SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
Baixar para ler offline
Nuclear reaction
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
Tihange nuclear plant in Belgium.
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (Nuclear reaction)
คือ ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของอะตอมชนิดเดียวกันเกิดการชน
กันเอง หรือนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งตัวเกิดการชนกันกับ
อนุภาคย่อยของอีกอะตอมหนึ่ง ทําให้เกิดนิวเคลียสใหม่หนึ่งตัว
หรือมากกว่าหนึ่งตัวที่มีจํานวนอนุภาคย่อยแตกต่างจากนิวเคลียส
ที่เริ่มต้นกระบวนการ
กฎสําคัญ 4 ข้อ ของการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์
1. ผลรวมของประจุทางซ้ายมือและขวามือของสมการจะต้องเท่ากัน
2. จํานวนนิวคลีออนทางซ้ายมือและขวามือจะต้องเท่ากัน
3. ผลรวมของมวลและพลังงานทางซ้ายมือและขวามือจะต้องเท่ากัน
4. การชนกันของนิวเคลียสถือเป็นการชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์
พลังงานจลน์และโมเมนตัมก่อนและหลังชนจะต้องเท่ากัน
สมการของปฏิกิริยานิวเคลียร์
หลักการคํานวณพลังงานเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์
1. มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา > มวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้
จะคายพลังงาน
2. มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา < มวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้
จะดูดพลังงาน
3. พลังงานที่คายหรือดูดจะหาได้จากผลต่างของมวลรวมก่อนทํา
ปฏิกิริยาและหลังทําาปฏิกิริยาคูณด้วย 931.5 MeV โดยมวลอยู่ใน
หน่วย u และพลังงานอยู่ในหน่วย MeV
4. มวลที่ใช้คํานวณอาจเป็นมวลนิวเคลียสโดยตรงหรือมวลอะตอม
ก็ได้โดยถ้าใช้มวลนิวเคลียสก็ต้องเป็นมวลนิวเคลียสทั้งหมด หรือ
ถ้าใช้มวลอะตอมก็ต้องเป็นมวลอะตอมทั้งหมด
ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission)
- เกิดจากการแตกตัวของนิวเคลียสธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม
- เมื่อยิงอนุภาคนิวตรอนเข้าชนธาตุหนักจะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์
โดยนิวเคลียสธาตุหนักจะแตกออกเป็นนิวเคลียสที่เบากว่า ทําให้
เกิดนิวตรอน 2-3 อนุภาค
- มวลของนิวเคลียสส่วนหนึ่งที่หายไปจะกลายเป็นพลังงานในรูป
ของความร้อน
ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission) (ต่อ)
นิวตรอนที่เกิดใหม่จะวิ่งเข้าชนนิวเคลียสของยูเรเนียม-235 ที่อยู่
ใกล้เคียง ทําให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันต่อไปเรื่อย ๆ ทําให้นิวเคลียสมี
การแตกตัวอย่างต่อเนื่อง เรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่ (Chain reaction)
ปฏิกิริยาลูกโซ่ (Chain reaction)
ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission) (ต่อ)
ใน พ.ศ. 2485 เอริโก แฟร์มี (Enrico
Fermi) นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลีได้
ประดิษฐ์เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
(Nuclear reactor) ที่สามารถควบคุมการ
เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ได้ จึงทําให้สามารถนํา
พลังงานนิวเคลียร์ไปใช้ในทางสันติในด้าน
ต่างๆ ได้ เช่น ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า สร้าง
เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ใช้ขับเคลื่อนเรือดํานํ้า
หรือจรวด
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion)
- เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสธาตุเบา เช่น ไฮโดรเจน ทําให้เกิด
นิวเคลียสของธาตุใหม่ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น และมวลที่หายไปจะ
เปลี่ยนไปเป็นพลังงานนิวเคลียร์
- ในธรรมชาติจะพบปฏิกิริยาฟิวชันบนดาวฤกษ์รวมถึงดวงอาทิตย์
- ปฏิกิริยาฟิวชันให้พลังงานมากกว่าปฏิกิริยาฟิชชันอย่างมาก
แต่มีรังสีเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อยจึงไม่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ)
- ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์สามารถสร้างปฏิกิริยาฟิวชันได้เฉพาะใน
ห้องปฏิบัติการ โดยใช้อะตอมของดิวเทอเรียมและทริเทียมใน
การสร้างปฏิกิริยาฟิวชัน ทําให้เกิดธาตุฮีเลียมและนิวตรอน
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ)
ให้พลังงานประมาณ 2.8x10–12
จูล หรือประมาณ 17.6 MeV
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ)
ตัวอย่างของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่ทําได้ในห้องปฏิบัติการ
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ)
ตัวอย่างของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่เกิดขึ้นบนดาวฤกษ์
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor)
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่จะทําให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์บนโลก แบบ
เดียวกับปฏิกิริยาที่ให้พลังงานออกมาจากดวงอาทิตย์หรือดาวฤกษ์ โดย
การควบคุมพลาสมาให้คงรูปอยู่ภายในสนามแม่เหล็ก ไม่ให้พลาสมา
สัมผัสกับผนังของเครื่องปฏิกรณ์
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) (ต่อ)
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) (ต่อ)
ปี พ.ศ.2559 เครื่อง Wendelstein 7-X ประเทศเยอรมัน
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) (ต่อ)
เครื่อง Wendelstein 7-X ประเทศเยอรมัน
กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
เรื่อง ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
พัน พัน
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
Theerawat Duangsin
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
Maikeed Tawun
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
nuchida suwapaet
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
Kittivut Tantivuttiki
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Mais procurados (20)

โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 

Mais de Chanthawan Suwanhitathorn

Mais de Chanthawan Suwanhitathorn (20)

ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
กลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัมกลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัม
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
ฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาคฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาค
 
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
 
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
 
กัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสีกัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสี
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 

ปฏิกิริยานิวเคลียร์

  • 2. Tihange nuclear plant in Belgium.
  • 3.
  • 4. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (Nuclear reaction) คือ ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของอะตอมชนิดเดียวกันเกิดการชน กันเอง หรือนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งตัวเกิดการชนกันกับ อนุภาคย่อยของอีกอะตอมหนึ่ง ทําให้เกิดนิวเคลียสใหม่หนึ่งตัว หรือมากกว่าหนึ่งตัวที่มีจํานวนอนุภาคย่อยแตกต่างจากนิวเคลียส ที่เริ่มต้นกระบวนการ
  • 5. กฎสําคัญ 4 ข้อ ของการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1. ผลรวมของประจุทางซ้ายมือและขวามือของสมการจะต้องเท่ากัน 2. จํานวนนิวคลีออนทางซ้ายมือและขวามือจะต้องเท่ากัน 3. ผลรวมของมวลและพลังงานทางซ้ายมือและขวามือจะต้องเท่ากัน 4. การชนกันของนิวเคลียสถือเป็นการชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ พลังงานจลน์และโมเมนตัมก่อนและหลังชนจะต้องเท่ากัน
  • 7. หลักการคํานวณพลังงานเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1. มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา > มวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้ จะคายพลังงาน 2. มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา < มวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้ จะดูดพลังงาน 3. พลังงานที่คายหรือดูดจะหาได้จากผลต่างของมวลรวมก่อนทํา ปฏิกิริยาและหลังทําาปฏิกิริยาคูณด้วย 931.5 MeV โดยมวลอยู่ใน หน่วย u และพลังงานอยู่ในหน่วย MeV 4. มวลที่ใช้คํานวณอาจเป็นมวลนิวเคลียสโดยตรงหรือมวลอะตอม ก็ได้โดยถ้าใช้มวลนิวเคลียสก็ต้องเป็นมวลนิวเคลียสทั้งหมด หรือ ถ้าใช้มวลอะตอมก็ต้องเป็นมวลอะตอมทั้งหมด
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission) - เกิดจากการแตกตัวของนิวเคลียสธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม - เมื่อยิงอนุภาคนิวตรอนเข้าชนธาตุหนักจะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ โดยนิวเคลียสธาตุหนักจะแตกออกเป็นนิวเคลียสที่เบากว่า ทําให้ เกิดนิวตรอน 2-3 อนุภาค - มวลของนิวเคลียสส่วนหนึ่งที่หายไปจะกลายเป็นพลังงานในรูป ของความร้อน
  • 13. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission) (ต่อ) นิวตรอนที่เกิดใหม่จะวิ่งเข้าชนนิวเคลียสของยูเรเนียม-235 ที่อยู่ ใกล้เคียง ทําให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันต่อไปเรื่อย ๆ ทําให้นิวเคลียสมี การแตกตัวอย่างต่อเนื่อง เรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่ (Chain reaction)
  • 15. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission) (ต่อ) ใน พ.ศ. 2485 เอริโก แฟร์มี (Enrico Fermi) นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลีได้ ประดิษฐ์เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (Nuclear reactor) ที่สามารถควบคุมการ เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ได้ จึงทําให้สามารถนํา พลังงานนิวเคลียร์ไปใช้ในทางสันติในด้าน ต่างๆ ได้ เช่น ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า สร้าง เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ใช้ขับเคลื่อนเรือดํานํ้า หรือจรวด
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) - เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสธาตุเบา เช่น ไฮโดรเจน ทําให้เกิด นิวเคลียสของธาตุใหม่ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น และมวลที่หายไปจะ เปลี่ยนไปเป็นพลังงานนิวเคลียร์ - ในธรรมชาติจะพบปฏิกิริยาฟิวชันบนดาวฤกษ์รวมถึงดวงอาทิตย์ - ปฏิกิริยาฟิวชันให้พลังงานมากกว่าปฏิกิริยาฟิชชันอย่างมาก แต่มีรังสีเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อยจึงไม่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม
  • 20. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ) - ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์สามารถสร้างปฏิกิริยาฟิวชันได้เฉพาะใน ห้องปฏิบัติการ โดยใช้อะตอมของดิวเทอเรียมและทริเทียมใน การสร้างปฏิกิริยาฟิวชัน ทําให้เกิดธาตุฮีเลียมและนิวตรอน
  • 21. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ) ให้พลังงานประมาณ 2.8x10–12 จูล หรือประมาณ 17.6 MeV
  • 22. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ) ตัวอย่างของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่ทําได้ในห้องปฏิบัติการ
  • 23. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ) ตัวอย่างของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่เกิดขึ้นบนดาวฤกษ์
  • 24.
  • 25. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่จะทําให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์บนโลก แบบ เดียวกับปฏิกิริยาที่ให้พลังงานออกมาจากดวงอาทิตย์หรือดาวฤกษ์ โดย การควบคุมพลาสมาให้คงรูปอยู่ภายในสนามแม่เหล็ก ไม่ให้พลาสมา สัมผัสกับผนังของเครื่องปฏิกรณ์
  • 27. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) (ต่อ) ปี พ.ศ.2559 เครื่อง Wendelstein 7-X ประเทศเยอรมัน
  • 28. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) (ต่อ) เครื่อง Wendelstein 7-X ประเทศเยอรมัน