SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
Baixar para ler offline
บทความทางวิชาการ ครั้งที่ ๑
เรื่อง       ลักษณะบุคลิกภาพกับภาวะผูนา
                                     ้ ํ                                        .
ยศ/ชื่อ/สกุล. พ.อ.รัตนชัย สุ วรรณเทศ .หมายเลขประจําตัว. ๕๙๖๘ .หลักสู ตร. วปอ.๕๑ .


                             ลักษณะบุคลิกภาพกับภาวะผู้นํา
หลักการและเหตุผล
              จากการศึกษาวิจย พบว่า ร้อยละ ๗๕ ของภาวะผูนาจะส่ งผลต่อบรรยากาศในการทํางานที่ดี
                                ั                            ้ ํ
และร้อยละ ๕๐ ของบรรยากาศในการทํางาน จะส่ งผลต่อความสําเร็ จขององค์การ ดังนั้น จะเห็นได้วา        ่
“ภาวะผูนา” เป็ นปั จจัยที่สาคัญต่อความสําเร็ จขององค์การ แต่ในการทํางาน ผูนาจะใช้รูปแบบเดียวกับ
          ้ ํ              ํ                                                 ้ ํ
ทุกคนไม่ได้ จึงมีความจําเป็ นต้องศึกษาลักษณะบุคลิกภาพ เพื่อให้เข้าใจคน
              ลักษณะบุคลิกภาพของคน มีผลอย่างมากต่อพฤติกรรม การแสดงออก ความรู ้สึกนึกคิดของ
บุคคลผูน้ น หากสามารถทําความเข้าใจได้ ย่อมส่ งผลต่อความสามารถในการทํางานร่ วมกันได้อย่างมี
         ้ ั
ความสุ ข หรื อการบริ หารงานที่มีประสิ ทธิภาพ และได้รับการยอมรับว่าเป็ นผูที่มีความฉลาดทางอารมณ์
                                                                          ้
              การที่จะเป็ นผูมีความฉลาดทางอารมณ์ได้น้ น จะต้องมีความเข้าใจผูอื่นตลอดจนตนเองด้วย
                             ้                         ั                        ้
เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้
              ๑. รู ้เรา เพื่อพิจารณา ศึกษา วิเคราะห์ ทําความเข้าใจพฤติกรรมของตนเอง บนพื้นฐาน
ของความรู ้อย่างมีหลักการ เพือเข้าใจถึงจุดแข็ง จุดอ่อนของตนเอง
                                  ่
              ๒. รู ้เขา การรู ้เขา จะช่วยทําให้เข้าใจ ให้อภัย และเลือกใช้วธีการที่เหมาะสมในการ
                                                                              ิ
ติดต่อ เจรจา ประสานงาน หรื อโน้มน้าวจิตใจ เพือให้บรรลุผลสําเร็ จในเรื่ องต่าง ๆ ตลอดจนการสร้าง
                                                    ่
                     ั ้
สัมพันธภาพอันดีกบผูอื่น บนพื้นฐานของความเข้าใจเหล่านั้น
              ๓. รู ้ปรับ คือ การปรับตัวเอง โดยคํานึงถึงบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ฐานะ และ
ตําแหน่งทางการงาน นั้นก็คือ เมื่อรู ้จุดแข็ง จุดอ่อนของตนเองแล้ว จะต้องพยายามฝึ กที่จะปรับ ด้วยการ
เสริ มสร้างรักษาจุดแข็งของตนเอง และพัฒนาลักษณะนิสยและบุคลิกที่ยงเห็นว่าไม่เอื้อ ไม่สอดคล้อง
                                                           ั            ั
และไม่เสริ มต่อหน้าที่การงาน
              ๔. รู ้เลือก คือสามารถนําความรู ้มาประกอบการตัดสิ นใจพิจารณาเลือกคน ให้เหมาะกับงาน
เลือกมอบงานให้เหมาะกับความสามารถและบุคลิกภาพของคน เลือกใช้วิธีการให้เหมาะสมกับสภาพและ
สถานการณ์ โดยคํานึงถึงลักษณะบุคลิกภาพ ทั้งของตนเองและผูอื่นเป็ นสําคัญ
                                                               ้

ข้ อตกลงเบืองต้ น
           ้
             ในความเป็ นจริ ง มนุษย์แต่ละคนมีความเป็ นเอกลักษณ์เป็ นของตนเอง ถึงกระนั้นก็ตาม ได้
มีการศึกษาการจัดหมวดหมู่และการจัดกลุ่มบุคลิกภาพกว้าง ๆ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันมากที่สุด ด้วยการ
ทําความเข้าใจถึงพฤติกรรมการแสดงออก และการตอบสนองต่อสิ่ งเร้าที่เข้ามา อันจะช่วยให้สามารถทํา
ความเข้าใจได้อย่างกว้าง ๆ อย่างมีหลักการและเป็ นเหตุเป็ นผล
             ก่อนที่จะกล่าวถึงกลุ่มบุคลิกภาพแบบต่าง ๆ จะต้องทําความเข้าใจในประเด็นสําคัญ ดังนี้

บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑                                                       หลักสูตร วปอ.๕๑
-๒-
                ๑. มนุษย์แต่ละคนต่างก็ไม่เหมือนกัน การจัดกลุ่มนี้ ก็เพือช่วยให้ง่ายต่อความเข้าใจ
                                                                            ่
                ๒. ไม่มีบุคลิกภาพใดที่ดี หรื อไม่ดี เพียงแต่เป็ นเรื่ องของความแตกต่างของมนุษย์อีกประการ
หนึ่งเท่านั้น
            ๓. การมีบุคลิกภาพในขั้วหนึ่ง มิได้หมายความว่าจะไม่มีอีกขั้วหนึ่ง แต่เป็ นช่วงของความ
พึงพอใจ ว่าชอบ ถนัดแบบไหนมากกว่ากัน ดังนั้น ในแต่ละคนจะมีท้ งสองขั้ว แต่จะมีข้ วไหนมากกว่ากัน
                                                                ั                ั
            ๔. ในช่วงชีวิตของมนุษย์ อาจมีการปรับเปลี่ยนได้บาง และพฤติกรรมนั้นอาจต่างไปตาม
                                                              ้
สถานที่ สถานการณ์ บุคคล เวลา และภูมิหลังที่มีต่อเรื่ องนั้น ๆ

แบบของลักษณะบุคลิกภาพ
                                                                   ่
              นักจิตวิทยาชาวสวิส ชื่อ Carl Jung ได้ศึกษาและแบ่งกลุมลักษณะบุคลิกภาพของมนุษย์ไว้
เป็ น ๔ คู่ใหญ่ ๆ ต่อมา Myer Briggs ได้ศึกษาต่อและเผยแพร่ จนเป็ นที่ยอมรับและรู ้จกกันทัวไป ดังนี้
                                                                                  ั     ่
                ๑. คู่ที่ ๑ E (Extrovert) กับ I (Introvert)
                  กลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะพิจารณาถึงวิธีการเข้าสังคม และวิธีการพักผ่อน
                  ๑.๑ E (Extrovert)
                         ผูที่อยูในกลุ่มบุคลิกภาพนี้จะชอบการเข้าสังคม พบปะผูคน และในการพบปะ
                           ้ ่                                                ้
ดังกล่าวจะช่วยให้ได้พลังในการทํางาน คนในกลุ่มนี้กระบวนการคิดจะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อได้พด หรื อ
                                                                                             ู
ในขณะที่พด   ู
                  ๑.๒ I (Introvert)
                         คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มีวิธีการพักผ่อนที่ตองการความเป็ นส่ วนตัวสู ง เมื่อ
                                                                    ้
                                                 ่
เหนื่อยจากหน้าที่การงาน จะพักผ่อนด้วยการอยูตามลําพังเงียบ ๆ ด้วยการปิ ดประตูหองไม่ให้คนรบกวน
                                                                                   ้
                ่
หรื อใช้เวลาอยูตามลําพังเงียบ ๆ อ่านหนังสื อ ดูตนไม้ หรื ออาจจะพบปะกับคนอื่น ก็เป็ นเพียงคนที่รู้ใจกัน
                                                   ้
จริ ง ๆ เท่านั้น กระบวนการคิดจะไม่เกิด หากมีปัจจัยภายนอกมารบกวน หากต้องใช้ความคิดจะต้องมี
การเตรี ยมตัวล่วงหน้า และต้องมีความเงียบเป็ นปั จจัยสําคัญ
                ๒. คู่ที่ ๒ S (Sensing) กับ N (Intuitive)
                   กลุ่มบุคลิกภาพคู่น้ ีจะพิจารณาจาก วิธีการรวบรวมข้อมูลเพือประกอบการตัดสิ นใจ และ
                                                                           ่
การลงมือปฏิบติ
            ั
                   ๒.๑ S (Sensing)
                        ผูที่อยูในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะได้ขอมูลจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า นันคือ
                           ้ ่                              ้                                            ่
ต้องได้เห็น ได้ยน ได้สัมผัส รับรู ้ จึงจะสามารถนํามาปฏิบติได้ ส่ วนใหญ่จะเป็ นผูที่สบายใจที่จะทํางาน
                 ิ                                            ั                           ้
ที่มีการกําหนดรู ปแบบไว้อย่างชัดเจน การทํางานกับคนกลุ่มนี้ จึงจะต้องระบุรายละเอียดต่าง ๆ อย่าง
ชัดเจน และเป็ นขั้นตอน
                   ๒.๒ N (Intuitive)
                       ผูที่อยูในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จัดได้ว่าเป็ นผูที่มีความคิดริ เริ่ มของตัวเอง มีจินตนาการ
                          ้ ่                                      ้
กว้างไกล รู ้สึกอึดอัดและลําบากใจ ที่จะต้องทําตามแบบแผนที่คนอื่นกําหนดให้ ไม่ชอบในเรื่ องของ

บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑                                                                หลักสูตร วปอ.๕๑
-๓-
รายละเอียดปลีกย่อย แต่มองเรื่ องของภาพรวม แนวคิดกว้าง ๆ (Concept) มีการทํางานตามวิธีการที่ตน
คิดขึ้นมา ชอบความแปลกใหม่ ท้าทาย ไม่ซ้ าซากกับวิธีการปฏิบติเดิม ๆ
                                       ํ                 ั
             ๓. คู่ที่ ๓ T (Thinking) กับ F (Feeling)
                กลุ่มของบุคลิกภาพคู่น้ ี จะพิจารณาถึงวิธีการคิด เพื่อตัดสิ นใจ
                ๓.๑ T (Thinking)
                        ผูที่อยูในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะตัดสิ นปั ญหาและตัดสิ นใจโดยใช้สมอง บนพื้นฐาน
                           ้ ่
ของความเป็ นเหตุเป็ นผล การเก็บและรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ วิจย การชังนํ้าหนักความถูกต้อง อยู่
                                                                       ั       ่
บนพื้นฐานของหลักการและเหตุผล
                ๓.๒ F (Feeling)
                        ผูที่อยูในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะตัดสิ นปั ญหาและตัดสิ นใจบนพื้นฐานของหัวใจ
                          ้ ่
และความรู ้สึก ให้ความสําคัญต่อความรู ้สึกของคนอื่น และผลของการตัดสิ นใจ ซึ่งจะกระทบต่ออารมณ์
และความรู ้สึกของผูอ่ืน
                    ้
             ๔. คู่ที่ ๔ J (Judging) กับ P (Perceiving)
                 กลุ่มของบุคลิกภาพคู่น้ ี จะพิจารณาถึงวิถีการดําเนินชีวิต
                 ๔.๑ J (Judging)
                        คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ชอบความเป็ นระเบียบ มีการกําหนดแผนชีวิต และ
                                                                                      ํ
ตารางเวลาประจําวันไว้ล่วงหน้าอย่างชัดเจน และรู ้สึกไม่สบายใจ หงุดหงิด เมื่อแผนที่กาหนดไว้น้ นถูก
                                                                                            ั
                                  ํ
เปลี่ยนแปลง หรื อไม่เป็ นไปตามที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ เมื่อตัดสิ นใจแล้ว ยากที่จะเปลี่ยนแปลง
                 ๔.๒ P (Perceiving)
                        คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ชอบความเป็ นอิสระ ไม่ชอบที่จะผูกมัดกับเงื่อนไขของ
                                                             ่
เวลา และกฎระเบียบ ชอบใช้ชีวิตอย่างสบาย ๆ มีความยืดหยุน เปิ ดกว้าง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง

การมอบหมายงานตามแบบของลักษณะของบุคลิกภาพ
             ลักษณะบุคลิกภาพที่ต่างกันนั้น ย่อมมีความถนัดและความพึงพอใจ ตลอดจนจุดแข็งและ
จุดอ่อนเฉพาะของตนเอง การเลือกใช้ประโยชน์จากจุดแข็งของแต่ละกลุ่มบุคลิกภาพ โดยมีความเข้าใจ
อย่างถ่องแท้ จะช่วยให้การทํางานระหว่างกันและกัน มีประสิ ทธิภาพสู งขึ้น ง่ายขึ้น และช่วยลดปั ญหา
ความขัดแย้ง ความคับข้องใจที่อาจจะมีต่อกันได้ ดังนี้
             ๑. E (Extrovert)
               จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนที่พดจาคล่องแคล่ว ชอบพบปะ ทําความรู ้จก
                                                         ู                                  ั
กับคนหน้าใหม่ ๆ มีความถนัดทางด้านการพูด ช่างเจรจา ชอบการเข้าสังคมติดต่อกับผูอื่น ดังนั้น งานที่
                                                                            ้
คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ถนัดและควรจะได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ คือ การติดต่อประชาสัมพันธ์ การ
ประสานงาน การบรรยาย การเป็ นตัวแทนขององค์กรในงานสังคมต่าง ๆ รวมถึงการสร้างสัมพันธภาพ
      ั
อันดีกบหน่วยงานอื่น

บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑                                                       หลักสูตร วปอ.๕๑
-๔-
              ๒. I (Introvert)
                จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ไม่ชอบพูดมาก ชอบความสงบ นิ่ง มีความสามารถใน
การมองทะลุถึงปั ญหาอย่างใจเย็น แต่จะไม่สะดวกที่จะพูดหรื อบรรยาย ในทางตรงข้าม จะถนัดด้าน
การเขียน ดังนั้น จึงเหมาะที่จะไดรับมอบหมายให้ทางานที่ตองใช้สมาธิ อยูเ่ งียบ ๆ ตามลําพัง และเป็ น
                                                 ํ      ้
ผูรับผิดชอบด้านการเขียนรายงาน หรื อประเด็นสําคัญต่าง ๆ
  ้
              ๓. S (Sensing)
               จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มีความอดทน ทําตามแผนงานหรื อสถานการณ์ที่มี
รู ปแบบโครงสร้างชัดเจน เป็ นคนละเอียด ดังนั้น จึงเหมาะกับงานที่จะต้องปฏิบติตามขั้นตอน งาน
                                                                         ั
รายละเอียด งานในความรับผิดชอบอาจจะเป็ นงานการตรวจสอบความถูกต้องในรายละเอียด การทํางาน
กับตัวเลข และข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็ นงานรายละเอียด เช่น บัญชี
              ๔. N (Intuitive)
                    จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มีพรสวรรค์ในด้านการเห็นภาพรวม ภาพกว้าง หรื อ
อาจเรี ยกได้ว่าเป็ นคนมีวิสยทัศน์ เข้าใจเรื่ องต่าง ๆ ได้ง่ายและเร็ ว ซึ่งอาจเรี ยกได้อีกว่าเป็ นคนที่มีไหวพริ บ
                           ั
ปฏิภาณเฉี ยบแหลมและฉับไว มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ชอบทํางานในเรื่ องที่แปลกใหม่ ไม่ซ้ าแบบใคร      ํ
ดังนั้น จึงเหมาะที่จะเป็ นผูที่ริเริ่ มโครงการใหม่ ๆ วางแผนกลยุทธ และการแก้ปัญหาต่าง ๆ
                             ้
              ๕. T (Thinking)
                 จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มีการคิดและตัดสิ นใจ โดยใช้ความเป็ นเหตุเป็ นผล ใช้
หลักฐานข้อมูลประกอบการตัดสิ นใจ ใช้การวิเคราะห์ พิจารณาถึงความเป็ นเหตุเป็ นผลอย่างรอบคอบ
ดังนั้น จึงเหมาะที่จะได้รับมอบหมายให้เป็ นผูช้ ีแจง แสดงเหตุผล ไกล่เกลี่ยหาข้อยุติในสถานการณ์ที่ตอง
                                            ้                                                    ้
ใช้เหตุและผล
              ๖. F (Feeling)
                  คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มักจะเป็ นที่รักของผูที่อยูรอบข้าง ด้วยความมีเสน่ห์ ช่างสังเกต
                                                             ้ ่
และระมัดระวังความรู ้สึกของผูอื่น ใช้เหตุและผลบนพื้นฐานของผลกระทบที่จะเกิดต่อผูอื่น และการ
                               ้                                                         ้
ยอมรับด้านความรู ้สึกของผูคนส่ วนใหญ่ บุคคลประเภทนี้ จึงมีความสามารถพิเศษในการเข้าถึงจิตใจ
                             ้
ผูอื่น เลือกใช้วิธีการที่อ่อนโยน และหลีกเลี่ยงการทําร้ายความรู ้สึกและจิตใจของผูอื่นเป็ นอย่างดี ช่าง
  ้                                                                              ้
โน้มน้าวจิตใจ เพราะมีความเข้าใจผูอื่นเป็ นที่ต้ ง
                                  ้             ั
              ๗. J (Judging)
                จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนชอบวางแผน กําหนดเวลา และชะตาชีวิตของ
ตนเองล่วงหน้าไว้แล้วเป็ นอย่างดี จึงมีขอดีและความสามารถพิเศษในการตัดสิ นใจที่เฉี ยบขาด เด็ดขาด
                                       ้
มันคง ไม่หวันไหว และยึดมันในการตัดสิ นใจของตนเอง เป็ นคนที่มีการเตรี ยมการล่วงหน้าเป็ นอย่างดี
  ่           ่              ่
                                                         ํ
ดังนั้น จึงเหมาะที่จะควบคุมสถานการณ์ให้เป็ นไปตามเวลาที่กาหนดไว้ รักษาเวลาให้เป็ นไปตามกําหนด
การณ์ มีการติดตามงานอย่างสมํ่าเสมอ และมีการจัดระเบียบงานที่ดี

บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑                                                                  หลักสูตร วปอ.๕๑
-๕-
             ๘. P (Perceiving)
                   จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มีบุคลิกภาพที่สบาย ๆ ยืดหยุน ชอบความเป็ นอิสระ
                                                                                      ่
เปิ ดกว้าง จึงมีจุดเด่นที่เป็ นคนเรี ยบง่าย ไม่เรื่ องมาก พร้อมที่จะปรับเปลี่ยน ไม่รังเกียจที่จะรับงานหลาย ๆ
อย่างในคราวเดียวกัน แม้ว่าอาจจะทําได้ไม่เต็มที่ หรื อไม่เสร็ จตามเวลาที่กาหนดก็ตาม
                                                                               ํ

การทํางานร่ วมกับคนในบุคลิกภาพแบบต่ าง ๆ
             การทํางานกับคนในบุคลิกภาพแบบต่าง ๆ ต้องคํานึงถึงลักษณะนิสัย อุปนิสัยใจคอ ความ
พึงพอใจ จุดแข็ง และจุดอ่อน เพือให้งานนั้นลุล่วง เกิดประโยชน์สูงสุ ด และในขณะเดียวกัน ก็เป็ นการ
                              ่
                                                                                     ่
สร้างสัมพันธภาพอันดีในการทํางานร่ วมกัน และสร้างความไว้วางใจ และความประทับใจที่ดีตอกันและ
กัน โดยมีขอแนะนํา ดังนี้
           ้
             ๑. E (Extrovert)
                 การทํางานร่ วมกับคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ต้องแสดงให้เห็นถึงความสนใจ มีการสนอง
ตอบอย่างรวดเร็ ว และกระฉับกระเฉง กระตือรื อร้น สําหรับคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ การที่ตนเป็ นคนช่างพูด
จึงมักมองและสรุ ปเอาเองว่า การเงียบไป หรื อหายไปของเพือนร่ วมงาน แสดงออกถึงความไม่สนใจ
                                                           ่
ดังนั้น การที่จะสร้างความประทับใจให้กบคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะต้องมีการสนองตอบ หรื อติดต่อ
                                      ั
กลับอย่างรวดเร็ ว และหากมีการพบปะพูดคุย เจรจากัน ก็ตองยอมเปิ ดโอกาสให้คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้
                                                        ้
ได้พดและแสดงความคิดเห็นให้มาก ๆ
      ู
             ๒. I (Introvert)
                   เนื่องจากคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนที่เก็บตัว ไม่ค่อยชอบเข้าสังคม การที่จะสร้าง
ความคุนเคยจึงต้องอาศัยเวลา เพื่อสร้างความไว้วางใจ ในขณะเดียวกัน เขาจะไม่เปิ ดเผย หรื อเล่าข้อมูล
       ้
ต่าง ๆ หากไม่ถูกถามถึง จึงจําเป็ นต้องหมันซักถาม ขอความคิดเห็น และก่อนการพบปะหารื อ ควรเปิ ด
                                          ่
โอกาสให้คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้มีเวลาคิดเกี่ยวกับหัวข้อสนทนาไว้ล่วงหน้า            แต่หากเห็นท่าทีน่ิงเฉย
หรื อไม่มีปฏิกิริยาตอบสนอง ก็อย่าได้ด่วนสรุ ปว่าไม่สนใจ ทั้งนี้เพราะคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนที่
เก็บความรู ้สึก ไม่แสดงออก
             ๓. S (Sensing)
                  คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนเจ้าระเบียบ ชอบความถูกต้องแม่นยํา แน่นอน การทํางาน
ไม่ตองการเสี่ ยงต่อความผิดพลาด และไม่อยากให้มีที่ติ ดังนั้น การทํางานร่ วมกับคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้
     ้
จึงต้องแสดงให้เห็นถึงรายละเอียดขั้นตอนการทํางาน ผลสําเร็ จของงาน ตัวอย่างที่พสูจน์ให้เห็นได้ว่า
                                                                                    ิ
วิธีการที่แนะนํา หรื อเสนอนั้น มีประวัติที่ผอื่นเคยนําไปปฏิบติ และประสบผลสําเร็ จมาอย่างดีแล้ว
                                            ู้              ั
             ๔. N (Intuitive)
              คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ชอบงานโครงการใหญ่ ๆ มองภาพรวม ดังนั้น การสร้างความ
ประทับใจให้กบคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะต้องนําเสนอแนวความคิด หรื อหลักการที่สาคัญ ๆ ความท้าทาย
            ั                                                              ํ
ความแปลกใหม่ของงาน และแสดงให้เห็นถึงวิสยทัศน์
                                            ั
บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑                                                               หลักสูตร วปอ.๕๑
-๖-
             ๕. T (Thinking)
                คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นนักคิด มีคลังข้อมูลอยูในสมอง มีความเป็ นเหตุเป็ นผล และ
                                                                  ่
สามารถมองเห็นถึงความผิดปกติ ความไม่ชอบมาพากลได้อย่างรวดเร็ ว การสร้างความประทับใจกับคน
ในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ คือ ความกระชับ เตรี ยมเหตุเตรี ยมผลเพือตอบคําถามเมื่อถูกซักไซ้ อย่าหลงประเด็น
                                                             ่
หรื อออกนอกประเด็น ต้องเตรี ยมตัวล่วงหน้าเป็ นอย่างดี และเมื่อต้องการให้มีการตัดสิ นใจเกิดขึ้น ต้อง
แสดงให้เห็นถึงข้อดีและข้อเสี ย เพื่อเปรี ยบเทียบกันอย่างชัดเจน ต้องใจเย็นและใช้เหตุผล เพราะบ่อยครั้ง
คนในกลุ่มนี้ จะพูดจาหรื อแสดงออกอย่างไม่ไว้หน้า หรื อคํานึงถึงความรู ้สึกของผูอื่นเท่าใดนัก เนื่องจาก
                                                                              ้
ให้ความสําคัญในสาระ หรื อเนื้อหาของงาน มากกว่าจิตใจและความรู ้สึกของผูอื่น ้
             ๖. F (Feeling)
                 เนื่องจากคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนที่เข้าอกเข้าใจ เป็ นมิตร และสนใจความรู ้สึก
ของผูอื่น การทํางานจึงต้องแสดงให้เห็นถึงผล และคุณค่าของงานที่มีต่อผูอื่น ระมัดระวังเรื่ องของการ
       ้                                                                 ้
สื่ อสาร วิธีการพูด อย่าให้เป็ นที่ระคายเคือง เพราะคนในกลุ่มนี้ มักมีอารมณ์ละเอียดอ่อนและอ่อนไหว
หมันจับ สังเกตสี หน้า ท่าที อิริยาบถ นํ้าเสี ยง การแสดงออก เพื่อประเมินถึงความรู ้สึก ความพอใจ และ
     ่
ความไม่พอใจ
             ๗. J (Judging)
                  คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนรักษาเวลา และมีตารางกําหนดเวลาล่วงหน้า การสร้าง
ความประทับใจ คือ การนัดหมายล่วงหน้า การรักษาเวลานัด การตรงต่อเวลา การเสนอกําหนดตารางเวลา
ในการทํางานล่วงหน้า และการทํางานให้เสร็ จตามเวลาที่กาหนด ควรคิดให้ดีก่อน วางแผนให้แล้วจึง
                                                        ํ
แจ้งให้คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ทราบ ทั้งนี้เพราะ การเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาหลาย ๆ หน จะทําให้คนใน
กลุ่มบุคลิกภาพนี้ ขาดความเชื่อถือในตัวคุณ
             ๘. P (Perceiving)
                คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ชอบความหลากหลายเป็ นอิสระ ความยืดหยุนคล่องตัว การ่
ทํางานกับคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จึงต้องเปิ ดโอกาสให้มีการปรับเปลี่ยนได้ กระตุนให้เขาเป็ นตัวของ
                                                                                     ้
ตัวเอง และหาวิธีการที่ช่วยให้เขาได้มีส่วนร่ วมในการรับผิดชอบตนเองตามวิถีทางที่เขาถนัด อย่ากําหนด
เส้นตายคราวเดียว แต่พยายามแบ่งออกเป็ นจุดย่อย ๆ ทําให้เกิดความรู ้สึกว่าเป็ นเรื่ องใหม่อยูเ่ สมอ

ลักษณะบุคลิกภาพของแต่ ละบุคคล
            บุคคลแต่ละคน จะมีลกษณะบุคลิกภาพอยู่ ๔ คู่ ตามที่ได้นาเสนอไปแล้วนั้น และเมื่อรวม
                                  ั                               ํ
ลักษณะบุคลิกภาพทั้ง ๔ คู่เข้าด้วยกัน อาทิ เช่น ISTJ, INFP, ESFJ และ ENTP เป็ นต้น ซึ่งสามารถ
ประมวลเป็ นลักษณะบุคลิกภาพของแต่ละบุคคลโดยสังเขป เพื่อเป็ นแนวทางนําไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
ดังต่อไปนี้



บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑                                                         หลักสูตร วปอ.๕๑
-๗-
      ในด้ านความคิด                 ในด้ านความรู้ สึก                ในด้ านความรู้ สึก                         ในด้ านความคิด
            ISTJ                           ISFJ                              INFJ                                       INTJ
I ลุ่มลึกและมีสมาธิ             I ลึกซึ้ งและแน่วแน่            I ลึกซึ้งและแน่วแน่             I ลุ่มลึกและมีสมาธิ
S ละเอียดถี่ถวน และให้ความ
              ้                 S ละเอียดอ่อน และพิถีพถน ิ ั    N มีความลึกซึ้ง ละเอียดอ่อน ไม่ N เข้าใจถ่องแท้ และมีความคิด
  สําคัญต่อรายละเอียดปลีกย่อย     ต่อข้อปลีกย่อย                  ถูกชักจูงได้ง่าย                แตกฉาน ฉลาด หลักแหลม
T เป็ นนักสัจจนิยม เป็ นนัก     F บริ หารบุคคลด้วยความ          F บริ หารบุคคลด้วยความเข้าใจ      เป็ นตัวของตัวเอง จับประเด็น
  วิเคราะห์ เป็ นเหตุเป็ นผล      เข้าใจ เห็นอกเห็นใจ             เห็นอกเห็นใจ                    ที่ละเอียด ซับซ้อนได้
  มีวิจารณญาณสูง                J มีความรู ้สึกที่ไม่สบสน
                                                      ั         J มีความรู ้สึกที่ไม่สบสน
                                                                                      ั         T พินิจพิเคราะห์ เป็ นเหตุเป็ นผล
J คิดอย่างเป็ นระบบขั้นตอน                                                                        ใช้วิจารณญาณ ด้วยใจเป็นกลาง
                                                                                                J คิดอย่างเป็ นระบบขั้นตอน
            ISTP                            ISFP                                INFP                                     INTP
I ลุ่มลึกและมีสมาธิ             I ลึกซึ้ งและแน่วแน่            I ลึกซึ้งและแน่วแน่               I ลุ่มลึกและมีสมาธิ
S คิดตามหลักความเป็ นจริ ง      S ช่างสังเกต และให้ความสนใจ     N มีความรู ้สึกลึกซึ้ง สร้างสรรค์ N เข้าใจถ่องแท้ และมีความคิด
  และช่างสังเกต                   กับรายละเอียด                   ละเอียดอ่อน                       แตกฉาน ฉลาด หลักแหลม
T มีความสามารถในเชิงวิเคราะห์   F มีความเพียบพร้อมด้วยความ      F มีความเพียบพร้อมด้วยความ          เป็ นตัวของตัวเอง จับประเด็น
  และตรรกะ                        เสี ยสละ ความเห็นอกเห็นใจ       เสี ยสละ ความเห็นอกเห็นใจ         ที่ละเอียด ซับซ้อนได้
P รู ้จกปรับแนวความคิดให้
       ั                        P ทําใจ ปรับใจได้ง่าย           P ทําใจ ปรับใจได้ง่าย             T มีความสามารถในเชิงวิเคราะห์
  เหมาะสม                                                                                           และตรรกะ
                                                                                                  P รู ้จกปรับแนวความคิดให้
                                                                                                         ั
                                                                                                    เหมาะสม
           ESTP                            ESFP                               ENFP                                      ENTP
E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม E พึงใจกับสถานการณ์                  E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม                E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม
                                 แวดล้อม
S ช่างสังเกต สัจจนิยม สนุกสนาน S ช่างสังเกต สัจจนิยม สนุกสนาน   N เป็ นแรงบันดาลใจให้เกิดโครงการ N เป็ นแรงบันดาลใจให้เกิดโครงการ
  ร่ าเริ ง คิดบนพื้นฐานของ      ร่ าเริ ง คิดบนพื้นฐานของ        ต่างๆ ริ เริ่ม บุกเบิก ไม่ย้าคิดยํ้าทํา
                                                                                              ํ             ต่างๆ ริ เริ่ม บุกเบิก ไม่ย้าคิดยํ้า
                                                                                                                                        ํ
  ประสบการณ์                     ประสบการณ์                       ชอบความท้าทายแปลกๆใหม่ ๆ                  ทํา ชอบความท้าทายแปลกๆใหม่ ๆ
T ไม่ยดติดกับตัวบุคคล รู ปแบบ F เข้าสังคมได้ง่าย เห็นอกเห็นใจ
          ึ                                                       เป็ นต้นคิดในสิ่ งใหม่ ๆ                  เป็ นต้นคิดในสิ่ งใหม่ ๆ
  หรื อกลไกใด ๆ มีความสามารถ     ผูอื่น
                                    ้                           F นิยมชมชื่น เข้าถึงจิตใจของผูอื่น T คิดอย่างมีเป้าหมาย พินิจพิเคราะห์
                                                                                                   ้
  ในเชิงวิเคราะห์              P ทําใจ ปรับใจได้ง่าย              เป็ นที่รักใคร่ ผกพันของผูอื่น มี
                                                                                    ู           ้           มีความสามารถเป็ นพิเศษบาง
P รู ้จกปรับแนวความคิดให้
       ั                                                          เสน่ห์                                    ประการในการบริ หารงาน
  เหมาะสม                                                       P ทําใจ ปรับใจได้ง่าย                     P รู ้จกปรับแนวความคิดให้
                                                                                                                 ั
                                                                                                            เหมาะสม




       บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑                                                                            หลักสูตร วปอ.๕๑
-๘-
      ในด้ านความคิด                    ในด้ านความรู้ สึก                  ในด้ านความรู้ สึก                  ในด้ านความคิด
            ESTJ                              ESFJ                                ENFJ                                ENTJ
E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม        E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม                  E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม
S เข้าใจถึงความเป็ นไปได้ ในทาง            ่
                                  S ตั้งอยูบนพื้นฐานของประสบการณ์ N สนใจเฉพาะเรื่ องที่มองเห็นความ       N คํานึงถึงความเป็ นไปได้ รู ้จริ ง
  ปฏิบติ ช่างสังเกต คิดบน
        ั                         F มีความตระหนัก และระมัดระวัง        เป็ นไปได้ มีวาทศิลป์ และความ       เป็ นต้นคิดที่ชาญฉลาด เป็ น
  พื้นฐานของประสบการณ์              ต่อความรู ้สึกของผูอื่น มีความ
                                                          ้            สามารถทางภาษาอย่างลึกซึ้ง           นักค้นคิดทดลอง
T คิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล คิด      เห็นอกเห็นใจ เอาใจเขามาใส่ ใจ      คิดบนพื้นฐานของประสบการณ์         T คิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล คิด
  อย่างนักจัดการ นักบริ หาร         เรา เข้าถึงความรู ้สึกของหมู่คณะ F มีความตระหนัก และระมัดระวัง         อย่างนักจัดการ นักบริ หาร
  ตัดสิ นใจเฉี ยบขาด คิดอย่าง     J มีความรู ้สึกไม่สับสน              ต่อความรู ้สึกของผูอื่น มีความ
                                                                                           ้               ตัดสิ นใจเฉียบขาด คิดอย่าง
  พินิจพิเคราะห์                                                       เห็นอกเห็นใจ เอาใจเขามาใส่ใจเรา     พินิจพิเคราะห์
J ใฝ่ หาความมีสมรรถภาพ                                                 เข้าถึงความรู ้สึกของหมู่คณะ      J คิดอย่างมีระบบขั้นตอน
                                                                     J มีความรู ้สึกไม่สับสน

        บทสรุป
                        การศึกษาในหัวข้อเหล่านี้        สามารถใช้เป็ นเครื่ องมือในการทําความเข้าใจพฤติกรรมของ
        มนุษย์ได้ดีข้ ึน แต่สิ่งที่นาเสนอให้เห็นนี้เป็ นเพียงส่ วนหนึ่งเท่านั้น ผูที่สนใจควรแสวงหาความรู ้ ความ
                                    ํ                                             ้
        เข้าใจเพิ่มเติม และหมันนําความรู ้ไปประยุกต์ใช้ ทดลอง และวิเคราะห์ผลที่ออกมา เพือทําความเข้าใจให้
                                 ่                                                             ่
        ดีข้ ึน หรื อปรับเปลี่ยนวิธีคิด วิธีปฏิบติให้เหมาะสม สอดคล้อง ทั้งนี้เพราะ ไม่มีทฤษฎีใดที่เป็ นอมตะ
                                                ั
        หรื อถูกต้องเพียงทฤษฎีเดียว ข้อคิดที่สาคัญ คือ โปรดระวังอย่าให้จุดเด่นของคุณกลายเป็ นจุดด้อย
                                                  ํ

                                                  -----------------------------------

        เอกสารอ้างอิง
                 www.typelogic.com                         สื บค้นเมื่อ ๑๑ ต.ค.๕๑
                 www.keirsey.com                           สื บค้นเมื่อ ๑๑ ต.ค.๕๑
                 www.breakoutofthebox.com                  สื บค้นเมื่อ ๑๑ ต.ค.๕๑




        บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑                                                                        หลักสูตร วปอ.๕๑
บันทึกข้ อความ
ส่ วนราชการ วปอ.สปท.
ที่ กห ๐๓๑๘.๕/                        วันที่        ๑๗ พ.ย.๕๑
เรื่อง เสนอบทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑
เรียน ผอ.วปอ.สปท.
               กระผม พ.อ.รัตนชัย สุ วรรณเทศ นักศึกษาหลักสู ตร วปอ. รุ่ นที่ ๕๑ ขอเสนอบทความ
ทางวิชาการ ฉบับที่ ๑ ในหัวข้อเรื่ อง “ลักษณะบุคลิกภาพกับภาวะผูนา” ตามเอกสารแนบมาพร้อมกันนี้
                                                              ้ ํ
ด้วยแล้ว
              จึงเรี ยนมาเพื่อกรุ ณาทราบ

                                     ( ลงชื่อ ) พ.อ รัตนชัย สุ วรรณเทศ
                                                   ( รัตนชัย สุ วรรณเทศ )
                                                   นักศึกษา วปอ.รุ่ นที่ ๕๑

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง UsaTaraya Srivilas
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55Decode Ac
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1Sarawut Messi Single
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจPoy Thammaugsorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socPrachoom Rangkasikorn
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาkaewcomedu
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์nok_bb
 

Mais procurados (17)

ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usa
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์
 

Destaque

Jobs consultancy, office boy, sales executive, supervisor, tele marketing ...
Jobs consultancy, office boy,  sales executive,  supervisor,  tele marketing ...Jobs consultancy, office boy,  sales executive,  supervisor,  tele marketing ...
Jobs consultancy, office boy, sales executive, supervisor, tele marketing ...Varthak India
 
Pcpcs blindsided, shocked, and dismayed by src decision
Pcpcs blindsided, shocked, and dismayed by src decisionPcpcs blindsided, shocked, and dismayed by src decision
Pcpcs blindsided, shocked, and dismayed by src decisionpsnotebook
 
Bortoletti, corruzione e integrità, intervento lions club treviso 27 aprile ...
Bortoletti, corruzione e integrità, intervento lions club treviso 27 aprile ...Bortoletti, corruzione e integrità, intervento lions club treviso 27 aprile ...
Bortoletti, corruzione e integrità, intervento lions club treviso 27 aprile ...Maurizio Bortoletti
 
Incentivizing and aligning providers 23 jul12 final
Incentivizing and aligning providers 23 jul12 finalIncentivizing and aligning providers 23 jul12 final
Incentivizing and aligning providers 23 jul12 finalWayne Pan
 
Examen 7 Ccna3
Examen 7 Ccna3Examen 7 Ccna3
Examen 7 Ccna3DIEGOS14
 
Para Que Queremos Al Arqui
Para Que Queremos Al ArquiPara Que Queremos Al Arqui
Para Que Queremos Al Arquicharls666
 
Presentación noviembre educación ciudadana 2010
Presentación noviembre educación ciudadana 2010Presentación noviembre educación ciudadana 2010
Presentación noviembre educación ciudadana 2010Ceppe Chile
 
Pedrini et al percepção ambiental sta clara 2010
Pedrini et al percepção ambiental  sta clara 2010Pedrini et al percepção ambiental  sta clara 2010
Pedrini et al percepção ambiental sta clara 2010AlexandredeGusmaoPedrini
 
Beautiful Nature - Natureza
Beautiful Nature - NaturezaBeautiful Nature - Natureza
Beautiful Nature - NaturezaVivian Terra
 
Презентация дизайн отеля 11 Mirrors
Презентация дизайн отеля 11 MirrorsПрезентация дизайн отеля 11 Mirrors
Презентация дизайн отеля 11 Mirrors11Mirrors
 
Analisis matematico contenidos
Analisis matematico contenidosAnalisis matematico contenidos
Analisis matematico contenidosHugo Pomboza
 

Destaque (20)

Jobs consultancy, office boy, sales executive, supervisor, tele marketing ...
Jobs consultancy, office boy,  sales executive,  supervisor,  tele marketing ...Jobs consultancy, office boy,  sales executive,  supervisor,  tele marketing ...
Jobs consultancy, office boy, sales executive, supervisor, tele marketing ...
 
ข่าว 1
ข่าว 1ข่าว 1
ข่าว 1
 
Característiques
Característiques  Característiques
Característiques
 
Montserrat
MontserratMontserrat
Montserrat
 
Pembelajaran lensa
Pembelajaran lensaPembelajaran lensa
Pembelajaran lensa
 
Pcpcs blindsided, shocked, and dismayed by src decision
Pcpcs blindsided, shocked, and dismayed by src decisionPcpcs blindsided, shocked, and dismayed by src decision
Pcpcs blindsided, shocked, and dismayed by src decision
 
Bortoletti, corruzione e integrità, intervento lions club treviso 27 aprile ...
Bortoletti, corruzione e integrità, intervento lions club treviso 27 aprile ...Bortoletti, corruzione e integrità, intervento lions club treviso 27 aprile ...
Bortoletti, corruzione e integrità, intervento lions club treviso 27 aprile ...
 
CAN... CAN´T
CAN... CAN´TCAN... CAN´T
CAN... CAN´T
 
Incentivizing and aligning providers 23 jul12 final
Incentivizing and aligning providers 23 jul12 finalIncentivizing and aligning providers 23 jul12 final
Incentivizing and aligning providers 23 jul12 final
 
Examen 7 Ccna3
Examen 7 Ccna3Examen 7 Ccna3
Examen 7 Ccna3
 
Para Que Queremos Al Arqui
Para Que Queremos Al ArquiPara Que Queremos Al Arqui
Para Que Queremos Al Arqui
 
Békés Város
Békés VárosBékés Város
Békés Város
 
Presentación noviembre educación ciudadana 2010
Presentación noviembre educación ciudadana 2010Presentación noviembre educación ciudadana 2010
Presentación noviembre educación ciudadana 2010
 
Pedrini et al percepção ambiental sta clara 2010
Pedrini et al percepção ambiental  sta clara 2010Pedrini et al percepção ambiental  sta clara 2010
Pedrini et al percepção ambiental sta clara 2010
 
Beautiful Nature - Natureza
Beautiful Nature - NaturezaBeautiful Nature - Natureza
Beautiful Nature - Natureza
 
Immigration guide
Immigration guideImmigration guide
Immigration guide
 
Презентация дизайн отеля 11 Mirrors
Презентация дизайн отеля 11 MirrorsПрезентация дизайн отеля 11 Mirrors
Презентация дизайн отеля 11 Mirrors
 
Ecological Successions
Ecological SuccessionsEcological Successions
Ecological Successions
 
Set2
Set2Set2
Set2
 
Analisis matematico contenidos
Analisis matematico contenidosAnalisis matematico contenidos
Analisis matematico contenidos
 

Semelhante a 51105

วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑Tuk Diving
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersofia-m15
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersoh26
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 

Semelhante a 51105 (20)

Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Consult
ConsultConsult
Consult
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 

51105

  • 1. บทความทางวิชาการ ครั้งที่ ๑ เรื่อง ลักษณะบุคลิกภาพกับภาวะผูนา ้ ํ . ยศ/ชื่อ/สกุล. พ.อ.รัตนชัย สุ วรรณเทศ .หมายเลขประจําตัว. ๕๙๖๘ .หลักสู ตร. วปอ.๕๑ . ลักษณะบุคลิกภาพกับภาวะผู้นํา หลักการและเหตุผล จากการศึกษาวิจย พบว่า ร้อยละ ๗๕ ของภาวะผูนาจะส่ งผลต่อบรรยากาศในการทํางานที่ดี ั ้ ํ และร้อยละ ๕๐ ของบรรยากาศในการทํางาน จะส่ งผลต่อความสําเร็ จขององค์การ ดังนั้น จะเห็นได้วา ่ “ภาวะผูนา” เป็ นปั จจัยที่สาคัญต่อความสําเร็ จขององค์การ แต่ในการทํางาน ผูนาจะใช้รูปแบบเดียวกับ ้ ํ ํ ้ ํ ทุกคนไม่ได้ จึงมีความจําเป็ นต้องศึกษาลักษณะบุคลิกภาพ เพื่อให้เข้าใจคน ลักษณะบุคลิกภาพของคน มีผลอย่างมากต่อพฤติกรรม การแสดงออก ความรู ้สึกนึกคิดของ บุคคลผูน้ น หากสามารถทําความเข้าใจได้ ย่อมส่ งผลต่อความสามารถในการทํางานร่ วมกันได้อย่างมี ้ ั ความสุ ข หรื อการบริ หารงานที่มีประสิ ทธิภาพ และได้รับการยอมรับว่าเป็ นผูที่มีความฉลาดทางอารมณ์ ้ การที่จะเป็ นผูมีความฉลาดทางอารมณ์ได้น้ น จะต้องมีความเข้าใจผูอื่นตลอดจนตนเองด้วย ้ ั ้ เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑. รู ้เรา เพื่อพิจารณา ศึกษา วิเคราะห์ ทําความเข้าใจพฤติกรรมของตนเอง บนพื้นฐาน ของความรู ้อย่างมีหลักการ เพือเข้าใจถึงจุดแข็ง จุดอ่อนของตนเอง ่ ๒. รู ้เขา การรู ้เขา จะช่วยทําให้เข้าใจ ให้อภัย และเลือกใช้วธีการที่เหมาะสมในการ ิ ติดต่อ เจรจา ประสานงาน หรื อโน้มน้าวจิตใจ เพือให้บรรลุผลสําเร็ จในเรื่ องต่าง ๆ ตลอดจนการสร้าง ่ ั ้ สัมพันธภาพอันดีกบผูอื่น บนพื้นฐานของความเข้าใจเหล่านั้น ๓. รู ้ปรับ คือ การปรับตัวเอง โดยคํานึงถึงบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ฐานะ และ ตําแหน่งทางการงาน นั้นก็คือ เมื่อรู ้จุดแข็ง จุดอ่อนของตนเองแล้ว จะต้องพยายามฝึ กที่จะปรับ ด้วยการ เสริ มสร้างรักษาจุดแข็งของตนเอง และพัฒนาลักษณะนิสยและบุคลิกที่ยงเห็นว่าไม่เอื้อ ไม่สอดคล้อง ั ั และไม่เสริ มต่อหน้าที่การงาน ๔. รู ้เลือก คือสามารถนําความรู ้มาประกอบการตัดสิ นใจพิจารณาเลือกคน ให้เหมาะกับงาน เลือกมอบงานให้เหมาะกับความสามารถและบุคลิกภาพของคน เลือกใช้วิธีการให้เหมาะสมกับสภาพและ สถานการณ์ โดยคํานึงถึงลักษณะบุคลิกภาพ ทั้งของตนเองและผูอื่นเป็ นสําคัญ ้ ข้ อตกลงเบืองต้ น ้ ในความเป็ นจริ ง มนุษย์แต่ละคนมีความเป็ นเอกลักษณ์เป็ นของตนเอง ถึงกระนั้นก็ตาม ได้ มีการศึกษาการจัดหมวดหมู่และการจัดกลุ่มบุคลิกภาพกว้าง ๆ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันมากที่สุด ด้วยการ ทําความเข้าใจถึงพฤติกรรมการแสดงออก และการตอบสนองต่อสิ่ งเร้าที่เข้ามา อันจะช่วยให้สามารถทํา ความเข้าใจได้อย่างกว้าง ๆ อย่างมีหลักการและเป็ นเหตุเป็ นผล ก่อนที่จะกล่าวถึงกลุ่มบุคลิกภาพแบบต่าง ๆ จะต้องทําความเข้าใจในประเด็นสําคัญ ดังนี้ บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑ หลักสูตร วปอ.๕๑
  • 2. -๒- ๑. มนุษย์แต่ละคนต่างก็ไม่เหมือนกัน การจัดกลุ่มนี้ ก็เพือช่วยให้ง่ายต่อความเข้าใจ ่ ๒. ไม่มีบุคลิกภาพใดที่ดี หรื อไม่ดี เพียงแต่เป็ นเรื่ องของความแตกต่างของมนุษย์อีกประการ หนึ่งเท่านั้น ๓. การมีบุคลิกภาพในขั้วหนึ่ง มิได้หมายความว่าจะไม่มีอีกขั้วหนึ่ง แต่เป็ นช่วงของความ พึงพอใจ ว่าชอบ ถนัดแบบไหนมากกว่ากัน ดังนั้น ในแต่ละคนจะมีท้ งสองขั้ว แต่จะมีข้ วไหนมากกว่ากัน ั ั ๔. ในช่วงชีวิตของมนุษย์ อาจมีการปรับเปลี่ยนได้บาง และพฤติกรรมนั้นอาจต่างไปตาม ้ สถานที่ สถานการณ์ บุคคล เวลา และภูมิหลังที่มีต่อเรื่ องนั้น ๆ แบบของลักษณะบุคลิกภาพ ่ นักจิตวิทยาชาวสวิส ชื่อ Carl Jung ได้ศึกษาและแบ่งกลุมลักษณะบุคลิกภาพของมนุษย์ไว้ เป็ น ๔ คู่ใหญ่ ๆ ต่อมา Myer Briggs ได้ศึกษาต่อและเผยแพร่ จนเป็ นที่ยอมรับและรู ้จกกันทัวไป ดังนี้ ั ่ ๑. คู่ที่ ๑ E (Extrovert) กับ I (Introvert) กลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะพิจารณาถึงวิธีการเข้าสังคม และวิธีการพักผ่อน ๑.๑ E (Extrovert) ผูที่อยูในกลุ่มบุคลิกภาพนี้จะชอบการเข้าสังคม พบปะผูคน และในการพบปะ ้ ่ ้ ดังกล่าวจะช่วยให้ได้พลังในการทํางาน คนในกลุ่มนี้กระบวนการคิดจะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อได้พด หรื อ ู ในขณะที่พด ู ๑.๒ I (Introvert) คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มีวิธีการพักผ่อนที่ตองการความเป็ นส่ วนตัวสู ง เมื่อ ้ ่ เหนื่อยจากหน้าที่การงาน จะพักผ่อนด้วยการอยูตามลําพังเงียบ ๆ ด้วยการปิ ดประตูหองไม่ให้คนรบกวน ้ ่ หรื อใช้เวลาอยูตามลําพังเงียบ ๆ อ่านหนังสื อ ดูตนไม้ หรื ออาจจะพบปะกับคนอื่น ก็เป็ นเพียงคนที่รู้ใจกัน ้ จริ ง ๆ เท่านั้น กระบวนการคิดจะไม่เกิด หากมีปัจจัยภายนอกมารบกวน หากต้องใช้ความคิดจะต้องมี การเตรี ยมตัวล่วงหน้า และต้องมีความเงียบเป็ นปั จจัยสําคัญ ๒. คู่ที่ ๒ S (Sensing) กับ N (Intuitive) กลุ่มบุคลิกภาพคู่น้ ีจะพิจารณาจาก วิธีการรวบรวมข้อมูลเพือประกอบการตัดสิ นใจ และ ่ การลงมือปฏิบติ ั ๒.๑ S (Sensing) ผูที่อยูในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะได้ขอมูลจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า นันคือ ้ ่ ้ ่ ต้องได้เห็น ได้ยน ได้สัมผัส รับรู ้ จึงจะสามารถนํามาปฏิบติได้ ส่ วนใหญ่จะเป็ นผูที่สบายใจที่จะทํางาน ิ ั ้ ที่มีการกําหนดรู ปแบบไว้อย่างชัดเจน การทํางานกับคนกลุ่มนี้ จึงจะต้องระบุรายละเอียดต่าง ๆ อย่าง ชัดเจน และเป็ นขั้นตอน ๒.๒ N (Intuitive) ผูที่อยูในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จัดได้ว่าเป็ นผูที่มีความคิดริ เริ่ มของตัวเอง มีจินตนาการ ้ ่ ้ กว้างไกล รู ้สึกอึดอัดและลําบากใจ ที่จะต้องทําตามแบบแผนที่คนอื่นกําหนดให้ ไม่ชอบในเรื่ องของ บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑ หลักสูตร วปอ.๕๑
  • 3. -๓- รายละเอียดปลีกย่อย แต่มองเรื่ องของภาพรวม แนวคิดกว้าง ๆ (Concept) มีการทํางานตามวิธีการที่ตน คิดขึ้นมา ชอบความแปลกใหม่ ท้าทาย ไม่ซ้ าซากกับวิธีการปฏิบติเดิม ๆ ํ ั ๓. คู่ที่ ๓ T (Thinking) กับ F (Feeling) กลุ่มของบุคลิกภาพคู่น้ ี จะพิจารณาถึงวิธีการคิด เพื่อตัดสิ นใจ ๓.๑ T (Thinking) ผูที่อยูในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะตัดสิ นปั ญหาและตัดสิ นใจโดยใช้สมอง บนพื้นฐาน ้ ่ ของความเป็ นเหตุเป็ นผล การเก็บและรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ วิจย การชังนํ้าหนักความถูกต้อง อยู่ ั ่ บนพื้นฐานของหลักการและเหตุผล ๓.๒ F (Feeling) ผูที่อยูในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะตัดสิ นปั ญหาและตัดสิ นใจบนพื้นฐานของหัวใจ ้ ่ และความรู ้สึก ให้ความสําคัญต่อความรู ้สึกของคนอื่น และผลของการตัดสิ นใจ ซึ่งจะกระทบต่ออารมณ์ และความรู ้สึกของผูอ่ืน ้ ๔. คู่ที่ ๔ J (Judging) กับ P (Perceiving) กลุ่มของบุคลิกภาพคู่น้ ี จะพิจารณาถึงวิถีการดําเนินชีวิต ๔.๑ J (Judging) คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ชอบความเป็ นระเบียบ มีการกําหนดแผนชีวิต และ ํ ตารางเวลาประจําวันไว้ล่วงหน้าอย่างชัดเจน และรู ้สึกไม่สบายใจ หงุดหงิด เมื่อแผนที่กาหนดไว้น้ นถูก ั ํ เปลี่ยนแปลง หรื อไม่เป็ นไปตามที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ เมื่อตัดสิ นใจแล้ว ยากที่จะเปลี่ยนแปลง ๔.๒ P (Perceiving) คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ชอบความเป็ นอิสระ ไม่ชอบที่จะผูกมัดกับเงื่อนไขของ ่ เวลา และกฎระเบียบ ชอบใช้ชีวิตอย่างสบาย ๆ มีความยืดหยุน เปิ ดกว้าง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง การมอบหมายงานตามแบบของลักษณะของบุคลิกภาพ ลักษณะบุคลิกภาพที่ต่างกันนั้น ย่อมมีความถนัดและความพึงพอใจ ตลอดจนจุดแข็งและ จุดอ่อนเฉพาะของตนเอง การเลือกใช้ประโยชน์จากจุดแข็งของแต่ละกลุ่มบุคลิกภาพ โดยมีความเข้าใจ อย่างถ่องแท้ จะช่วยให้การทํางานระหว่างกันและกัน มีประสิ ทธิภาพสู งขึ้น ง่ายขึ้น และช่วยลดปั ญหา ความขัดแย้ง ความคับข้องใจที่อาจจะมีต่อกันได้ ดังนี้ ๑. E (Extrovert) จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนที่พดจาคล่องแคล่ว ชอบพบปะ ทําความรู ้จก ู ั กับคนหน้าใหม่ ๆ มีความถนัดทางด้านการพูด ช่างเจรจา ชอบการเข้าสังคมติดต่อกับผูอื่น ดังนั้น งานที่ ้ คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ถนัดและควรจะได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ คือ การติดต่อประชาสัมพันธ์ การ ประสานงาน การบรรยาย การเป็ นตัวแทนขององค์กรในงานสังคมต่าง ๆ รวมถึงการสร้างสัมพันธภาพ ั อันดีกบหน่วยงานอื่น บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑ หลักสูตร วปอ.๕๑
  • 4. -๔- ๒. I (Introvert) จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ไม่ชอบพูดมาก ชอบความสงบ นิ่ง มีความสามารถใน การมองทะลุถึงปั ญหาอย่างใจเย็น แต่จะไม่สะดวกที่จะพูดหรื อบรรยาย ในทางตรงข้าม จะถนัดด้าน การเขียน ดังนั้น จึงเหมาะที่จะไดรับมอบหมายให้ทางานที่ตองใช้สมาธิ อยูเ่ งียบ ๆ ตามลําพัง และเป็ น ํ ้ ผูรับผิดชอบด้านการเขียนรายงาน หรื อประเด็นสําคัญต่าง ๆ ้ ๓. S (Sensing) จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มีความอดทน ทําตามแผนงานหรื อสถานการณ์ที่มี รู ปแบบโครงสร้างชัดเจน เป็ นคนละเอียด ดังนั้น จึงเหมาะกับงานที่จะต้องปฏิบติตามขั้นตอน งาน ั รายละเอียด งานในความรับผิดชอบอาจจะเป็ นงานการตรวจสอบความถูกต้องในรายละเอียด การทํางาน กับตัวเลข และข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็ นงานรายละเอียด เช่น บัญชี ๔. N (Intuitive) จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มีพรสวรรค์ในด้านการเห็นภาพรวม ภาพกว้าง หรื อ อาจเรี ยกได้ว่าเป็ นคนมีวิสยทัศน์ เข้าใจเรื่ องต่าง ๆ ได้ง่ายและเร็ ว ซึ่งอาจเรี ยกได้อีกว่าเป็ นคนที่มีไหวพริ บ ั ปฏิภาณเฉี ยบแหลมและฉับไว มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ชอบทํางานในเรื่ องที่แปลกใหม่ ไม่ซ้ าแบบใคร ํ ดังนั้น จึงเหมาะที่จะเป็ นผูที่ริเริ่ มโครงการใหม่ ๆ วางแผนกลยุทธ และการแก้ปัญหาต่าง ๆ ้ ๕. T (Thinking) จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มีการคิดและตัดสิ นใจ โดยใช้ความเป็ นเหตุเป็ นผล ใช้ หลักฐานข้อมูลประกอบการตัดสิ นใจ ใช้การวิเคราะห์ พิจารณาถึงความเป็ นเหตุเป็ นผลอย่างรอบคอบ ดังนั้น จึงเหมาะที่จะได้รับมอบหมายให้เป็ นผูช้ ีแจง แสดงเหตุผล ไกล่เกลี่ยหาข้อยุติในสถานการณ์ที่ตอง ้ ้ ใช้เหตุและผล ๖. F (Feeling) คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มักจะเป็ นที่รักของผูที่อยูรอบข้าง ด้วยความมีเสน่ห์ ช่างสังเกต ้ ่ และระมัดระวังความรู ้สึกของผูอื่น ใช้เหตุและผลบนพื้นฐานของผลกระทบที่จะเกิดต่อผูอื่น และการ ้ ้ ยอมรับด้านความรู ้สึกของผูคนส่ วนใหญ่ บุคคลประเภทนี้ จึงมีความสามารถพิเศษในการเข้าถึงจิตใจ ้ ผูอื่น เลือกใช้วิธีการที่อ่อนโยน และหลีกเลี่ยงการทําร้ายความรู ้สึกและจิตใจของผูอื่นเป็ นอย่างดี ช่าง ้ ้ โน้มน้าวจิตใจ เพราะมีความเข้าใจผูอื่นเป็ นที่ต้ ง ้ ั ๗. J (Judging) จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนชอบวางแผน กําหนดเวลา และชะตาชีวิตของ ตนเองล่วงหน้าไว้แล้วเป็ นอย่างดี จึงมีขอดีและความสามารถพิเศษในการตัดสิ นใจที่เฉี ยบขาด เด็ดขาด ้ มันคง ไม่หวันไหว และยึดมันในการตัดสิ นใจของตนเอง เป็ นคนที่มีการเตรี ยมการล่วงหน้าเป็ นอย่างดี ่ ่ ่ ํ ดังนั้น จึงเหมาะที่จะควบคุมสถานการณ์ให้เป็ นไปตามเวลาที่กาหนดไว้ รักษาเวลาให้เป็ นไปตามกําหนด การณ์ มีการติดตามงานอย่างสมํ่าเสมอ และมีการจัดระเบียบงานที่ดี บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑ หลักสูตร วปอ.๕๑
  • 5. -๕- ๘. P (Perceiving) จากการที่คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ มีบุคลิกภาพที่สบาย ๆ ยืดหยุน ชอบความเป็ นอิสระ ่ เปิ ดกว้าง จึงมีจุดเด่นที่เป็ นคนเรี ยบง่าย ไม่เรื่ องมาก พร้อมที่จะปรับเปลี่ยน ไม่รังเกียจที่จะรับงานหลาย ๆ อย่างในคราวเดียวกัน แม้ว่าอาจจะทําได้ไม่เต็มที่ หรื อไม่เสร็ จตามเวลาที่กาหนดก็ตาม ํ การทํางานร่ วมกับคนในบุคลิกภาพแบบต่ าง ๆ การทํางานกับคนในบุคลิกภาพแบบต่าง ๆ ต้องคํานึงถึงลักษณะนิสัย อุปนิสัยใจคอ ความ พึงพอใจ จุดแข็ง และจุดอ่อน เพือให้งานนั้นลุล่วง เกิดประโยชน์สูงสุ ด และในขณะเดียวกัน ก็เป็ นการ ่ ่ สร้างสัมพันธภาพอันดีในการทํางานร่ วมกัน และสร้างความไว้วางใจ และความประทับใจที่ดีตอกันและ กัน โดยมีขอแนะนํา ดังนี้ ้ ๑. E (Extrovert) การทํางานร่ วมกับคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ต้องแสดงให้เห็นถึงความสนใจ มีการสนอง ตอบอย่างรวดเร็ ว และกระฉับกระเฉง กระตือรื อร้น สําหรับคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ การที่ตนเป็ นคนช่างพูด จึงมักมองและสรุ ปเอาเองว่า การเงียบไป หรื อหายไปของเพือนร่ วมงาน แสดงออกถึงความไม่สนใจ ่ ดังนั้น การที่จะสร้างความประทับใจให้กบคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะต้องมีการสนองตอบ หรื อติดต่อ ั กลับอย่างรวดเร็ ว และหากมีการพบปะพูดคุย เจรจากัน ก็ตองยอมเปิ ดโอกาสให้คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ้ ได้พดและแสดงความคิดเห็นให้มาก ๆ ู ๒. I (Introvert) เนื่องจากคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนที่เก็บตัว ไม่ค่อยชอบเข้าสังคม การที่จะสร้าง ความคุนเคยจึงต้องอาศัยเวลา เพื่อสร้างความไว้วางใจ ในขณะเดียวกัน เขาจะไม่เปิ ดเผย หรื อเล่าข้อมูล ้ ต่าง ๆ หากไม่ถูกถามถึง จึงจําเป็ นต้องหมันซักถาม ขอความคิดเห็น และก่อนการพบปะหารื อ ควรเปิ ด ่ โอกาสให้คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้มีเวลาคิดเกี่ยวกับหัวข้อสนทนาไว้ล่วงหน้า แต่หากเห็นท่าทีน่ิงเฉย หรื อไม่มีปฏิกิริยาตอบสนอง ก็อย่าได้ด่วนสรุ ปว่าไม่สนใจ ทั้งนี้เพราะคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนที่ เก็บความรู ้สึก ไม่แสดงออก ๓. S (Sensing) คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนเจ้าระเบียบ ชอบความถูกต้องแม่นยํา แน่นอน การทํางาน ไม่ตองการเสี่ ยงต่อความผิดพลาด และไม่อยากให้มีที่ติ ดังนั้น การทํางานร่ วมกับคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ้ จึงต้องแสดงให้เห็นถึงรายละเอียดขั้นตอนการทํางาน ผลสําเร็ จของงาน ตัวอย่างที่พสูจน์ให้เห็นได้ว่า ิ วิธีการที่แนะนํา หรื อเสนอนั้น มีประวัติที่ผอื่นเคยนําไปปฏิบติ และประสบผลสําเร็ จมาอย่างดีแล้ว ู้ ั ๔. N (Intuitive) คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ชอบงานโครงการใหญ่ ๆ มองภาพรวม ดังนั้น การสร้างความ ประทับใจให้กบคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จะต้องนําเสนอแนวความคิด หรื อหลักการที่สาคัญ ๆ ความท้าทาย ั ํ ความแปลกใหม่ของงาน และแสดงให้เห็นถึงวิสยทัศน์ ั บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑ หลักสูตร วปอ.๕๑
  • 6. -๖- ๕. T (Thinking) คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นนักคิด มีคลังข้อมูลอยูในสมอง มีความเป็ นเหตุเป็ นผล และ ่ สามารถมองเห็นถึงความผิดปกติ ความไม่ชอบมาพากลได้อย่างรวดเร็ ว การสร้างความประทับใจกับคน ในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ คือ ความกระชับ เตรี ยมเหตุเตรี ยมผลเพือตอบคําถามเมื่อถูกซักไซ้ อย่าหลงประเด็น ่ หรื อออกนอกประเด็น ต้องเตรี ยมตัวล่วงหน้าเป็ นอย่างดี และเมื่อต้องการให้มีการตัดสิ นใจเกิดขึ้น ต้อง แสดงให้เห็นถึงข้อดีและข้อเสี ย เพื่อเปรี ยบเทียบกันอย่างชัดเจน ต้องใจเย็นและใช้เหตุผล เพราะบ่อยครั้ง คนในกลุ่มนี้ จะพูดจาหรื อแสดงออกอย่างไม่ไว้หน้า หรื อคํานึงถึงความรู ้สึกของผูอื่นเท่าใดนัก เนื่องจาก ้ ให้ความสําคัญในสาระ หรื อเนื้อหาของงาน มากกว่าจิตใจและความรู ้สึกของผูอื่น ้ ๖. F (Feeling) เนื่องจากคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนที่เข้าอกเข้าใจ เป็ นมิตร และสนใจความรู ้สึก ของผูอื่น การทํางานจึงต้องแสดงให้เห็นถึงผล และคุณค่าของงานที่มีต่อผูอื่น ระมัดระวังเรื่ องของการ ้ ้ สื่ อสาร วิธีการพูด อย่าให้เป็ นที่ระคายเคือง เพราะคนในกลุ่มนี้ มักมีอารมณ์ละเอียดอ่อนและอ่อนไหว หมันจับ สังเกตสี หน้า ท่าที อิริยาบถ นํ้าเสี ยง การแสดงออก เพื่อประเมินถึงความรู ้สึก ความพอใจ และ ่ ความไม่พอใจ ๗. J (Judging) คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ เป็ นคนรักษาเวลา และมีตารางกําหนดเวลาล่วงหน้า การสร้าง ความประทับใจ คือ การนัดหมายล่วงหน้า การรักษาเวลานัด การตรงต่อเวลา การเสนอกําหนดตารางเวลา ในการทํางานล่วงหน้า และการทํางานให้เสร็ จตามเวลาที่กาหนด ควรคิดให้ดีก่อน วางแผนให้แล้วจึง ํ แจ้งให้คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ทราบ ทั้งนี้เพราะ การเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาหลาย ๆ หน จะทําให้คนใน กลุ่มบุคลิกภาพนี้ ขาดความเชื่อถือในตัวคุณ ๘. P (Perceiving) คนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ ชอบความหลากหลายเป็ นอิสระ ความยืดหยุนคล่องตัว การ่ ทํางานกับคนในกลุ่มบุคลิกภาพนี้ จึงต้องเปิ ดโอกาสให้มีการปรับเปลี่ยนได้ กระตุนให้เขาเป็ นตัวของ ้ ตัวเอง และหาวิธีการที่ช่วยให้เขาได้มีส่วนร่ วมในการรับผิดชอบตนเองตามวิถีทางที่เขาถนัด อย่ากําหนด เส้นตายคราวเดียว แต่พยายามแบ่งออกเป็ นจุดย่อย ๆ ทําให้เกิดความรู ้สึกว่าเป็ นเรื่ องใหม่อยูเ่ สมอ ลักษณะบุคลิกภาพของแต่ ละบุคคล บุคคลแต่ละคน จะมีลกษณะบุคลิกภาพอยู่ ๔ คู่ ตามที่ได้นาเสนอไปแล้วนั้น และเมื่อรวม ั ํ ลักษณะบุคลิกภาพทั้ง ๔ คู่เข้าด้วยกัน อาทิ เช่น ISTJ, INFP, ESFJ และ ENTP เป็ นต้น ซึ่งสามารถ ประมวลเป็ นลักษณะบุคลิกภาพของแต่ละบุคคลโดยสังเขป เพื่อเป็ นแนวทางนําไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ ดังต่อไปนี้ บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑ หลักสูตร วปอ.๕๑
  • 7. -๗- ในด้ านความคิด ในด้ านความรู้ สึก ในด้ านความรู้ สึก ในด้ านความคิด ISTJ ISFJ INFJ INTJ I ลุ่มลึกและมีสมาธิ I ลึกซึ้ งและแน่วแน่ I ลึกซึ้งและแน่วแน่ I ลุ่มลึกและมีสมาธิ S ละเอียดถี่ถวน และให้ความ ้ S ละเอียดอ่อน และพิถีพถน ิ ั N มีความลึกซึ้ง ละเอียดอ่อน ไม่ N เข้าใจถ่องแท้ และมีความคิด สําคัญต่อรายละเอียดปลีกย่อย ต่อข้อปลีกย่อย ถูกชักจูงได้ง่าย แตกฉาน ฉลาด หลักแหลม T เป็ นนักสัจจนิยม เป็ นนัก F บริ หารบุคคลด้วยความ F บริ หารบุคคลด้วยความเข้าใจ เป็ นตัวของตัวเอง จับประเด็น วิเคราะห์ เป็ นเหตุเป็ นผล เข้าใจ เห็นอกเห็นใจ เห็นอกเห็นใจ ที่ละเอียด ซับซ้อนได้ มีวิจารณญาณสูง J มีความรู ้สึกที่ไม่สบสน ั J มีความรู ้สึกที่ไม่สบสน ั T พินิจพิเคราะห์ เป็ นเหตุเป็ นผล J คิดอย่างเป็ นระบบขั้นตอน ใช้วิจารณญาณ ด้วยใจเป็นกลาง J คิดอย่างเป็ นระบบขั้นตอน ISTP ISFP INFP INTP I ลุ่มลึกและมีสมาธิ I ลึกซึ้ งและแน่วแน่ I ลึกซึ้งและแน่วแน่ I ลุ่มลึกและมีสมาธิ S คิดตามหลักความเป็ นจริ ง S ช่างสังเกต และให้ความสนใจ N มีความรู ้สึกลึกซึ้ง สร้างสรรค์ N เข้าใจถ่องแท้ และมีความคิด และช่างสังเกต กับรายละเอียด ละเอียดอ่อน แตกฉาน ฉลาด หลักแหลม T มีความสามารถในเชิงวิเคราะห์ F มีความเพียบพร้อมด้วยความ F มีความเพียบพร้อมด้วยความ เป็ นตัวของตัวเอง จับประเด็น และตรรกะ เสี ยสละ ความเห็นอกเห็นใจ เสี ยสละ ความเห็นอกเห็นใจ ที่ละเอียด ซับซ้อนได้ P รู ้จกปรับแนวความคิดให้ ั P ทําใจ ปรับใจได้ง่าย P ทําใจ ปรับใจได้ง่าย T มีความสามารถในเชิงวิเคราะห์ เหมาะสม และตรรกะ P รู ้จกปรับแนวความคิดให้ ั เหมาะสม ESTP ESFP ENFP ENTP E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม E พึงใจกับสถานการณ์ E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม แวดล้อม S ช่างสังเกต สัจจนิยม สนุกสนาน S ช่างสังเกต สัจจนิยม สนุกสนาน N เป็ นแรงบันดาลใจให้เกิดโครงการ N เป็ นแรงบันดาลใจให้เกิดโครงการ ร่ าเริ ง คิดบนพื้นฐานของ ร่ าเริ ง คิดบนพื้นฐานของ ต่างๆ ริ เริ่ม บุกเบิก ไม่ย้าคิดยํ้าทํา ํ ต่างๆ ริ เริ่ม บุกเบิก ไม่ย้าคิดยํ้า ํ ประสบการณ์ ประสบการณ์ ชอบความท้าทายแปลกๆใหม่ ๆ ทํา ชอบความท้าทายแปลกๆใหม่ ๆ T ไม่ยดติดกับตัวบุคคล รู ปแบบ F เข้าสังคมได้ง่าย เห็นอกเห็นใจ ึ เป็ นต้นคิดในสิ่ งใหม่ ๆ เป็ นต้นคิดในสิ่ งใหม่ ๆ หรื อกลไกใด ๆ มีความสามารถ ผูอื่น ้ F นิยมชมชื่น เข้าถึงจิตใจของผูอื่น T คิดอย่างมีเป้าหมาย พินิจพิเคราะห์ ้ ในเชิงวิเคราะห์ P ทําใจ ปรับใจได้ง่าย เป็ นที่รักใคร่ ผกพันของผูอื่น มี ู ้ มีความสามารถเป็ นพิเศษบาง P รู ้จกปรับแนวความคิดให้ ั เสน่ห์ ประการในการบริ หารงาน เหมาะสม P ทําใจ ปรับใจได้ง่าย P รู ้จกปรับแนวความคิดให้ ั เหมาะสม บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑ หลักสูตร วปอ.๕๑
  • 8. -๘- ในด้ านความคิด ในด้ านความรู้ สึก ในด้ านความรู้ สึก ในด้ านความคิด ESTJ ESFJ ENFJ ENTJ E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม E พึงใจกับสถานการณ์แวดล้อม S เข้าใจถึงความเป็ นไปได้ ในทาง ่ S ตั้งอยูบนพื้นฐานของประสบการณ์ N สนใจเฉพาะเรื่ องที่มองเห็นความ N คํานึงถึงความเป็ นไปได้ รู ้จริ ง ปฏิบติ ช่างสังเกต คิดบน ั F มีความตระหนัก และระมัดระวัง เป็ นไปได้ มีวาทศิลป์ และความ เป็ นต้นคิดที่ชาญฉลาด เป็ น พื้นฐานของประสบการณ์ ต่อความรู ้สึกของผูอื่น มีความ ้ สามารถทางภาษาอย่างลึกซึ้ง นักค้นคิดทดลอง T คิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล คิด เห็นอกเห็นใจ เอาใจเขามาใส่ ใจ คิดบนพื้นฐานของประสบการณ์ T คิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล คิด อย่างนักจัดการ นักบริ หาร เรา เข้าถึงความรู ้สึกของหมู่คณะ F มีความตระหนัก และระมัดระวัง อย่างนักจัดการ นักบริ หาร ตัดสิ นใจเฉี ยบขาด คิดอย่าง J มีความรู ้สึกไม่สับสน ต่อความรู ้สึกของผูอื่น มีความ ้ ตัดสิ นใจเฉียบขาด คิดอย่าง พินิจพิเคราะห์ เห็นอกเห็นใจ เอาใจเขามาใส่ใจเรา พินิจพิเคราะห์ J ใฝ่ หาความมีสมรรถภาพ เข้าถึงความรู ้สึกของหมู่คณะ J คิดอย่างมีระบบขั้นตอน J มีความรู ้สึกไม่สับสน บทสรุป การศึกษาในหัวข้อเหล่านี้ สามารถใช้เป็ นเครื่ องมือในการทําความเข้าใจพฤติกรรมของ มนุษย์ได้ดีข้ ึน แต่สิ่งที่นาเสนอให้เห็นนี้เป็ นเพียงส่ วนหนึ่งเท่านั้น ผูที่สนใจควรแสวงหาความรู ้ ความ ํ ้ เข้าใจเพิ่มเติม และหมันนําความรู ้ไปประยุกต์ใช้ ทดลอง และวิเคราะห์ผลที่ออกมา เพือทําความเข้าใจให้ ่ ่ ดีข้ ึน หรื อปรับเปลี่ยนวิธีคิด วิธีปฏิบติให้เหมาะสม สอดคล้อง ทั้งนี้เพราะ ไม่มีทฤษฎีใดที่เป็ นอมตะ ั หรื อถูกต้องเพียงทฤษฎีเดียว ข้อคิดที่สาคัญ คือ โปรดระวังอย่าให้จุดเด่นของคุณกลายเป็ นจุดด้อย ํ ----------------------------------- เอกสารอ้างอิง www.typelogic.com สื บค้นเมื่อ ๑๑ ต.ค.๕๑ www.keirsey.com สื บค้นเมื่อ ๑๑ ต.ค.๕๑ www.breakoutofthebox.com สื บค้นเมื่อ ๑๑ ต.ค.๕๑ บทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑ หลักสูตร วปอ.๕๑
  • 9. บันทึกข้ อความ ส่ วนราชการ วปอ.สปท. ที่ กห ๐๓๑๘.๕/ วันที่ ๑๗ พ.ย.๕๑ เรื่อง เสนอบทความทางวิชาการ ฉบับที่ ๑ เรียน ผอ.วปอ.สปท. กระผม พ.อ.รัตนชัย สุ วรรณเทศ นักศึกษาหลักสู ตร วปอ. รุ่ นที่ ๕๑ ขอเสนอบทความ ทางวิชาการ ฉบับที่ ๑ ในหัวข้อเรื่ อง “ลักษณะบุคลิกภาพกับภาวะผูนา” ตามเอกสารแนบมาพร้อมกันนี้ ้ ํ ด้วยแล้ว จึงเรี ยนมาเพื่อกรุ ณาทราบ ( ลงชื่อ ) พ.อ รัตนชัย สุ วรรณเทศ ( รัตนชัย สุ วรรณเทศ ) นักศึกษา วปอ.รุ่ นที่ ๕๑