว่าคัมภีร์พระเวทเป็นการเปิดเผยสัจจะจาก
พระเจ้า (ศรุติ) ดังนันปรัชญาเชนที่ปฏิเสธถึงความมีอยู่
                         ้
ของพระเจ้า ย่อมปฏิเสธฐานะความสำาคัญของคัมภีร์
พระเวทไปโดยปริยาย
ข้อ แตกต่า งระหว่า งเชนกับ
 พราหมณ์ - ฮิน ดู
 3. เชนปฏิเ สธการแบ่ง ชั้น วรรณะ มีการให้เสรีภาพ
ภราดรภาพ และความเสมอภาค (แต่ก็ยังมีการแบ่งแยกใน
เรื่องของเพศอยู่) แก่ ศาสนิกชนทุกๆ คน เชนเชื่อว่า ความ
ดี - ความชั่วเป็นผลิตผลมาจากการกระทำาของตน ชาติ
ตระกูลมิใช่สิ่งที่วดความดี - ความชั่ว มณีภัทรซึ่งเป็น
                   ั
อาจารย์ที่มีชื่อเสียงมากของเชน ได้สอนศิษย์มิให้ยกตนข่ม
ท่านว่าศาสนาของตนประเสริฐที่สุด และไม่ให้ตั้งตนเป็น
ปฏิปักษ์ต่อศาสนาอืนๆ ซึ่งก็นับว่าเป็นแนวคิดทีเปิดกว้างพอ
                     ่                       ่
สมควร
 4. เชนเน้น ประโยชน์ใ นชีว ิต นี้ ไม่เน้นเรื่องการหวัง
ผลในชาติหน้า แม้ในการปฏิบัติก็ไม่ให้สาวกคิดหวังว่าตาย
แล้วจะได้ไปสวรรค์ การคิดเช่นนี้ถือว่าเป็นบาปและต้องผิด
ศีล เพราะใจเกิดกิเลส - ตัณหา
สถานการณ์ใ นปัจ จุบ ัน
 ศาสนาเชนมีอยู่เฉพาะในอินเดียเท่านัน ไม่ได้แพร่
                                     ้
หลายไปสู่ประเทศใกล้เคียงอื่นๆ เหมือนอย่างพุทธ
ศาสนาหรือศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ซึงเหตุผลประการ
                                   ่
สำาคัญก็คงจะมาจากการทีจำานวน ศาสนิกของศาสนา
                       ่
เชนมีจำานวนไม่มากนัก เมือเปรียบเทียบกับทัง 2
                         ่               ้
ศาสนาข้างต้น
สถานการณ์ใ นปัจ จุบ ัน
     นอกจากนัน การทีศาสนาเชนสอนไปใน
               ้       ่
      ทางทรมานตนเองให้ลำาบาก (อัตตกิลม
      ถานุโยค) ดังเช่น การกระทำาตนเป็นชี
       เปลือย หรือการกระทำาบางอย่างที่ผิด
     จากสามัญวิสยของมนุษย์ทอยูรวมกันใน
                  ั           ี่ ่
     สังคม ทำาให้บุคคลโดยทัวไปขาดศรัทธา
                            ่
     ทีจะมีต่อศาสนานี้ ด้วยเหตุผลเหล่านีจึง
        ่                               ้
     ทำาให้ศาสนาเชนไม่ได้รับความนิยมเท่า
                     ทีควร
                         ่
สถานการณ์ใ นปัจ จุบ ัน
                                      ส่ว นนิก ายเศวตามพร
                                       นั้นมีอยู่ในแคว้นคุชราต
                                         และแคว้นราชปุตตนะ
                                      ตะวันตก นอกจากนั้นยังมี
                                       อยู่อย่างกระจัดกระจาย
                                      ทั่วไปในอินเดียภาคเหนือ
                                             และภาคกลาง


จำานวนศาสนิกของศาสนาเชนตาม
สถิตินั้น มีไม่ถึง 10 ล้านคน โดยผู้
ถือ นิก ายทิค ัม พรส่วนใหญ่มีอยู่ใน
อินเดียภาคใต้ และมีอยู่บ้างใน
อินเดียภาคเหนือ ในจังหวัดทางภาค
ตะวันตกเฉียงเหนือ ในราชปุตตนะ
ชีวิตทุกชีวิตย่อมเกลียด
       ความเจ็บปวด
เพราะฉะนั้นอย่าทำาร้ายเขา
        หรือฆ่าเขา

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 

Mais procurados (20)

ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 

Semelhante a 03ศาสนาเชน...ใหม่ 007

ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypracticeTongsamut vorasan
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีTheeraphisith Candasaro
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 

Semelhante a 03ศาสนาเชน...ใหม่ 007 (20)

ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007

  • 1. ศาสนาเชน นัก อหิง สาต่อ ความศัก ดิ์ส ิท ธิ์ข อง ชีว ิต การเปลือ ยกายเพื่อ ละกิเ ลส การเปลือ ยกายเพื่อ ยั่ว ยวน กิเ ลส อะไรคือ ความแตกต่า ง
  • 2. “ ยุคทอง แห่ง ปัญญา ”
  • 3. โสเกรตีส พ.ศ. 73-144 เพลโต พ.ศ. 116-196 อริส โตเติล พ.ศ. 159-221 กรีก มหาวีร ะ พระพุท ธเจ้า 80ปีก่อนพ.ศ. จี น อิน เ ดีย ธาเลส 81-3 ปีก่อน พ.ศ. เหลาจื่อ ขงจื่อ 8ปีกอนพ.ศ.-พ.ศ.74 ่
  • 5. ศาสนาเชน ถือกำาเนิดขึ้นในประเทศ อินเดียเมื่อประมาณ 2500 ปีล่วงมาแล้ว หรือร่วมสมัยเดียวกันกับพระพุทธองค์ ดัง ปรากฏหลักฐานตามพระไตรปิฎกในนาม ของ “ นิครณฐนาฏบุตร” (บุตรของนัก ฟ้อน) เป็น 1 ใน 6 คุรุ ของลัทธิที่มีชื่อ ลัก ษณะโดยทั่ว ไป เสียงในสมัยพุทธกาล ศาสนาเชนจัดได้ว่าเป็นศาสนาในแบ บอเทวนิย ม (Atheism) ซึ่ง ถือ กำา เนิด ขึ้น เพื่อ ปฏิเ สธฐานะของศาสนา พราหมณ์ – ฮิน ดู เช่น เดีย วกัน กับ พระพุท ธศาสนา แต่ในรายละเอียด ของหลักคำาสอนบางเรื่อง เช่น เรื่องของ กรรม หรือความเป็นอมตะของวิญญาณ (อัตตา) นั้น มีความแตกต่างจากพุทธ
  • 6.  เกิด ควบคู่ก ัน มากับ พระพุท ธศาสนา  จัด เป็น ศาสนาประเภทศาสนาถิ่น /ชาติข อง ชนชาติอ ิน เดีย ทางภาคเหนือ  บำา เพ็ญ ตบะด้ว ยวิธ ีต ่า งๆ โดยเฉพาะการ ทรมานร่า งกาย (อัต ตกิล มถานุโ ยค )  ปัจ จุบ ัน มีศ าสนิก ชนน้อ ยลงเรื่อ ยๆ (มีป ระมาณ 1 ล้า น 5 แสนคน )  คัม ภีร ์เ รีย กชื่อ ว่า อาคม (หมายถึง ศีล )  เป็น นัก มัง สวิร ัต ิ (อาชีพ พวกพระ ครูอ าจารย์ ศิล ปิน พ่อ ค้า นัก ธุร กิจ นายธนาคาร )  มีศ าสดามาแล้ว ถึง ๒๔ องค์  ศาสดาองค์แ รก ชื่อ “ฤษภะ ” องค์ส ุด ท้า ยชื่อ “มหาวีร ะ ”(เจ้า ชายวรรธมาน)  ศาสดาเรีย กว่า “ตีร ถัง กร ” (ผู้ก ระทำา ซึ่ง ท่า )
  • 7. เชน หรือ ชิน ะแปลว่า ผู้ช นะ (หมายถึง การชนะตัว เอง) เป็น การชนะด้ว ยวิน ัย แห่ง การควบคุม ตัณ หาของตน อย่า งเข้ม งวด  “บุค คลผู้ช นะตนเองได้ ย่อ มชนะทุก อย่า งซึ่ง เป็น ความชนะที่ค ุ้ม ค่า ”  “มัน เป็น การยากที่จ ะ เอาชนะตัว เองได้ แต่เ มื่อ ใดเอาชนะได้แ ล้ว ทุก อย่า ง ก็ถ ูก เอาชนะได้ด ้ว ย
  • 8. มหาวีร ะ : ศาสดา ศาสนาเชน
  • 9. ใหม่ว ่า “มหา วีร ะ ” แปลว่า ผูก ล้า ้ หาญ
  • 10. อภิเ ษกสมรส เมือ อายุ 19 พร ่ กับ เจ้า หญิง ยโสธรา มีธ ิด า 1 อ ออกผนวช เมื่อ อายุ 30 พรรษา
  • 11. ทรงบรรลุ ธรรมสูง สุด ทีช ื่อ ว่า ่ “ไกวัล ” และทรง ได้พ ระนาม ว่า พระชิ นะ คือ ผู้ ชนะ (กิเ ลส ในใจทั้ง
  • 13. ปัจ ฉิม เทศนา ปริน พ พานเมือ ิ ่ พระชนมายุไ ด้ 72 พรรษา ใน วัน ที่ศ าสดา มหาวีร ะ ปริน พ พาน ิ คัม ภีร ์ข องเชน ระบุว ่า มี นัก บวชราว
  • 14. จริย ศาสตร์(บัญ ญัต ิ ๕ ประการ ) a.อหิง สา = การไม่ฆ ่า ไม่เ บีย ดเบีย น ไม่ท ำา ร้า ยสัต ว์ ๒. สัต ยะ = ซื่อ สัต ย์ ทั้ง ห้า ข้อ รวมแล้ว เรีย กว่า พรต = วัต ร ๓. อัส ตีย ะ =ไม่ล ัก ขโมย การปฏิบ ัต ิข องนัก บวช หลบหนีภ าษี เรีย กว่า “มหาพรต” การปฏิบ ัต ิข องคฤหัส ถ์ ๔. พรหมจริย ะ = เว้น เรีย กว่า “อนุพ รต” จากกามสุข นัก บวชที่ป ฏิบ ัต ิเ คร่ง ครัด เรีย กว่า “สาธุ สาธนี” ๕. อปริค หะ = ไม่โ ลภ
  • 15. ติร ัต นะของเชน อปฏิบติเพื่อบรรลุโมกษะ เรียกว่า ไตรรัตน์ หรือ ติรัตนะ ั มายถึง แก้ว 3 ประการ ได้แก่ 1. สัม ยัค ทรรศนะ คือ ความเห็น ชอบ 2. สัม ยัค ชฺญ าน คือ ความรู้ช อบ 3. สัม ยัค จาริต คือ ความประพฤติ ชอบ
  • 16. วจนะและสุภ าษิต ของเชน จงรู้วาอะไรเป็นเหตุผูกมัดวิญญาณ และเมื่อรู้ ่ ก็จงพยายามขจัดออกไป นกติดอยู่ในกรงย่อมออกจากกรงไม่ ได้ฉันใด บุคคลผู้เขลาต่อความถูก และความผิดก็ย่อมออกจากความ ระทมทุกข์ไม่ได้ฉันนั้น มีทางทำาบาปอยู่ 3 ทาง คือโดยการก ระทำาของเรา โดยการสนับสนุนคน อื่น โดยการเห็นด้วย ความนิ่งมีอำานาจ ชีวิตทุกชีวิตออมเกลียดความ เหนื ย่ คำาพูด เจ็บปวด เพราะฉะนันอย่าทำาร้ายเขา ้ หรือฆ่าเขา นีเป็นแก่นสารแห่งปัญญา ไม่ ่
  • 17. วจนะและสุภ าษิต ของเชน ความเหย่อหยิงเป็นหนามที่ ่ บางมาก แต่เป็นเรื่องยากที่จะดึงออก คนควรปฏิบติต่อสัตว์โลก ั ทั้งหมดในโลก ดังเช่นตัวเอง ชอบที่จะให้ผู้อื่น ปฏิบติต่อตน ฯลฯ ั
  • 18.  ศาสนาเชนยึด อหิง สาธรรมและชีว ิต สัน โดษ Non-violence  ศาสนาเชนถือ ว่า “ชีว ิต ทีด ีจ ะสามารถมี ่ ขึ้น ได้ก ็โ ดยการรู้จ ัก หัก ห้า ม ตนเอง เท่า นัน เพราะตัณ หาเป็น เหตุแ ห่ง ทุก ข์ท ง ้ ั้ ปวง ”  วิญ ญาณทีห นัก ด้ว ยบาปจะจมสู่ ่ นรก...วิญ ญาณทีเ บาบริส ุท ธิ์จ ะลอย ่ ขึ้น สวรรค์จ นเข้า สูน ร วาณ ” ่ ิ
  • 19. นิกาย ภายหลังการสินชีวิตของศาสดามหาวีระ ศาสนาเชน ้ ได้มการแตกแยกออกเป็น 2 นิกาย ได้แก่ ี ๑. ทิคัมพร – เปลือยกาย ๒. เศวตัมพร – นุ่งห่มผ้าขาว ซึ่งหลักคำาสอนของนิกายทั้ง 2 นั้น โดยเนื้อหาสาระ แล้วมีความแตก ต่างกันไม่มากนัก จะแตกต่างกันก็เพียงรายละเอียดปลีกย่อยเท่านั้น
  • 20.  ๑. ทิค ัม พร – เปลือยกาย มีลักษณะเด่นๆโดยสังเขปดังนี้  อนุรักษ์นิยม, เจริญอยู่ทางตอนใต้ ของอินเดีย  มีอาภรณ์เป็นอากาศอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากทัศนะทีถือว่าการเป็น ่ นักบวชจำาเป็นที่จะต้องสละทุกสิ่งทุก อย่างไม่สามารถถือครองสิ่งใดได้  แนวคิดของนิกายนี้มีลักษณะแบบ “อัตตกิลมถานุโยค” มีการทรมาน ตนเองในหลากหลายลักษณะ โดย ถือเป็นการบำาเพ็ญตบะขั้นอุกฤษฏ์ อันจะทำาให้กเลสและกรรมเก่าหมด ิ ไปจนสามารถเข้าถึงโมกษะได้ใน ทีสุด ่  นิกายนี้มีความเชื่อว่า ผู้ชายเท่านั้น จึงจะสามารถบรรลุโมกษะได้ ส่วนผู้ หญิงจำาเป็นที่จะต้องอธิษฐานให้เกิด
  • 22. ๒. เศวตัม พร–นุ่งห่มผ้าขาว มีลักษณะเด่นๆโดยสังเขปดังนี้ เจริญอยู่ทางตอนเหนือ ของอินเดีย อาภรณ์สีขาว ไม่กระทำาตน เป็นชีเปลือยเหมือนพวก ทิคัมพร แนวทางในการปฏิบัติของ นิกายนี้ จะไม่เคร่งครัด เท่ากับนิกายทิคัมพร เช่น แก้ บทบัญญัติแห่งการเปลือย กายไม่ให้ตึงเกินไป นิกายนี้มีความเห็นว่า ผู้ หญิงมีศักยภาพในการบรรลุ โมกษะได้เช่นเดียวกับผู้ชาย พุทธศาสนาเรียกว่า
  • 23. ภาพนักบวชชายและนักบวชหญิง (ขวาสุด) ในนิกาย เศวตามพร
  • 24. ข้อ สัง เกต ๑. การแบ่งแยกนิกาย นอกจากอิทธิพลของ กาลเวลาแล้ว สภาพแวดล้อ มก็มส่วน ี สำาคัญ ๒. ผู้ห ญิง สำา เร็จ เป็น สิท ธาได้ ก็เพราะบาง นิกาย (เศวตัม พร) มีติดถังกรเป็นผู้หญิง ๓. นักบวชทุกท่านต้องถอนผมของตนด้วย ทางตาลหรือมือ แทนการโกนเพือพิส ูจ น์่ ความอดทน ๔. ศาสนาเชนยกย่องการปฏิบัติแบบ  อัตตกิลมถานุโลก เช่น การนิยมอดอาหาร (ถือเป็นการตายทีบริสุทธิ์) ่
  • 25. คัม ภีร ท างศาสนา ์ ศาสนาเชน เรียกคัมภีร์ทางศาสนาว่า “ อาคม” มีอยู่ ประมาณ 50 เล่ม แต่งเป็นภาษาสันสกฤตบ้าง ภาษา อรรธมาคธีบ้าง ภาษาประกฤตบ้าง ประกอบด้วยอังคะ (Section) ต่างๆ ซึ่งในบางอังคะ สาวกของศาสดา มหาวีระได้แต่งขึ้นมาในภายหลัง ซึงตัวคัมภีร์โดย ่ สาระสำาคัญนัน ้ มีหลัชีวีตของมนุษย์ทั้งปวงเป็นทุกข์ จึงต้องปฏิบัติตามวิถีพรต 1. กใหญ่ใจความอยู่ 3 ประการ คือ เพื่อมุ่งเข้าสู่ไกรวัลย์ อันเป็นการดับทุกข์โดยสมบูรณ์ 2. สัวสารวัฏพันธนาการชีวะไว้ด้วยอนุภาคแห่ง กรรม จำาเป็นต้องชำาระชีวะให้บริสุทธิ์ เรียกว่า “มุกตะชีวะ” 3. การปฏิบัติหน้าที่ประจำาวันตามสถานะ (คฤหัสถ์, บรรพชิต) ของตน
  • 26. สัญ ลัก ษณ์ข องศาสนาเชน รูป แบบที่ 1 เป็นรูปฝ่ามือนี้เป็นที่นิยมมากที่สุดในกลุ่มศาสนิ กชนชาวเชน รูป แบบที่ 2 สร้างขึ้นใหม่ในโอกาสครบรอบ 2,500 ปี การ นิพพานของศาสดามหาวีระ
  • 27. ศาสนาเชนถือเอารูป กระบอกทรงตั้ง ภายใน บรรจุสัญลักษณ์ 4 รูปกงจักร 1. ประการ พร้อมความ หมาย ดังนี้ สัญลักษณ์ของ อหิงสา วางบนฝ่ามือ 2. รูปสวัสดิกะ สัญลักษณ์ของ สังสาระ 3. จุด 3 จุด สัญลักษณ์แทนความ เห็นชอบ รู้ชอบ ประพฤติชอบ 4. จุด 1 จุด ตอนบน สัญ ลัก ษณ์ข องศาสนาความ สุด สัญลักษณ์แทน วิญญาณแห่ง เชน (1) ตอยู่บนจุอิสระ ด หลุดพ้นเป็น สถิ ดสูงสุ ของเอกภพ
  • 28. รูปของ มหาวีระ ผู้เป็นศาสดาองค์สดท้าย ุ  ทิคมพร – รูปติดถังกรเปลือยกาย ั  เศวตัมพร – รูปติดถังกรนุ่งห่มผ้า สัญ ลัก ษณ์ข องศาสนา เชน (2)
  • 29. ความเหมือ น -ความแตกต่า ง ระหว่า ง ศาสนาเชนกับ พุท ธ
  • 30. ความเหมือ นกับ พระพุท ธ ศาสนา ๑. เป็น อเทวนิย ม ๒. เน้น อหิง สาธรรม – เมตตา ๓. ปฏิเ สธระบบวรรณะ คัม ภีร ์แ ละ ความศัก ดิ์ส ท ธิข องพระเวท ิ ์ ๔. เชือ เรื่อ ง “กรรม ”(ความดีต ้อ ง ่ มาจากดี) ๕. ยอมรับ ใน “สัง สารวัฏ ”และ “การหลุด พ้น ” (นิร วาณ- นิพ พาน)
  • 31. ความแตกต่า งจากพระพุท ธ ศาสนา ๑. คำา สอนยึด ถือ “อัต ตา ”(วิญ ญาณของบุค คล เป็น นิร ัน ดร)ส่ว นพุท ธศาสนา เป็น “อนัต ตา ๒. เน้น หลัก อหิง สาธรรมมากกว่า พระพุท ธศาสนา (เชนถือ ว่า อหิง สาธรรมเป็น มงกุฎ ของ ศาสนานี้)
  • 32. “โครงสร้า งพระไตรปิฎ ก” พระวิน ย ั พระสุต ตัน ต พระอภิธ รรม ปิฎ ก ปิฎ ก ปิฎ ก ๑.มหาวิภ ัง ค์ ทีฆ นิก าย ธัม มสัง คณี ๑. ๑. ๒. วิภ ัง ค์ ๒.ภิก ขุน ีว ๒.มัช ฌิม นิก าย ิภ ัง ค์ ๓. ธาตุก ถา ๓.มหาวรรค ง ยุต ตนิก าย ๓.สั ๔. ปุค คลบัญ ญัต ิ ๔.จุล ลวรรค ง คุต รนิ๕.าย ต ถุ ๔.อั ก กถาวั ๕.ปริว าร ๕.ขุท ทกนิก าย ๖. ยมก ๗. ปัฏ ฐาน
  • 33. โครงสร้า งมัช ณิม นิก าย มูล มัช ณิม อุป ริ ปัณ ณาส ปัณ ณาสก์ ปัณ ณากส์ ก์ อภยราช ๑.มูล ปริย าวรรคมารสูต๑. เทวทหวรรค ๑.คหปติว รรค กุ ร ๒.สีห นาทวรรค ขุว รรค อนุป ทวรรค ๒.ภิก ๒. ๓.โอปัม มวรรคพ พาชกวรรค ญตวรรค ๓.ปริ ๓. สุญ ๔.ราชวรรค วิภ ัง ควรรค ๔.มหายกวรรค ๔. ๕.จูฬ ยมกวรรค ๕. สฬายตวรรค ๕.พราหมณวรรค
  • 34. นิครนถนาฏบุตร ได้สอน อภยราชกุม ารให้ไป ถามพระผู้มีพระภาค เกี่ยวกับการกล่าววาจา ซึ่งนิครนถนาฏบุตรกล่าว ว่า พระตถาคตเคยพูนอย่างนี้แล้ว พระสมณโคดม ถ้าถามปัญหา ๒ เงื่อ ด วาจาที่ไ ม่เ ป็น ที่ร ัก ไม่ เป็น ที่พ อใจของคนอื่นคายไม่อ อก จะกลืน ไม่เ ข้า หรือ ไม่ไม่เ คย เคยพูด พูด จะย้อนได้ว่า เหตุไฉน ท่านกับปุถุชนจะต่าง จึงว่ากล่าวพระเทวทัต กันอย่างไรกัน เพราะ อย่างรุนแรง จน แม้ปถุชนก็กล่าววาจา ุ พระเทวทัตโกรธไม่
  • 35. ในข้อนี้ มิใช่ปัญหาที่พง ึ พระตถาคตเคยพูด ตอบโดยแง่เดียว วาจาทีไ ม่เ ป็น ทีร ัก ่ ่ ( คือตรัสทังสองอย่างโดย ้ ไม่เ ป็น ทีพ อใจของคน ่ ควรแก่เหตุ) อื่น หรือ ไม่
  • 36. ถ้านำาออกในเบื้องแรก เด็กทีอมเอาไม้หรือ ่ ไม่ได้ กระเบื้องเข้าไปใน ก็ต้องประคองจับศีรษะ ปาก เพราะความ ด้วยมือซ้าย งอนิ้วนำา พลั้งเผลอของท่าน ของออกมาด้วยมือขวา หรือแม่นม ท่านจะ แม้จะพร้อมกับโลหิต ด้วย เพราะต้องการ ทำาอย่างไร ช่วยเหลือเด็ก
  • 37. ตถาคตก็ฉนนัน ั ้ คำาใดจริง แท้ เหมือนกัน ทราบว่า ประกอบ วาจาใดไม่จริง ด้วยประโยชน์ ไม่แท้ ไม่ประกอบ แม้ไม่เป็นทีรัก ่ ด้วยประโยชน์ หรือ ไม่เป็นทีพอใจ ่ จริง แท้ แต่ไม่ ของคนอื่น ประกอบด้วย ตถาคตย่อมรู้ ประโยชน์ และไม่ กาลทีจะกล่าว ่ เป็นทีรักไม่เป็น ่ วาจานัน ้ ทีพอใจของคนอื่น ่ ก็ไม่กล่าววาจานัน ้
  • 38. ากสูตรนี้เราได้ทราบว่าสิงที่พระพุทธเจ้าทรงสอนและไม่ทรงสอน มีด ่ คนไม่ชอบ ไม่จริง --ไม่มประโยชน์ ี ไม่สอน คนชอบ คนไม่ชอบ ไม่มีประโยชน์ ไม่สอน คนชอบ จริง คนไม่ชอบ มีป ระโยชน์ รู้เ วลาสอน คนชอบ
  • 39. ความเหมือ น -ความแตกต่า ง ระหว่า ง ศาสนาเชนกับ พราหมณ์-ฮิน ดู
  • 40. ความเหมือ นระหว่า งเชนกับ พราหมณ์ - ฮิน ดู เชน สอนเรื่อ งอาตมัน คล้า ยฮิน ดู แต่แ ตกต่า งที่เ ชนเป็น อเทวนิย ม
  • 41. ข้อ แตกต่า งระหว่า งเชนกับ พราหมณ์ - ฮิน ดู 1. เชนปฏิเ สธการมีอ ยู่ข องพระเจ้า ไม่เชื่อเรือง ่ พระเจ้าสร้างโลก ไม่เชื่อเรื่องการอ้อนวอนให้พระเจ้ามา ช่วย แต่เชื่อในการกระทำาของตนเอง ไม่มีการบูชา พระเจ้า แต่มีการบูชากราบไหว้ชีวะบริสุทธิทั้งหลายที่ ์ เข้าถึงการหลุดพ้นสมบูรณ์ 5 ประเภท คือ (1) อรหันต์ (2) สิทธะ (3) อาจาริยะ (4) อปาธยายะ (5) สาธุ และ เชื่อว่าทุกสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นไปตามอำานาจของเหตุปัจจัยใน ธรรมชาติ 2. เชนปฏิเ สธฐานะของคัม ภีร ์พ ระเวท เนืองจาก ่ หากถือกันว่าคัมภีร์พระเวทเป็นการเปิดเผยสัจจะจาก พระเจ้า (ศรุติ) ดังนันปรัชญาเชนที่ปฏิเสธถึงความมีอยู่ ้ ของพระเจ้า ย่อมปฏิเสธฐานะความสำาคัญของคัมภีร์ พระเวทไปโดยปริยาย
  • 42. ข้อ แตกต่า งระหว่า งเชนกับ พราหมณ์ - ฮิน ดู 3. เชนปฏิเ สธการแบ่ง ชั้น วรรณะ มีการให้เสรีภาพ ภราดรภาพ และความเสมอภาค (แต่ก็ยังมีการแบ่งแยกใน เรื่องของเพศอยู่) แก่ ศาสนิกชนทุกๆ คน เชนเชื่อว่า ความ ดี - ความชั่วเป็นผลิตผลมาจากการกระทำาของตน ชาติ ตระกูลมิใช่สิ่งที่วดความดี - ความชั่ว มณีภัทรซึ่งเป็น ั อาจารย์ที่มีชื่อเสียงมากของเชน ได้สอนศิษย์มิให้ยกตนข่ม ท่านว่าศาสนาของตนประเสริฐที่สุด และไม่ให้ตั้งตนเป็น ปฏิปักษ์ต่อศาสนาอืนๆ ซึ่งก็นับว่าเป็นแนวคิดทีเปิดกว้างพอ ่ ่ สมควร 4. เชนเน้น ประโยชน์ใ นชีว ิต นี้ ไม่เน้นเรื่องการหวัง ผลในชาติหน้า แม้ในการปฏิบัติก็ไม่ให้สาวกคิดหวังว่าตาย แล้วจะได้ไปสวรรค์ การคิดเช่นนี้ถือว่าเป็นบาปและต้องผิด ศีล เพราะใจเกิดกิเลส - ตัณหา
  • 43. สถานการณ์ใ นปัจ จุบ ัน ศาสนาเชนมีอยู่เฉพาะในอินเดียเท่านัน ไม่ได้แพร่ ้ หลายไปสู่ประเทศใกล้เคียงอื่นๆ เหมือนอย่างพุทธ ศาสนาหรือศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ซึงเหตุผลประการ ่ สำาคัญก็คงจะมาจากการทีจำานวน ศาสนิกของศาสนา ่ เชนมีจำานวนไม่มากนัก เมือเปรียบเทียบกับทัง 2 ่ ้ ศาสนาข้างต้น
  • 44. สถานการณ์ใ นปัจ จุบ ัน นอกจากนัน การทีศาสนาเชนสอนไปใน ้ ่ ทางทรมานตนเองให้ลำาบาก (อัตตกิลม ถานุโยค) ดังเช่น การกระทำาตนเป็นชี เปลือย หรือการกระทำาบางอย่างที่ผิด จากสามัญวิสยของมนุษย์ทอยูรวมกันใน ั ี่ ่ สังคม ทำาให้บุคคลโดยทัวไปขาดศรัทธา ่ ทีจะมีต่อศาสนานี้ ด้วยเหตุผลเหล่านีจึง ่ ้ ทำาให้ศาสนาเชนไม่ได้รับความนิยมเท่า ทีควร ่
  • 45. สถานการณ์ใ นปัจ จุบ ัน ส่ว นนิก ายเศวตามพร นั้นมีอยู่ในแคว้นคุชราต และแคว้นราชปุตตนะ ตะวันตก นอกจากนั้นยังมี อยู่อย่างกระจัดกระจาย ทั่วไปในอินเดียภาคเหนือ และภาคกลาง จำานวนศาสนิกของศาสนาเชนตาม สถิตินั้น มีไม่ถึง 10 ล้านคน โดยผู้ ถือ นิก ายทิค ัม พรส่วนใหญ่มีอยู่ใน อินเดียภาคใต้ และมีอยู่บ้างใน อินเดียภาคเหนือ ในจังหวัดทางภาค ตะวันตกเฉียงเหนือ ในราชปุตตนะ
  • 46. ชีวิตทุกชีวิตย่อมเกลียด ความเจ็บปวด เพราะฉะนั้นอย่าทำาร้ายเขา หรือฆ่าเขา

Notas do Editor

  1. ตราเมืองฮารัปปา อารยธรรมโมเหนโจดาโร คันธาระ
  2. อภิเษกสมรส เมื่ออายุ 19 พรรษา
  3. รูปแบบที่เป็นรูปฝ่ามือนี้เป็นที่นิยมมากที่สุดในกลุ่มศาสนิกชนชาวเชน
  4. สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอนนั้นคือ จริง มีประโยชน์ เหมาะสมแก่กาลเทศะ