SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
Baixar para ler offline
Volume 34/2562
ฉบับที่ 34
FREE COPYFREE COPY
ขอเชิญบริษัทซอฟต์แวร์ร่วมลงทะเบียน
เพื่อรับบริการจับคู่ธุรกิจ
ออนไลน์ทูออฟไลน์
พลิกโฉมเอสเอ็มอีสู่ธุรกิจดิจิทัล
STORE
ออนไลน์ทูออฟไลน์
พลิกโฉมเอสเอ็มอีสู่ธุรกิจดิจิทัล
10
ฟิกซิ
บริการเรียกช่างผ่านแอพพลิเคชั่น
ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ 4.0		
15สพธอ. ตั้ง 	
อีคอมเมิร์ส พาร์ค
ขับเคลื่อน เอสเอ็มอี รุกตลาดออนไลน์
08
Goftdigg
เพิ่มโอกาสการให้บริการสนามกอล์ฟ
ออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นและเว็บไซต์
รองรับลูกค้าทั้งไทยและ ตปท.
การทำ�ธุรกิจในปัจจุบันที่มีร้านค้าเป็นช่องทางการจำ�หน่ายเพียงอย่าง
เดียวในโลกดิจิทัล ธุรกิจขนาดกลางและเล็กหรือ เอสเอ็มอี จะอยู่รอดในธุรกิจ
ยาก เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตและพฤติกรรมการเลือก
ซื้อขายสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์มีมากขึ้น อาทิ โซเชียลมีเดีย บนรูปแบบ
โซเชียลคอมเมิร์ส เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ทำ�ให้เกิดการทำ�ธุรกิจทั้งในรูป
แบบออนไลน์และออฟไลน์เพื่อขยายฐานลูกค้ามากยิ่งขึ้น
	 Smart Industry ขอนำ�เสนอธุรกิจที่มีการนำ�เทคโนโลยีและช่องทาง
การตลาดออนไลน์ที่นำ�มาช่วยการให้บริการออฟไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
อาทิ สนามกอล์ฟ การให้บริการซ่อมแซมบ้าน บริการแม่บ้าน รวมถึงการใช้
บริการจองคิวร้านอาหารผ่านออนไลน์แอพพลิเคชั่น เป็นต้น
	 ดังนั้นเพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืนและเพิ่มศักยภาพ
การแข่งขันของธุรกิจ เอสเอ็มอี มีความจำ�เป็นอย่างมากที่จะนำ�ระบบออนไลน์
มารองรับการขยายฐานลูกค้าที่มีพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าผ่านออนไลน์
รองรับธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคต
กองบรรณาธิการ
บทบรรณาธิการ
Micro location based	 >> 3
Micro CRM
เครื่องมือการตลาดใหม่
มัดใจลูกค้ายุค 4.0
ออนไลน์ทูออฟไลน์	 >> 4
พลิกโฉมเอสเอ็มอีสู่ธุรกิจดิจิทัล
Goftdigg	 >> 8
เพิ่มโอกาสการให้บริการสนามกอล์ฟ
ออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นและเว็บไซต์
รองรับลูกค้าทั้งไทยและ ตปท.
คิวคิว 	 >> 9
แอพพลิเคชั่นจองคิว
รองรับลูกค้าใช้เวลาอย่างคุ้มค่า
ฟิกซิ 	 >> 10
บริการเรียกช่างผ่านแอพพลิเคชั่น
ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ 4.0	 	
กสท เปิดตัว 	 >> 11
“iget Mart”
ต่อยอดเอสเอ็มอี สู่ธุรกิจโอทูโอ
กรีน วัลเล่ย์ คันทรี 	 >> 12
คลับ บางนา
ใช้บริการแอพพลิเคชั่น Goftdigg
รองรับธุรกิจโต
บาร์บีคิว พลาซ่า	 >> 13
ใช้ระบบจองคิวผ่านแอพพลิเคชั่น
เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
กิจกรรม 	 >> 14
สพธอ. ตั้ง 	 >> 15
อีคอมเมิร์ส พาร์ค
ขับเคลื่อน เอสเอ็มอี รุกตลาดออนไลน์
จุลสารข่าว Smart Industry จัดท�ำโดย เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand)
ภายใต้ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เลขที่ 99/31 อาคาร Software Park
ถนนแจ้งวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2583-9992 โทรสาร 0-2583-2884
เว็บไซต์: www.swpark.or.th | www.nstda.or.th
Contentสารบัญ
3Smart Industry
	 Micro CRM เป็นแนวคิดที่ธุรกิจ
น�ำระบบไอทีมาช่วยระบบบริหารความ
สัมพันธ์ลูกค้า ในระดับเล็กหรือระดับ
บุคคล เพื่อติดตามงานขาย ตรวจสอบ
งานบริการลูกค้า ให้เกิดความจงรักภักดี
กับสินค้าหรือบริการที่ลูกค้าใช้อยู่ เช่น
การน�ำระบบบาร์โค้ดมาช่วยในการติดตาม
และพฤติกรรมลูกค้า โดยที่ลูกค้าที่
ต้องการสินค้าสามารถที่จะยิงบาร์โค้ด
สินค้าตามชั้นวางของเพื่อดูรายละเอียด
สินค้าหรือสินค้าโปรโมชั่นสินค้า เมื่อ
ลูกค้าหยิบสินค้านั้นไปช�ำระเงิน ธุรกิจ
หรือเจ้าของผลิตภัณฑ์จะสามารถติดตาม
ได้ว่าลูกค้าที่ซื้อสินค้ามีพฤติกรรมและ
มีความต้องการสินค้าในรูปแบบไหน เพื่อ
ให้ธุรกิจสามารถที่จะน�ำข้อมูลของลูกค้า
มาวิเคราะห์และน�ำเสนอสินค้าใหม่ให้กับ
ลูกค้าในเวลาที่เหมาะสม และตรงกับ
ความต้องการของตลาดมากขึ้น
	 ในการทำ�ธุรกิจ การให้บริการ
ที่สร้างความพึงพอใจและเข้าถึงใจของ
พฤติกรรมผู้บริโภค เป็นสิ่งจำ�เป็นอย่าง
มากในธุรกิจยุคดิจิทัล เนื่องจากจะทำ�ให้
ธุรกิจและนักการตลาดสามารถที่จะนำ�
พฤติกรรมความต้องการของผู้บริโภค
มาวิเคราะห์และสามารถสร้างสินค้าและ
บริการที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า
มากขึ้น
Micro location based
advertising และ Micro CRM
เครื่องมือการตลาดใหม่มัดใจลูกค้ายุค 4.0
	 Smart Industry จึงขอน�ำเสนอ
แนวโน้มการน�ำรูปแบบการตลาดและการ
สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้ามาน�ำเสนอ
ประกอบด้วย Micro location based
advertising และ Micro Customers
RelationshipManagement(MicroCRM)
เพื่อให้ธุรกิจขนาดกลางและเล็กสามารถ
ที่จะน�ำมาปรับให้เข้ากับธุรกิจที่มีอยู่ให้
สามารถท�ำธุรกิจได้อย่างยั่งยืน และมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
	 Micro location based advertising
คือ การโฆษณาสินค้าที่ตรงกับกลุ่มเป้า
หมายในรูปแบบเฉพาะเจาะจง และเป็น
การโฆษณาสินค้าที่มุ่งหวังให้ลูกค้าที่อยู่
บริเวณใกล้เคียงกับร้านค้าเข้ามาเยี่ยมชม
สินค้าและซื้อสินค้าในที่สุด การโฆษณาใน
รูปแบบนี้จะเน้นที่การน�ำเสนอโปรโมชั่น
แคมเปญที่ดึงดูดใจผู้บริโภคที่มีความ
ต้องการสินค้าเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว เมื่อ
ลูกค้าเห็นการโฆษณาสินค้า เช่น สินค้า
ลดราคาพิเศษในช่วงเวลานั้น50 เปอร์เซ็นต์
ในรัศมีที่ลูกค้าก�ำลังท�ำกิจกรรมใดๆ อยู่
และร้านค้ามีการน�ำเสนอสินค้าที่ตรงใจ
ลูกค้าที่อยู่ในรัศมีใกล้เคียงกับร้านค้า
ท�ำให้ลูกค้าสามารถที่จะตัดสินใจซื้อสินค้า
ได้ง่ายขึ้น และธุรกิจสามารถที่จะน�ำข้อมูล
ของลูกค้าไปวิเคราะห์เพื่อต่อยอดการให้
บริการ การผลิตสินค้าใหม่และสร้างแรง
จูงใจให้ลูกค้าเข้ามาซื้อสินค้าที่ร้านค้าได้
มากยิ่งขึ้น
S T O R E
4Smart Industry
	 จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
และการน�ำเทคโนโลยีมาช่วยพัฒนาธุกิจ
เพื่อรองรับพฤติกรรมของผู้บริโภคในยุค
ดิจิทัลที่มีความต้องการที่หลากหลาย
อาทิ ความสะดวกสบายในการเลือกซื้อ
สินค้าทั้งในรูปแบบของการช็อปปิ้งผ่าน
ออนไลน์ เว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย รวมถึง
แอพพลิเคชั่นบนมือถือ ในปัจจุบัน ซึ่งมี
แนวโน้มที่การเลือกซื้อสินค้าผ่านออนไลน์
มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นธุรกิจขนาด
กลางและเล็กมีความจ�ำเป็นที่จะท�ำธุรกิจ
ในรูปแบบออนไลน์ครบวงจรที่เรียกว่า
ออนไลน์ทูออฟไลน์ (Online-to-offline
หรือ O2O)
	 เนื่องจากการท�ำธุรกิจในรูปแบบ
โอทูโอ (Online to Offline) คือการผสม
ผสานระหว่างธุรกิจจากออนไลน์ไปยัง
ออฟไลน์ ซึ่งเป็นการน�ำจุดเด่นของการ
ขายสินค้าในร้านค้าทั่วไปหรือออฟไลน์มา
ช่วยยกระดับให้ร้านค้ามีทางเลือกในการ
ซื้อสินค้าได้มากขึ้น และร้านค้ายังสามารถ
ที่จะขยายฐานลูกค้ามากขึ้นผ่านหน้าร้าน
ออนไลน์ เพื่อรองรับการขายสินค้าและ
การเติบโตของธุรกิจ เนื่องจากธุรกิจ
รายย่อยในอนาคตจะไม่ได้จ�ำกัดอยู่เพียง
ร้านค้าในรูปแบบเดิมๆ แต่จะก้าวไปสู่โลก
โอทูโอที่มีการผสมผสานระหว่างจุดแข็ง
ของร้านค้าในโลกออนไลน์กับโลกออฟ
ไลน์เข้าด้วยกัน โดยจะใช้ประโยชน์จาก
ความสะดวกสบายในการจับจ่ายใช้สอย
สินค้าและการช�ำระเงินออนไลน์ ระบบ
ออนไลน์สามารถช่วยให้ผู้ประกอบการ
เก็บข้อมูลและพฤติกรรมของลูกค้าในการ
เลือกซื้อสินค้าและความต้องการของ
ลูกค้า ขณะเดียวกันร้านค้าสามารถที่จะใช้
ออนไลน์ทูออฟไลน์
พลิกโฉมเอสเอ็มอีสู่ธุรกิจดิจิทัล
5Smart Industry
	 สุรางคณา วายุภาพ ผู้อ�ำนวยการ
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. เปิดเผยว่า
การใช้อินเทอร์เน็ตที่เพิ่มมากขึ้น มีผล
อย่างมากกับพฤติกรรมของผู้บริโภคใน
การซื้อสินค้าผ่านออนไลน์
	 ทั้งนี้ จากการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้
งานอินเทอร์เน็ตประเทศไทยปี 2561 พบ
ว่าพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตของ
ประชากรไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย
คนไทยใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยนานขึ้นเป็น
10 ชั่วโมง 6 นาทีต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปีที่
ผ่านมา 3 ชั่วโมง 42 นาทีต่อวัน โดย Gen
Y มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตสูงที่สุดติดต่อ
กันเป็นปีที่ 4 ซึ่งเป็นผลมาจากนโยบาย
ไทยแลนด์ 4.0 ที่รัฐบาลลงทุนพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานเพื่อให้มีอินเทอร์เน็ต
ความเร็วสูงครอบคลุมทั่วประเทศประกอบ
กับโครงการพัฒนาความรู้ให้ประชาชนรู้
เท่าทันดิจิทัล รวมทั้งโครงการสมาร์ทซิตี้
และการให้ความส�ำคัญกับเรื่องความ
ปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ส่งผลให้คนไทย
มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเห็น
ได้ว่าเริ่มมีการเปลี่ยนผ่านการใช้บริการใน
ชีวิตประจ�ำวันจากเดิมที่เป็นออฟไลน์ไปสู่
การใช้บริการต่างๆผ่านออนไลน์มากขึ้น
อาทิ บริการเรียกแท็กซี่ สั่งอาหาร และ
การใช้บริการรับส่งเอกสารผ่านช่องทาง
ออนไลน์
วรวุฒิ อุ่นใจ
จุดแข็งของการมีหน้าร้าน และมีสินค้าให้
ลูกค้าได้เลือกสัมผัส ทดลองใช้งานได้จริง
สื่อออนไลน์จะไปกระตุ้นผู้บริโภคให้เกิด
ความต้องการในสินค้าและบริการ ซึ่งจะ
ส่งผลดีส�ำหรับการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
ของธุรกิจที่มีหน้าร้านค้า หรือมีช่องทาง
การกระจายสินค้า/จัดส่งสินค้าในโลก
ออฟไลน์ ลูกค้าสามารถตัดสินใจเลือกซื้อ
สินค้าและใช้บริการผ่านการเลือกชมและ
รีวิวสินค้าผ่านทางช่องทางออนไลน์ต่างๆ
ทั้งทางเว็บไซต์ หรือแอพพลิเคชั่นของ
ร้านค้า ลูกค้าสามารถช�ำระเงินผ่านทาง
ช่องทางออนไลน์ต่างๆ และรับสินค้าหรือ
บริการผ่านช่องทางออฟไลน์
	
	 วรวุฒิ อุ่นใจ นายกสมาคมค้าปลีก
ไทย กล่าวว่า ธุรกิจขนาดกลางและเล็ก
มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะปรับตัวและ
น�ำเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงช่องทาง
การท�ำธุรกิจผ่านออนไลน์มาช่วยในการ
บริหารงานเพื่อให้ธุรกิจสามารถด�ำเนิน
การได้อย่างต่อเนื่อง และสามารถที่จะ
ปรับตัวเข้ากับการท�ำธุรกิจในปัจจุบัน อาทิ
การน�ำช่องทางออนไลน์มาช่วยในการ
ประชาสัมพันธ์และช่องทางการสั่งสินค้า
โดยมีร้านค้าเป็นโชว์รูมเพื่อให้ลูกค้า
สามารถที่จะเข้ามาชมสินค้าได้ เนื่องจาก
ผู้บริโภคมีการใช้ช่องทางออนไลน์ อาทิ
อินเทอร์เน็ต โซเชียลมีเดียในการเข้าถึง
สินค้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
6Smart Industry
	 นอกจากการใช้อินเทอร์เน็ตที่เพิ่ม
มากขึ้นอย่างรวดเร็วแล้ว ประชาชนยัง
นิยมใช้โซเชียลมีเดีย อาทิ Facebook,
Instagram, Twitter และเว็บไซต์ Pantip
มากถึง3 ชม.30 นาทีต่อวัน ขณะที่การรับ
ชมวีดีโอสตรีมมิ่ง เช่น YouTube หรือ
LineTV มีชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ยอยู่ที่
2 ชม. 35 นาที ต่อวัน ส่วนการใช้
แอพพลิเคชั่นเพื่อพูดคุย เช่น Messenger
และ LINE เฉลี่ยอยู่ที่ 2 ชม. 6 นาทีต่อวัน
การเล่นเกมส์ออนไลน์อยู่ที่1 ชม.52 นาที
ต่อวัน และการอ่านบทความหรือหนังสือ
ทางออนไลน์อยู่ที่ 1 ชม. 31 นาที ต่อวัน
	 จากการที่ประชาชนมีการใช้อินเทอร์เน็ต
ที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้มีการซื้อขาย
สินค้าผ่านออนไลน์มีมากขึ้น โดย สพธอ.
ได้มีการส�ำรวจมูลค่าอีคอมเมิร์สในไทย
ปี 2560 พบว่าประเทศไทยมีมูลค่า
การซื้อขายสินค้าผ่านอีคอมเมิร์สทั้งสิ้น
2,812,592.03 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็น
มูลค่าอีคอมเมิร์สในรูปแบบธุรกิจกับธุรกิจ
(Business-to-business) หรือ B2B
คิดเป็นมูลค่าประมาณ 1,675,182.23
ล้านบาท หรือมีสัดส่วน 59.56 เปอร์เซ็นต์
รองลงมา เป็นมูลค่าของธุรกิจในรูปแบบ
ธุรกิจกับผู้บริโภค (Business-to-customer)
หรือ B2C มีมูลค่ามากกว่า 812,612.68
ล้านบาท หรือ 28.89 เปอร์เซ็นต์ และ
ส่วนที่เหลือราว 324,797.12 ล้านบาท
หรือ 11.55 เปอร์เซ็นต์ เป็นมูลค่าของ
ธุรกิจระหว่างธุรกิจกับหน่วยงานภาครัฐ
(Business-to-government) หรือ B2G
ซึ่งเมื่อเทียบมูลค่าตลาดอีคอมเมิร์สของ
ปี 2560 กับปี 2559 จะพบว่ามูลค่าของ
ธุรกิจประเภท B2B มีการเติบโตขึ้น 8.63
เปอร์เซ็นต์ เช่นเดียวกับธุรกิจประเภท
B2C ที่โตขึ้น 15.54 เปอร์เซ็นต์
	 ขณะที่ในส่วนของการแบ่งมูลค่า
อีคอมเมิร์สตามประเภทอุตสาหกรรม พบ
ว่าอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าอีคอมเมิร์สสูง
ที่สุด ได้แก่
7Smart Industry
	 ศิวัตร เชาวรียวงษ์ นายกสมาคม
โฆษณาดิจิทัล (ประเทศไทย) เล่าว่า
พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ของคน
ไทยในปัจจุบัน ผู้ที่ซื้อของออนไลน์จะหา
ข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตก่อนที่จะตัดสินใจ
ซื้อสินค้า และมองว่า โซเชียลมีเดีย
มีอิทธิพลในการจูงใจให้ซื้อสินค้า และการ
ซื้อสินค้าผ่านออนไลน์สามารถประหยัด
เวลาในการซื้อสินค้าเพราะไม่ต้องออก
ไปเลือกหาสินค้าด้วยตนเอง รวมทั้ง
ยังสามารถเปรียบเทียบราคาได้จาก
ผู้ประกอบการหลายรายภายในเวลา
เดียวกัน ดังนั้นการซื้อสินค้าผ่านออนไลน์
จึงเป็นทางเลือกในการซื้อสินค้าของ
ผู้บริโภคในปัจจุบัน
	 “ผมมองว่าสื่อออนไลน์ หรือสื่อ
ดิจิทัลเป็นสื่อที่มีความส�ำคัญอย่างมาก
และหลังจากนี้ก็จะยิ่งทวีความส�ำคัญมาก
ขึ้นไปอีกเพราะเข้ามาเกี่ยวข้องกับการซื้อ
ขายสินค้าไม่ว่าจะเป็นการท�ำธุรกรรม
โดยตรง หรือการหาข้อมูลก่อนเดินไป
ซื้อที่หน้าร้านก็ตามที” ศิวัฒน์ กล่าว
	 ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้อีก
ต่อไปส�ำหรับธุรกิจขนาดกลางและเล็กหรือ
เอสเอ็มอีที่ต้องการจะยืนหยัดต่อไปในการ
ท�ำธุรกิจยุคดิจิทัล เอสเอ็มอีจะต้องปรับ
ตัวเข้าสู่การท�ำธุรกิจผ่านช่องทางออนไลน์
และอ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้บริโภค
สามารถช�ำระเงินผ่านช่องทางออนไลน์
ท�ำให้ธุรกิจสามารถให้บริการผู้บริโภค
ครบวงจรมากขึ้นในรูปแบบของโอทูโอ
เพื่อให้การซื้อสินค้า และบริการของ
ผู้บริโภคมีความง่าย สะดวก ปลอดภัย
และมั่นใจที่จะซื้อสินค้าผ่านช่องทาง
ออนไลน์มากขึ้นและสามารถต่อยอดการ
ท�ำธุรกิจของเอสเอ็มอีได้ในอนาคตอีก
ด้วย
	 อันดับที่ 7 ได้แก่อุตสาหกรรมบริการ
อื่นๆ มีมูลค่าของตลาดอีคอมเมิร์สอยู่ที่
11,280.33 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 0.43
เปอร์เซ็นต์
	 และอันดับที่ 8 คืออุตสาหกรรมการ
ประกันภัย มีมูลค่าอีคอมเมิร์สที่2,729.65
ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนที่ 0.10
เปอร์เซ็นต์
	 ด้วยมูลค่าการเติบโตของการซื้อ
ขายสินค้า และบริการในรูปแบบของ
อีคอมเมิร์สที่มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ธุรกิจเอสเอ็มอีมีความจ�ำเป็นอย่างมาก
ในการปรับตัวเข้าสู่ช่องทางออนไลน์เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพของธุรกิจ
ทั้งในปัจจุบันและอนาคต เนื่องจากช่อง
ทางการขายสินค้าและบริการผ่านออนไลน์
ต่างๆ มีผลกับพฤติกรรมของผู้บริโภค
ให้ความส�ำคัญกับการหาข้อมูล การซื้อ
สินค้าและบริการมากขึ้น รวมถึงการใช้
เวลาในเล่นโทรศัพท์มือถือมากขึ้น ส่งผล
ให้ผู้บริโภคที่ค้นหาข้อมูลสินค้า และ
บริการที่ตัวเองต้องการจากช่องทางการ
ตลาดออนไลน์ตัดสินใจซื้อสินค้า และ
บริการง่ายและรวดเร็วขึ้น
	 อันดับที่ 1 อุตสาหกรรมการค้าปลีก
และการค้าส่ง มีมูลค่าอีคอมเมิร์ส
869,618.40 ล้านบาท หรือ 30.92
เปอร์เซ็นต์
	 รองลงมาอันดับที่2คืออุตสาหกรรม
การให้บริการที่พัก มีมูลค่าอีคอมเมิร์สอยู่
ที่ 658,131.15 ล้านบาท คิดเป็น 23.40
เปอร์เซ็นต์
	 อันดับที่ 3 ได้แก่อุตสาหกรรมการ
ผลิต มีมูลค่าของตลาดอีคอมเมิร์สอยู่ที่
417,207.07 ล้านบาท หรือคิดเป็น 14.83
เปอร์เซ็นต์
	 อันดับที่ 4 คืออุตสาหกรรมข้อมูล
ข่าวสารและการสื่อสาร มีมูลค่าของตลาด
อีคอมเมิร์สที่ 404,208.00 ล้านบาท หรือ
คิดเป็น 14.37 เปอร์เซ็นต์
	 อันดับที่ 5 ได้แก่ อุตสาหกรรม
การขนส่ง มีมูลค่าตลาดอีคอมเมิร์ส
จ�ำนวน 104,904.28 ล้านบาท คิดเป็น
3.73 เปอร์เซ็นต์
	 อันดับที่ 6 อุตสาหกรรมศิลปะความ
บันเทิง และนันทนาการ มีมูลค่าตลาด
อีคอมเมิร์สที่ 19,716.04 ล้านบาท หรือมี
สัดส่วนที่ 0.70 เปอร์เซ็นต์
ศิวัตร เชาวรียวงษ์
8Smart Industry
ธีระ ศิริเจริญ
และลูกค้ากลับมาใช้บริการ มากกว่า 70
เปอร์เซ็นต์
	 ธีระกล่าวว่า แอพพลิเคชั่นกอล์ฟ
ดิกก์ ไม่เพียงให้บริการจองสนามกอล์ฟ
เท่านั้น ยังให้บริการจองรถกอล์ฟ บริการ
จองแพคเกจ ออกรอบพร้อมที่พัก คอร์ส
เรียนตีกอล์ฟส�ำหรับเยาวชน และผู้ใหญ่
รวมถึงอุปกรณ์กอล์ฟ และการออกรอบ
ในร่ม และยังได้เพิ่มระบบสะสมคะแนน
ที่เรียกว่า กอล์ฟดิกก์ แฟมิลี่ เพื่อลูกค้าที่
จองผ่านกอล์ฟดิกก์จะได้รับสิทธิประโยชน์
ที่มากยิ่งขึ้น เช่น ออกรอบฟรีในเดือน
เกิด ส่วนลดชื่อลูกค้าที่สามารถส่งต่อให้
เพื่อนใช้ได้
	 ปัจจุบันแอพพลิเคชั่นกอล์ฟดิกก์ ให้
บริการจองสนามกอล์ฟทั้งหมด120สนาม
ใน 30 จังหวัด อาทิ ชลบุรี ระยอง และ
กรุงเทพมหานคร มีช่วงเวลาให้บริการ
จองสนามกอล์ฟ 600-700 ช่วงเวลาใน
สนามกอล์ฟมากกว่า 100 แห่งทั่ว
ประเทศ มีฐานลูกค้า 70,000 ดาวน์โหลด
และภายในสิ้นปีนี้คาดว่าจะมีฐานลูกค้า
100,000 ดาวน์โหลด
	 นอกจากนี้บริษัทยังได้พัฒนาระบบ
จองสนามกอล์ฟผ่านเว็บไซต์ (Web
reserve) ส�ำหรับเว็บไซต์ของสนามกอล์ฟ
เพื่อรองรับลูกค้าต่างประเทศของแต่ละ
สนามกอล์ฟ และบริษัทจะเปิดให้บริการ
จองสนามกอล์ฟเป็นภาษาญี่ปุ่นภายใน
สิ้นปีนี้เพื่อรองรับลูกค้าชาวญี่ปุ่นด้วย
	 “เราพัฒนาแอพพลิเคชั่นเพื่อรองรับ
ธุรกิจสนามกอล์ฟซึ่งเป็นการให้บริการใน
รูปแบบออฟไลน์มาสู่การจองสนามผ่าน
ออนไลน์ เพื่อรองรับความต้องการของ
ลูกค้าและอ�ำนวยความสะดวกให้ลูกค้า
สามารถจองสนามกอล์ฟได้ตลอด 24
ชั่วโมง และธุรกิจสนามกอล์ฟสามารถ
ที่จะรับลูกค้ามากขึ้นผ่านการจองในระบบ
ออนไลน์” ธีระ กล่าว
	 ทีมงานใช้เวลาในการพัฒนาแอพพลิ
เคชั่น 3 เดือน เพื่อให้บริการรับจองสนาม
กอล์ฟภายใต้แนวคิด “LastMinuteDeal”
หรือจองด่วนเย็นนี้เข้าสนามกอล์ฟพรุ่งนี้
ในเวลาอีกประมาณ 2 เดือน ทางทีมงาน
ได้เริ่มทดลองการให้บริการจองสนามกอล์ฟ
จากแอพพลิเคชั่นกอล์ฟดิกก์ในราคาลด
พิเศษ 10-50 เปอร์เซ็นต์ โดยนักกอล์ฟ
สามารถจองสนามกอล์ฟก่อนไปตีกอล์ฟ
ล่วงหน้า 1 วัน
	 ธีระ กล่าวว่า แอพพลิเคชั่น กอล์ฟ
ดิกก์ เป็นแอพพลิเคชั่นที่ให้นักกอล์ฟ
สามารถจองสนามกอล์ฟในราคาพิเศษ
ก่อนตีกอล์ฟ 1 วันในช่วงแรก ปัจจุบัน
บริษัทสามารถให้นักกอล์ฟสามารถจอง
สนามกอล์ฟล่วงหน้าได้ถึง 30 วัน
	 ส�ำหรับสนามกอล์ฟสนามแรกที่
แอพพลิเคชั่น กอล์ฟดิกก์ ให้บริการ คือ
สนามกอล์ฟ เดอะวินเทจ กอล์ฟคลับ
บางนา และเริ่มมีลูกค้าคนแรกเข้ามา
ใช้บริการหลังจากเปิดตัวแอพพลิเคชั่น
ประมาณ 7 วัน
	 จุดเด่นของการให้บริการของกอล์ฟ
ดิกก์ นอกจากจะการันตี ลูกค้าที่จอง
สนามกอล์ฟผ่านกอล์ฟดิกก์จะได้ไปตี
กอล์ฟตามที่จองไว้ 100 เปอร์เซ็นต์แล้ว
ลูกค้ายังสามารถที่จะได้รับเงินคืนหากใน
ช่วงเวลาที่จองสนามมีฝนตกท�ำให้ลูกค้ามี
ความพึงพอใจในการใช้งานกับกอล์ฟดิกก์
	 “เราเริ่มพัฒนาแอพพลิเคชั่นจอง
สนามกอล์ฟและใช้เวลาในการพัฒนา
ประมาณ 3 เดือน เพื่อตอบโจทย์ความ
ต้องการคนชอบตีกอล์ฟ ที่อยากตีกอล์ฟ
ในราคาที่คุ้มค่าเราเลยพยายามที่จะท�ำให้
ราคาในกอล์ฟดิกก์มีความคุ้มค่าที่สุดไม่มี
การมาคิดค่าใช้จ่ายเพิ่ม”ธีระกล่าวและว่า
	 ธีระ ศิริเจริญ ซีอีโอ บริษัท กอล์ฟดิกก์
จ�ำกัด ผู้พัฒนาแอพพลิเคชั่น Goftdigg
หรือ กอล์ฟดิกก์ เล่าว่า บริษัทฯ เกิด
จากการรวมกันของคนที่ชอบเล่นกอล์ฟ
ทีมนักพัฒนาและวิศวกร ในการพัฒนา
แอพพลิเคชั่น เพื่อตอบโจทย์การจอง
สนามกอล์ฟออนไลน์ในราคาพิเศษ
Goftdigg
เพิ่มโอกาสการให้บริการสนามกอล์ฟ
ออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นและเว็บไซต์
รองรับลูกค้าทั้งไทยและ ตปท.
9Smart Industry
รังสรรค์ พรมประสิทธิ์
	 นอกจากนี้ บริษัทยังให้บริการ
แอพพลิเคชั่น คิวคิวกับ ค่ายโทรศัพท์
มือถือ เพื่อน�ำเสนอบริการพิเศษให้กับ
ลูกค้าโทรศัพท์มือถือในรูปแบบเครื่องมือ
การตลาดในการให้บริการพิเศษกับลูกค้า
ด้วย อย่างไรก็ตามแอพพลิเคชั่น คิวคิว
ยังมีฟังก์ชันใหม่ในรูปแบบของ E-Coupon
หรือ อีคูปอง เพื่อให้ส่วนลดต่างๆ ส�ำหรับ
ลูกค้าเมื่อจองคิวผ่านแอพพลิเคชั่นเพื่อ
เป็นการขยายฐานลูกค้า และเพิ่มรูปแบบ
การอ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้มากขึ้น
	 รังสรรค์ เล่าว่า บริษัทฯ อยู่ระหว่าง
การพัฒนา Micro location based
advertising หรือการโฆษณาสินค้าที่
สามารถก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน
และอยู่ในรัศมีของร้านค้า ในระยะ 3
เมตรหรือ 50 เมตร เพื่อรองรับธุรกิจที่
ต้องการโฆษณาสินค้าที่เจาะจงลูกค้าและ
น�ำเสนอสินค้าที่ตรงกับความต้องการของ
ลูกค้ามากที่สุด เพื่อเพิ่มโอกาสในการขาย
สินค้ามากยิ่งขึ้น
	 ปัจจุบันบริษัทฯ มีลูกค้าร้านอาหาร
มากกว่า 300 แห่ง ธนาคารและบริษัทให้
บริการโทรศัพท์มือถือ ภายในปีนี้คาดว่า
จะให้บริการมากกว่า 1,000 แห่ง มีผู้ใช้
บริการแอพพลิเคชั่น คิวคิว ประมาณ 1
ล้านคน และคาดว่าจะมีผู้ใช้บริการแอพ
พลิเคชั่นคิวคิวเพิ่มขึ้นเป็น 5 ล้านคนใน
อีก 2 ปีข้างหน้า บริษัทฯ ยังมีแผนที่
จะขยายการให้บริการไปยังตลาดต่าง
ประเทศ อาทิ ลาว มาเลเซีย และเกาหลี
เป็นต้น
	 รังสรรค์ พรมประสิทธิ์ CEO ของ
บริษัทYMMYจ�ำกัด ผู้ก่อตั้งและให้บริการ
แอพพลิเคชั่น QueQ หรือ คิวคิว กล่าวว่า
แอพพลิเคชั่นคิวคิวมีองค์ประกอบส�ำคัญ
ของการจัดระบบคิว ประกอบไปด้วย
2 ส่วนคือ ระบบจัดการคิว ณ หน้าร้าน
ลักษณะเป็นตู้และระบบรันคิว โดยฝั่งผู้ใช้
งานติดตั้งแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน
หรือแท็บเล็ต เชื่อมต่อกันและแสดงผล
ผ่านอินเทอร์เน็ต
	 “ผมเริ่มมาคิดว่า เราควรจะสร้าง
โปรดักส์สักตัวที่เป็นโปรดักส์ภายใต้แบรนด์
เราเอง เซอร์วิสของเราเอง เมื่อ 4 ปีที่
ผ่านมา กระแสสตาร์ทอัพก�ำลังเข้ามา
เราพยายามหาโมเดลที่จะขยายและคิด
ขึ้น จึงคิดว่าเราควรจะท�ำแอพพลิเคชั่น
สามารถแก้ไขปัญหาของคนให้ได้ จึงได้
จากจุดเริ่มต้นที่ รังสรรค์ พรมประสิทธิ์
ได้ร่วมกับเพื่อในการก่อตั้ง บริษัท เอส
บ็อกซ์ จ�ำกัด (S Box) เพื่อรับพัฒนา
ซอฟต์แวร์ เว็บ แอพพลิเคชั่น และโมบายน์
แอพพลิเคชั่น ตามความต้องการของ
ลูกค้า เมื่อ 10 ปีที่ผ่านมา รังสรรค์และ
เพื่อนเริ่มคิดที่จะพัฒนาซอฟต์แวร์ภาย
ใต้แบรนด์ของตนเองจึงได้เปลี่ยนการ
รับจ้างพัฒนาซอฟต์แวร์ มาสู่การพัฒนา
แอพพลิเคชั่น QueQ หรือ คิวคิว เพื่อ
รองรับธุรกิจสตาร์ทอัพ
พัฒนาแอพพลิเคชั่นคิวคิว เพื่อตอบโจทย์
การรอคิวนาน เมื่อตอนที่ไปท�ำธุรกรรม
กับธนาคารและรอคิวนานมาก มันปิ๊ง
ไอเดีย แล้วเอากลับมาคุยกับทีมว่าเป็น
ระบบที่น่าสนใจ จึงสร้างและทดลอง
พัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์การรอคิวที่
ยาวนาน” รังสรรค์ กล่าวและว่า
	 บริษัทใช้เวลาในการพัฒนาแอพพลิ
เคชั่นคิวคิวทั้งสิ้นประมาณ10 เดือน ก่อน
ที่จะท�ำตลาด โดยมุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมาย
ไปยังร้านอาหารที่มีสาขา แอพพลิเคชั่น
คิวคิว จึงเป็นแอพพลิเคชั่นที่ให้ลูกค้า
ร้านอาหารสามารถจองคิวผ่านมือถือและ
แอพพลิเคชั่น มีจุดเด่นที่สามารถตอบ
โจทย์ร้านอาหารว่า มีลูกค้ารอคิวมากน้อย
แค่ไหน เมื่อยังไม่ถึงคิวลูกค้าสามารถไป
เดินเล่นหรือทานกาแฟระหว่างรอ และ
แอพพลิเคชั่นจะส่งข้อความมาเตือนเมื่อ
ใกล้ถึงคิวล่วงหน้า
	 นอกจากนี้ ลูกค้าที่ใช้บริการของ
แอพพลิเคชั่น คิวคิว เมื่อสมัครสมาชิก
แล้ว ลูกค้าสามารถที่จะค้นหาร้านอาหาร
ในรัศมี 2 กิโลเมตร และสามารถจองคิว
ผ่านแอพพลิเคชั่นได้เลย โดยไม่ต้องไป
ขอจองคิวกับพนักงานที่หน้าร้านอาหาร
	 “แอพพลิเคชั่นคิวคิว เป็นโซลูชั่นที่
ไปแก้ไขเรื่องการใช้เวลาให้ฉลาดมากขึ้น
ในสถานที่ที่มีลูกค้าเยอะๆ ปัจจุบันคิวคิว
ขยายฐานการให้บริการไปยัง ธนาคาร
โรงพยาบาล 30 แห่ง และอยู่ระหว่างรอ
การติดตั้งระบบอีกมากกว่า100โรงพยาบาล
ทั่วประเทศ” รังสรรค์ กล่าวและว่า
คิวคิว
แอพพลิเคชั่นจองคิว
รองรับลูกค้าใช้เวลาอย่างคุ้มค่า
10Smart Industry
	 ปัจจุบันบริษัทให้บริการซ่อมและ
บริการอื่นๆ ในกลุ่มบริการงานหลัก อาทิ
บริการงานก่อสร้าง งานไฟฟ้า ซ่อมน�้ำ
ประปา บริการซ่อมบ�ำรุง และบริการ
แม่บ้าน เป็นต้น
	 ในการใช้บริการนั้นลูกค้าเพียงดาวน์
โหลดแอพพลิเคชั่น Fixzy จากนั้นลูกค้า
สามารถที่จะลงทะเบียนและแจ้งการซ่อม
เพื่อให้ช่างมาซ่อมงานต่างๆ ที่บ้านได้
ลูกค้าจะได้รับข้อมูลตอบกลับส�ำหรับงาน
แจ้งซ่อมจากช่างภายในครึ่งชั่วโมง และ
ส�ำหรับค่าใช้จ่ายในการใช้บริการลูกค้า
สามารถดูค่าบริการงานซ่อมหลังจากแจ้ง
รายละเอียดงานซ่อมผ่านแอพพลิเคชั่น
นอกจากนี้ลูกค้ายังสามารถที่จะช�ำระเงิน
ค่าบริการงานซ่อมและบริการอื่นๆ ผ่าน
แอพพลิเคชั่นได้เลย
	 รัชวุฒิ พิชยาพันธ์ ผู้ร่วมก่อตั้ง
บริษัท ฟิกซิ จ�ำกัด กล่าวว่า บริษัทได้ให้
บริการช่างซ่อมบ้าน งานซ่อมอื่นๆ และ
บริการแม่บ้าน ผ่านแอพพลิเคชั่น Fixzy
หรือ ฟิกซิ เมื่อ 3 ปีที่ผ่านมา โดยมี
จุดมุ่งหมายที่จะให้ลูกค้าที่ต้องการซ่อม
บ้านสามารถหาช่างมาช่วยในการบริการ
ซ่อมบ้านที่มีประสิทธิภาพและได้รับความ
สะดวกในการติดต่อผ่านแอพพลิเคชั่น
Fixzy
ฟิกซิ
บริการเรียกช่างผ่านแอพพลิเคชั่น
ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ 4.0
	 ฟิกซิ (Fixzy) แอพพลิเคชั่นที่รวม
บริการงานซ่อมบ้านรองรับลูกค้า ยุค
ดิจิทัล และคาดว่าจะมีฐานลูกค้า 1 ล้าน
รายในอีก 2 ปีข้างหน้า
รัชวุฒิ พิชยาพันธ์
	 “เราให้บริการช่างซ่อม พร้อมการันตี
ในการท�ำงาน 100 เปอร์เซ็นต์ท�ำให้ลูกค้า
มีความมั่นใจในการใช้บริการอย่างมาก
เรามีการตรวจสอบประวัติช่างทุกคนก่อน
ที่ช่างจะไปให้บริการกับลูกค้า” รัชวุฒิ
กล่าว
	 บริษัทมีทีมช่างให้บริการลูกค้า
ประมาณ 4,500 ทีม และมีบริการแม่บ้าน
100 ทีม ให้บริการลูกค้าในกรุงเทพมหานคร
และปริมณฑล ขอนแก่น โคราช และ
เชียงใหม่ บริษัทฯ มีแผนที่จะให้บริการ
ครอบคลุมในจังหวัด ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี
และชลบุรี ในปีหน้า
	 “เราให้บริการลูกค้าผ่านแอพพลิเคชั่น
หรือ การท�ำธุรกิจในรูปแบบ Online-to-
offline (O2O) หรือโอทูโอซึ่งลูกค้าสามารถ
เรียกใช้บริการงานซ่อมผ่านออนไลน์ และ
เรามีช่างไปให้บริการในรูปแบบออฟไลน์”
รัชวุฒิ กล่าว
	 ปัจจุบันบริษัทฯ มีฐานลูกค้า150,000
ราย มีลูกค้ากลับมาใช้ซ�้ำมากกว่า 30
เปอร์เซ็นต์ต่อเดือน มีฐานลูกค้าที่ดาวน์
โหลดแอพพลิเคชั่นมากกว่า 70,000 ราย
และบริษัทฯ คาดว่าภายใน 2 ปีจะมี
ฐานลูกค้ามากกว่า 1 ล้านราย นอกจากนี้
บริษัทฯ ยังร่วมกับพันธมิตรซึ่งเป็นเจ้าของ
โครงการอสังหาริมทรัพย์มาก
กว่า 10 รายในการให้บริการกับ
ลูกค้าในโครงการหมู่บ้านจัดสรร
ต่างๆ
11Smart Industry
	 บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด
(มหาชน) จ�ำกัด เปิดตัวแอพพลิเคชั่นใหม่
“iget Mart” รองรับการเชื่อมโยงร้านค้า
ออฟไลน์ สู่ร้านค้าออนไลน์ (Offline-to-
online) หรือ O2O (โอทูโอ) พร้อมเสริม
โอกาสช่องทางการค้าให้ผู้ค้าเชื่อมต่อการ
ขายทั้งหน้าร้านออฟไลน์ และหน้าร้าน
ออนไลน์ เพื่อยกระดับธุรกิจขนาดกลาง
และเล็ก หรือ เอสเอ็มอี ไทยสู่ตลาด
โลก คาดสิ้นปีนี้มีผู้ใช้งานกว่า 1 ล้าน
ดาวน์โหลด
บริหารสต็อกสินค้า การช�ำระเงิน การ
บัญชี ดูสถานะร้านในแต่ละสาขา รวม
ถึงรายงานทางการเงินเพื่อน�ำไปต่อยอด
การวางกลยุทธ์การตลาดได้ง่ายขึ้น และ
เชื่อมต่อการขายเข้าสู่การขายออนไลน์
ผ่านบริการ “iget Mart” โดยเน้นการ
เป็นตลาดรวมสินค้าไทยยุค 4.0 ทั้งสินค้า
OTOP สินค้าท้องถิ่น สินค้าภูมิปัญญา
ไทย และสินค้าจากตลาดนัดชั้นน�ำต่างๆ
ของไทย รวมถึงสนับสนุนด้านการท่อง
เที่ยว และที่ส�ำคัญผู้ประกอบการไม่ต้อง
กังวลในด้านการบริหารจัดการช่องทาง
ออนไลน์ที่เพิ่มขึ้น ด้วยเป็นการเชื่อมต่อ
เข้ากับระบบ iget POS ซึ่งใช้ในการบริหาร
จัดการหน้าร้านออฟไลน์เดิมโดยอัตโนมัติ
นับได้ว่าเป็นการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัล มา
สนับสนุนสินค้าและบริการของไทยได้มี
โอกาสเติบโตในตลาดโลก และส่งเสริม
การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ
ไทยให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้นอย่างยั่งยืนตาม
แนวนโยบายเศรษฐกิจประเทศไทย 4.0
ของรัฐบาล
	 สรรพชัย กล่าวว่า ปัจจุบันมีร้านค้า
ใช้แอพพลิเคชั่น iget Mart ในการขยาย
ฐานลูกค้า มากกว่า 500 ร้านค้า คาดว่า
ภายในปีนี้จะมีผู้ใช้งานมากกว่า 1 ล้าน
ดาวน์โหลด
	 สรรพชัย หุวะนันทน์ กรรมการ
ผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม
จ�ำกัด (มหาชน) เล่าว่า บริษัทฯ ได้พัฒนา
แอพพลิเคชั่น “iget Mart” ขึ้น เพื่อขยาย
ศักยภาพให้กับธุรกิจขนาดกลางและเล็ก
หรือเอสเอ็มอีสามารถเพิ่มช่องทางการจัด
จ�ำหน่ายสินค้าจากหน้าร้าน หรือออฟไลน์
สู่การจัดจ�ำหน่ายผ่านออนไลน์ (Offline
to Online : O2O) เพื่อให้เอสเอ็มอี
สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้มากขึ้น และ
เพื่อตอบโจทย์ความต้องการใช้งานของ
ผู้บริโภคในยุคดิจิทัล
	 ช่วง 10 ปีที่ผ่านมาธุรกิจ e-Commerce
กลายมาเป็นหนึ่งในโมเดลธุรกิจที่ประสบ
ความส�ำเร็จอย่างสูง และยังคงมีแนวโน้ม
การเติบโตอย่างต่อเนื่อง ด้วยเทรนด์ของ
ผู้บริโภคที่เปลี่ยนมาซื้อของหรือท�ำธุรกรรม
ในโลกออนไลน์มากขึ้น อย่างไรก็ดี การ
ค้าขายบนโลกออนไลน์เพียงอย่างเดียว
อาจยังไม่ใช่ค�ำตอบสุดท้ายให้กับผู้บริโภค
	 “iget Mart” จึงนับเป็นเครื่องมือ
ส�ำคัญที่จะมาต่อยอดการท�ำธุรกิจแบบ
โอทูโอ ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยได้ผนวก
ร้านค้าออฟไลน์เข้ากับร้านค้าออนไลน์
ผ่าน 2 แอพพลิเคชั่น ประกอบด้วย
“iget POS” ระบบบริหารจัดการหน้า
ร้านที่สามารถช่วยเหลือในการสั่งสินค้า
สรรพชัย หุวะนันทน์
กสท เปิดตัว “iget Mart”
ต่อยอดเอสเอ็มอี สู่ธุรกิจโอทูโอ
12Smart Industry
	 นอกจากนี้บริษัทยังน�ำบริการจอง
สนามกอล์ฟผ่านหน้าเว็บไซต์ http://
www.greenvalleybangkok.com
ของสนามกอล์ฟมารองรับการจองสนาม
ส�ำหรับลูกค้าต่างประเทศด้วย
	 ภัทร กล่าวว่า ปัจจุบันบริษัทไม่
เพียงให้บริการจองสนามกอล์ฟผ่าน
แอพพลิเคชั่น และเว็บไซต์ บริษัทยัง
ท�ำการตลาดผ่านอีเมล์ มาร์เก็ตติ้งและ
ไลน์แอด (Line@) เพื่อรองรับพฤติกรรม
ของลูกค้านักกอล์ฟคนรุ่นใหม่ที่มีอายุ
ระหว่าง 25 ถึง 35 ปี และช่วยเพิ่ม
ความสะดวกในการเข้าถึงบริการของ
สนามกอล์ฟ
	 “ผมมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ
หรือไอทีเข้ามามีบทบาทในการท�ำธุรกิจ
อย่างมาก เพราะไอทีท�ำให้ธุรกิจสามารถ
รู้ถึงพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงในการใช้
บริการของลูกค้า ขณะเดียวกันไอทียังช่วย
ให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงบริการต่างๆ ได้
ง่าย สะดวก และรวดเร็วมากขึ้น นอกจาก
นี้ลูกค้าสามารถเข้าถึงบริการได้24 ชั่วโมง
ทุกที่ทุกเวลา” กล่าว และว่า
	 สนามกอล์ฟ กรีนวัลเล่ย์ฯ ให้บริการ
สนามกอล์ฟ รองรับนักกอล์ฟมากกว่า
80,000 คนต่อปี แบ่งเป็นลูกค้าชาวไทย
ประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์และลูกค้าชาว
ต่างชาติ30 เปอร์เซ็นต์ บริษัทฯ ยังคาดว่า
จะมีการจองสนามกอล์ฟผ่านแอพพลิเคชั่น
มากขึ้นเป็น 15 เปอร์เซ็นต์ในอีก 2 ปี
ข้างหน้า
	 ภัทร วิสิฐนรภัทร ผู้จัดการทั่วไป
สนามกอล์ฟกรีนวัลเล่ย์ คันทรี คลับ
บางนา เล่าว่า สนามกรีนวัลเล่ย์ คันทรี
คลับ บางนา เป็นสนามกอล์ฟแห่งแรกใน
ย่าน บางนา ได้เปิดให้บริการกับนักกอล์ฟ
มากว่า 30 ปี และสนามกรีนวัลเลย์ฯ เริ่ม
ให้บริการจองสนามกอล์ฟผ่านแอพพลิ
เคชั่น กอล์ฟดิกก์ (Golfdigg) เมื่อ 4 ปีที่
ผ่านมา
	 “ผมมองว่าการให้บริการจองสนาม
กอล์ฟ ผ่านแอพพลิเคชั่นกอล์ฟดิกก์เป็น
การเพิ่มโอกาสในการจองสนามกอล์ฟใน
รูปแบบจองสนามกอล์ฟ 1 วันก่อนไปตี
กอล์ฟที่สนาม ในช่วงเวลาที่ขายบริการไม่
ได้ บริษัทฯ ได้ให้บริการสนามกอล์ฟผ่าน
แอพพลิเคชั่นประมาณ 5-6 ช่วงเวลา
ในวันธรรมดาและจ�ำนวน 2-3 ช่วงเวลา
ในวัน เสาร์-อาทิตย์ หรือ
จ�ำนวนที่ให้บริการจองสนาม
กอล์ฟผ่านออนไลน์ประมาณ
34 ช่วงเวลาต่อสัปดาห์ นัก
กอล์ฟสามารถจองสนาม
กอล์ฟได้ราคาพิเศษจากราคา
ปรกติประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์
และ มียอดการจองผ่าน
แอพพลิเคชั่น ประมาณ 5
เปอร์เซ็นต์หรือประมาณ6 ช่วง
เวลาต่อสัปดาห์” ภัทร กล่าว
และว่า
กรีน วัลเล่ย์ คันทรี คลับ บางนา
ใช้บริการแอพพลิเคชั่น Goftdigg รองรับธุรกิจโต
	 กรีน วัลเล่ย์ คันทรี คลับ บางนา
ตั้งเป้ามีรายได้จากการจองสนามกอล์ฟ
ผ่านออนไลน์กว่า 15 เปอร์เซ็นต์ในอีก
2 ปีข้างหน้า
13Smart Industry
การรอคิวสะสมที่ลูกค้ารอคิวนานที่หน้า
ร้านอาหาร เนื่องจากระบบจองคิวผ่าน
แอพพลิเคชั่นสามารถอ�ำนวยความสะดวก
ให้กับลูกค้าโดยลูกค้าไม่ต้องมาจองคิว
ที่หน้าร้าน ในทางกลับกันลูกค้าสามารถ
เปิดแอพพลิเคชั่น QueQ และจองคิวร้าน
อาหารได้เลย ท�ำให้ลูกค้าไม่ต้องมาเสีย
เวลารอคิวที่หน้าร้านอาหารถึง 45 นาที
กรณีที่มีลูกค้าจ�ำนวนมาก ขณะเดียวกัน
ลูกค้าสามารถจัดการเวลาได้เองและ
ง่ายขึ้นในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ก่อนมา
ทานอาหารในระหว่างที่รอคิวทานอาหาร
เนื่องจากแอพพลิเคชั่นจะส่งข้อความ
เตือนเมื่อใกล้ถึงคิวที่จะได้รับ อีกทั้งท�ำ
ให้บริษัทฯ สามารถบริหารและจัดการ
การท�ำงานในร้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร
จัดการได้มากขึ้นด้วย
	 บุณย์ญานุช กล่าวว่า บริษัทฯ ไม่
เพียงน�ำระบบแอพพลิเคชั่นจองคิวร้าน
อาหารมาช่วยในการจองคิวเท่านั้นบริษัทฯ
ยังน�ำเอาเทคโนโลยีระบบการสั่งอาหาร
ผ่านระบบหน้าร้าน และระบบหลังบ้าน
รวมถึงการน�ำข้อมูลของลูกค้ามาช่วยใน
การเสริมประสิทธิภาพการท�ำงานของ
ธุรกิจ อาทิ การคิดค้นเมนูใหม่ๆ เพื่อตอบ
โจทย์ความต้องการของลูกค้าและตลาด
มากขึ้น
	 นอกจากนี้ บริษัทฯ เริ่มโครงการ
น�ำร่องโดยการน�ำเครื่องช�ำระเงินอัตโนมัติ
มาช่วยในการรับช�ำระเงินกับลูกค้าที่สาขา
บาร์บีคิว พลาซ่า
ใช้ระบบจองคิวผ่านแอพพลิเคชั่น
เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
	 บุณย์ญานุช บุญบ�ำรุง รองประธาน
เจ้าหน้าที่บริหารบาร์บีคิว พลาซ่า บริษัท
ฟู้ดแพชชั่น จ�ำกัด เล่าว่า บริษัทฯ ได้
น�ำแอพพลิเคชั่นระบบการจองคิว QueQ
ส�ำหรับร้านอาหาร มาช่วยลดเวลาการ
รองรับการรอคิวนานของลูกค้าที่ต้องการ
มาทานอาหารที่บาร์บีคิว พลาซ่าเพื่อ
อ�ำนวยความสะดวกให้กับลูกค้ามากที่สุด
	 “เราน�ำระบบการจองคิวร้านอาหาร
มาใช้ในร้านของบาร์บีคิว พลาซ่า เป็นปี
ที่ 3 แล้ว เราเป็นลูกค้ารายแรกๆ ที่เปิด
โอกาสให้บริษัท YMMY จ�ำกัด มาท�ำธุรกิจ
ร่วมกัน เนื่องจากเราเห็นความตั้งใจและ
ความมุ่งมั่นของ บริษัทฯ ที่จะน�ำโซลูชั่น
จองคิวผ่านแอพพลิเคชั่นมาช่วยเราได้
ปัจจุบันนี้เรา ให้บริการจองคิวผ่าน
แอพพลิเคชั่นคิวคิวในสาขาที่มีลูกค้า
จ�ำนวนมากใน 23 สาขา จากสาขาที่มี
ทั้งหมด 144 สาขาทั่วประเทศ” บุณย์ญานุช
กล่าวและว่า
	 แอพพลิเคชั่นการจองคิวร้านอาหาร
คิวคิว มาช่วยตอบโจทย์ของธุรกิจใน
	 บาร์บีคิว พลาซ่า ใช้ระบบจองคิว
ผ่านแอพพลิเคชั่น QueQ พัฒนาโดย
บริษัท YMMY จ�ำกัด รองรับลูกค้ายุค
ดิจิทัล บาร์บีคิว พลาซ่า คาดจะขยายการ
ติดตั้งแอพพลิเคชั่นจองคิวในสาขาต่าง
ประเทศต้นปีหน้า
ลาดพร้าว และสาขาบางกะปิ เพื่อให้
ลูกค้าได้รับความสะดวกเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการบริการงานและพนักงาน บริษัทฯ
ยังน�ำเทคโนโลยีมาช่วยในการให้บริการ
ระบบสมาชิกช่วยลดงานเอกสารท�ำให้
ลูกค้ามีความสะดวกมากขึ้น มีการโฆษณา
ผ่านออนไลน์ มาร์เก็ตติ้ง เพื่อหยิบยก
เหตุการณ์ปัจจุบันที่เกิดมาช่วยในการ
ขยายช่องทางการตลาดไปยังกลุ่มลูกค้า
เป้าหมายได้อย่างทันท่วงที
	 บุณย์ญานุช เล่าว่า บาร์บีคิว พลาซ่า
อยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยี
(Digital transformation) บริษัทฯ ตั้งเป้า
ที่จะน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในระบบหลังบ้าน
ระบบสต็อกสินค้า ระบบการบริหารงาน
สาขาและโรงงานเตรียมวัตถุดิบเพื่อให้
การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพสูงสุด
ในอีก 2 ปีข้างหน้า เพื่อให้ลูกค้าได้รับ
ประโยชน์สูงสุดและมีประสบการณ์ใน
การรับบริการที่ดีที่สุดจากร้านอาหารของ
บาร์บีคิว พลาซ่า
	 “เราจ�ำเป็นที่จะน�ำไอทีมาใช้ เนื่อง
จากเทคโนโลยีสามารถมาช่วยพนักงาน
ท�ำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ท�ำให้
พนักงานไปท�ำงานในส่วนที่เทคโนโลยี
ช่วยไม่ได้ เช่น การเสิร์ฟอาหาร เป็นต้น
บริษัทฯ อยู่ระหว่างการศึกษาน�ำระบบ
Online-to-offline (O2O) หรือ โอทูโอมา
ช่วยในการให้บริการลูกค้าผ่านอีคอมเมิร์ส
ในอนาคต และปัจจุบันมีลูกค้ามากกว่า
10 ล้านคนต่อปี” บุณย์ญานุช กล่าว
บุณย์ญานุช บุญบ�ำรุง
14Smart Industry
18 กรกฎาคม 2561
	 เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย(SoftwareParkThailand) ร่วมกับ บริษัท เอ็กซ์ตร้า โซลูชั่น เอ็นจิเนียริ่งจำ�กัดจัดงานสัมมนาเชิงปฏิบัติ
การในหัวข้อ “การบริหารจัดการการผลิตยุคใหม่” ครั้งที่ 3 เพื่อให้ความรู้และส่งเสริมการนำ�เอาไอทีไปใช้ในอุตสาหกรรม พร้อมพาผู้ประกอบการ
ซอฟต์แวร์ร่วมออกบูธแนะนำ�โซลูชั่นต่างๆ และการให้บริการภายในงาน โดยได้รับความสนใจจากกลุ่มภาคอุตสาหกรรม ผู้ประกอบกิจการเข้าร่วมงาน
โดยจัดขึ้นในวันพุธที่ 18 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรมเซ็นทรัลเพลส จังหวัดสมุทรสาคร
25 ตุลาคม 2561
	 เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand) ร่วมกับ บริษัท เอ็กซ์ตร้า โซลูชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด และหน่วยงาน
จากภาครัฐ และภาคเอกชน จัดงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ “การบริหารจัดการการผลิตยุคใหม่” ครั้งที่ 4 เพื่อให้ความรู้และส่งเสริม
การนำ�เอาไอทีไปใช้ในอุตสาหกรรม พร้อมพาผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ร่วมออกบูธแนะนำ�โซลูชั่นต่างๆ และการให้บริการ โดยได้รับความสนใจ
จากกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม กลุ่มผู้ประกอบการกลุ่มหอการค้าจังหวัดปราจีนบุรี และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ วิทยาเขต
ปราจีนบุรี เข้าร่วมงาน โดยจัด
ขึ้นในวันพฤหัสบดีที่25 ตุลาคม
2561 ณ โรงแรม ทวาราวดี
รีสอร์ท จังหวัดปราจีนบุรี
25 กรกฎาคม 2561
	 เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand) ร่วม
กับ สถาบันพัฒนาผู้ประกอบการการค้ายุคใหม่ กรมส่งเสริมการค้าระหว่าง
ประเทศ จัดงานสัมมนาหัวข้อ “เสริมธุรกิจสู่ตลาดโลกด้วย Smart Catalogue”
ครั้งที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ประกอบการที่ต้องการส่งแคตตาล็อกไปยัง
ต่างประเทศ ช่วยในการลดต้นทุนการพิมพ์ เพิ่มความน่าสนใจด้วยมัลติมีเดีย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ในสินค้าและบริการที่แชร์ไปยังโลกโซเซียล และเชื่อมให้ผู้ซื้อ
และผู้ขายติดต่อกันได้ง่าย โดยจัดขึ้นในวันพุธที่ 25 กรกฎาคม 2561 ณ สถาบัน
พัฒนาผู้ประกอบการการค้ายุคใหม่
29 สิงหาคม 2561
	 เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand)
จัดงานสัมมนาในหัวข้อ The Future of Trends in Logistics and Supply Chain
Management ในงาน TILOG - LOGISTIX 2018 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม
และพัฒนาผู้ประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรม รวมถึงผู้ที่สนใจทั่วไป พร้อมให้
ความรู้ในเรื่องของอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ในอนาคตการออกแบบระบบที่ชาญฉลาด
ให้มีความเหมาะสมกับธุรกิจ โดยจัดขึ้นในวันพุธที่ 29 สิงหาคม 2561 ณ
ห้องสัมมนา NILE 3 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค
15Smart Industry
	 อีคอมเมิร์ส พาร์ค ตั้งเป้าพัฒนา
บุคลากรสนับสนุนธุรกิจขนาดกลางและ
เล็ก หรือเอสเอ็มอี ก้าวสู่ธุรกิจอีคอมเมิร์ส
ทั่วประเทศ
สพธอ. ตั้ง อีคอมเมิร์ส พาร์ค
ขับเคลื่อน เอสเอ็มอี รุกตลาดออนไลน์
เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมความร่วมมือและ
การค้าระหว่างประเทศของภาคธุรกิจใน
เมือง ตงกวน (Dongguan) ซึ่งเป็นเมือง
อีคอมเมิร์สอันดับ 1 ของจีน และแหล่ง
ผลิตเทคโนโลยีชั้นน�ำของโลก เพื่อร่วม
กันแลกเปลี่ยน พัฒนา รวบรวมความรู้
ข้อมูลทักษะการปฎิบัติงาน และแลก
เปลี่ยนประสบการณ์ในการท�ำธุรกิจ
อีคอมเมิร์ส และการจัดตั้งอีคอมเมิร์ส
พาร์ค (e-Commerce Park) ศูนย์บ่ม
เพาะบุคลากรรุ่นใหม่ที่มีความรู้ด้าน
อีคอมเมิร์ส เพื่อช่วยสนับสนุนการท�ำ
ตลาดอีคอมเมิร์สให้กับเอสเอ็มอีไทย
ที่ต้องการจะขยายฐานลูกค้าไปสู่ธุรกิจ
ออนไลน์หรืออีคอมเมิร์ส
	 “ประเทศไทยอยู่ระหว่างการจัดตั้ง
อีคอมเมิร์ส พาร์ค จากความร่วมมือของ
ทุกภาคส่วนจะช่วยสร้าง ความแข็งแกร่ง
เเละมีผู้เชี่ยวชาญการท�ำธุรกิจอีคอมเมิร์ส
มากขึ้นและสามารถที่จะกระตุ้นรวมทั้ง
ยกระดับเอสเอ็มอีให้มีศักยภาพในการท�ำ
ธุรกิจผ่านออนไลน์หรืออีคอมเมิร์สเพื่อ
รองรับความต้องการของตลาดทั้งในและ
ต่างประเทศ” สุรางคณา กล่าว
		สุรางคณา วายุภาพ ผู้อ�ำนวยการ
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอ
นิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ.
เล่าว่า สพธอ. ได้ลงนามข้อตกลงความ
ร่วมมือกับ Dongguan China Council
for the Promotion of International
Trade ประเทศจีน ซึ่งเป็นหน่วยงานรัฐ
	 ส�ำหรับสถานที่ในการจัดตั้งอีคอม
เมิร์ส พาร์คนั้น สพธอ. ได้รับความร่วมมือ
กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว.)
ในการจัดตั้งส�ำนักงานที่ มศว. ด้วยพื้นที่
1,000 ตารางเมตร และมีการจัดท�ำ
หลักสูตรอีคอมเมิร์ส ให้กับนักศึกษาใน
4 คณะ ประกอบด้วย คณะมนุษยศาสตร์,
คณะวิศวกรรมศาสตร์, คณะศิลปกรรม
ศาสตร์ และวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสาร
สังคม ที่ต้องการเข้ามาท�ำงานใน อีคอม
เมิร์ส พาร์ค
	 โดยบุคลากรที่ได้รับการอบรมจาก
อีคอมเมิร์ส พาร์ค จะมีหน้าที่ สนับสนุน
ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ด้านการให้ความ
รู้การท�ำตลาดอีคอมเมิร์ส วิธีการน�ำสินค้า
เข้าสู่แพลตฟอร์ม มาร์เก็ตเพลส แบรนด์
ต่างๆ สอนท�ำดิจิทัลคอนเทนท์ การเล่า
เรื่อง (Storytelling) ที่น่าสนใจของสินค้า
หรือบริการที่ดึงดูดผู้บริโภค และบุคลากร
ที่ท�ำงานกับอีคอมเมิร์ส พาร์ค จะได้รับ
ค่าตอบแทนตั้งแต่ยังอยู่ระหว่างการ
ศึกษา เมื่อเอสเอ็มอีต้องการบุคลากร
ไปช่วยท�ำงานด้านอีคอมเมิร์ส สามารถขอ
16Smart Industry
ใช้บริการได้ที่อีคอมเมิร์สพาร์คโดยช�ำระ
ค่าใช้เป็นจ�ำนวนครั้งตามความต้องการ
ของธุรกิจ โดยไม่ต้องจ้างบุคลากรประจ�ำ
	 “การท�ำงานในอีคอมเมิร์ส พาร์ค
จะตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ ที่ไม่
ต้องการท�ำงานประจ�ำ ขณะที่เอสเอ็มอี
จะมีบุคลากรด้านอีคอมเมิร์ส เข้าไปช่วย
สอนงาน จนกว่าจะเรียนรู้และท�ำตลาด
อีคอมเมิร์สได้เอง เอสเอ็มอีไทย มี
ความโดดเด่นด้านการพัฒนาสินค้าและ
บริการ เป็นธุรกิจที่ไทยสามารถแข่งขัน
ได้ในตลาดโลก แต่ที่ผ่านมาเอสเอ็มอี
มีปัญหาในการเข้าสู่ตลาดอีคอมเมิร์ส
เพราะไม่มีบุคลากรที่จะท�ำงานด้านดิจิทัล
ให้กับเอสเอ็มอี” สุรางคณา กล่าว
	 นอกจากนี้ สพธอ. ยังมองโอกาส
ร่วมมือกับสถานบันการศึกษาอื่นๆ เช่น
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เพื่อจัด
ตั้ง อีคอมเมิร์ส พาร์ค ในต่างจังหวัด อาทิ
ที่จังหวัด ชลบุรี พิษณุโลก เป็นต้น เพื่อ
สนับสนุนธุรกิจเอสเอ็มอีทั่วประเทศ
	 ส�ำหรับเป้าหมายในการสนับสนุน
เอสเอ็มอีเข้าสู่ธุรกิจออนไลน์ ในปีแรก
สพธอ. จะมุ่งสนับสนุนผู้ประกอบการ
ไทยไม่น้อยกว่า 15 แบรนด์ มีร้านค้า
ในต่างประเทศเพื่อเปิดตลาดการค้าขาย
ในประเทศจีน ที่มีอัตราการเติบโตตลาด
ในอีคอมเมิร์สถึง 80 เปอร์เซ็นต์ โดยทั้ง
15 แบรนด์จะเป็นสินค้าไทยยอดนิยมของ
คนจีน ภายใน 1 ปีจะผลักดันให้มีมูลค่า
ส่งออกไม่น้อยกว่า 1,000 ล้านบาท
	 “สพธอ. ยังมีเป้าหมายในการน�ำ
ดิจิทัลไปกระตุ้นเศรษฐกิจไทยในธุรกิจ
อีคอมเมิร์สให้เติบโตขึ้นอีก 25 เปอร์เซ็นต์
เนื่องจากทิศทางอีคอมเมิร์สในไทยมีการ
เติบโตอย่างต่อเนื่อง” สุรางคณา กล่าว
	 ทั้งนี้ อีคอมเมิร์ส พาร์ค คาดว่า
จะสามารถด�ำเนินงานอย่างเป็นทางการ
ได้ในปลายปีนี้ โดยที่ สพธอ. ได้ร่วม
กับ มศว. จัดท�ำโครงการต้นแบบที่จะ
ใช้ขยายไปยังทุกภูมิภาคในประเทศไทย
สพธอ. คาดว่าจะสามารถสร้างบุคลากร
ได้ประมาณ 500 คนภายในสิ้นปีนี้
	 สุรางคณากล่าวต่อว่า ในปี 2561
สพธอ. คาดการณ์ว่ามูลค่าอีคอมเมิร์ส
ไทยจะอยู่ที่ 3,058,987.04 ล้านบาท
เติบโตจากในปี 2560 มีมูลค่าทั้งสิ้น
2,812,592.03 ล้านบาท ซึ่งการเติบโต
หลักมาจากอีคอมเมิร์สประเภท บีทูซี
(Business-to-customer) หรือ มาจาก
การซื้อขายของผู้บริโภคทั่วไป โดยเติบโต
ถึง 28.89 เปอร์เซ็นต์
	 เพราะปัจจุบันผู้บริโภคคนไทยมี
การซื้อสินค้าในช่องทางออนไลน์เพิ่มขึ้น
ด้วยการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปตาม
เทคโนโลยีในยุคดิจิทัล จะเห็นได้จาก
ข้อมูลการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของคนไทย
มีกว่า 50 ล้านคน เกิน 50 เปอร์เซ็นต์
ของโทรศัพท์มือถือกว่า 90 ล้านเลข
หมาย เพราะส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ต
ผ่านโทรศัพท์มือถือ โดยการเติบโต
ดังกล่าวท�ำให้ประเทศไทยมีมูลค่าของ
ตลาดอีคอมเมิร์สประเภท บีทูซี สูงสุด
ในภูมิภาคอาเซียน รองลงมาจะเป็น
มาเลเซีย และเวียดนาม ตามล�ำดับ
สุรางคณา วายุภาพ

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Smart industry Newsletter Vol34

Automatic id
Automatic idAutomatic id
Automatic id
chanchira
 
Automatic id
Automatic idAutomatic id
Automatic id
chanchira
 
การซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการการซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการ
noopalm
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
Kosamphee Wittaya School
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
Kosamphee Wittaya School
 
เอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printedเอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printed
Suton Rojanusorn
 

Semelhante a Smart industry Newsletter Vol34 (20)

Automatic id
Automatic idAutomatic id
Automatic id
 
Automatic id
Automatic idAutomatic id
Automatic id
 
O2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEs
O2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEsO2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEs
O2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEs
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
IT for SMEs
IT for SMEsIT for SMEs
IT for SMEs
 
เคล็ดลับการใช้ Social Commerce ในการทำธุรกิจ เพิ่มยอดขาย LINE OA
เคล็ดลับการใช้ Social Commerce ในการทำธุรกิจ เพิ่มยอดขาย LINE OAเคล็ดลับการใช้ Social Commerce ในการทำธุรกิจ เพิ่มยอดขาย LINE OA
เคล็ดลับการใช้ Social Commerce ในการทำธุรกิจ เพิ่มยอดขาย LINE OA
 
M commerce (power point)
M commerce (power point)M commerce (power point)
M commerce (power point)
 
Smart industry vol32
Smart industry vol32 Smart industry vol32
Smart industry vol32
 
Chapter3 E Commerce
Chapter3 E CommerceChapter3 E Commerce
Chapter3 E Commerce
 
การซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการการซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการ
 
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนอบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
เอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printedเอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printed
 
Ecommerce start
Ecommerce startEcommerce start
Ecommerce start
 
Digital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-BankDigital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-Bank
 
Shoplus thailand social e commerce tool
Shoplus thailand social e commerce toolShoplus thailand social e commerce tool
Shoplus thailand social e commerce tool
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 

Mais de Chanpen Thawornsak

Mais de Chanpen Thawornsak (18)

Software Newsletter Vol.9
Software Newsletter Vol.9Software Newsletter Vol.9
Software Newsletter Vol.9
 
Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562
 
Software park Newsletter vol 2
Software park Newsletter vol 2Software park Newsletter vol 2
Software park Newsletter vol 2
 
Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560
 
Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560
 
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
 
Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559
 
Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559
 
Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
 
Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
 
Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014
 
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
 
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
 
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
 

Smart industry Newsletter Vol34

  • 1. Volume 34/2562 ฉบับที่ 34 FREE COPYFREE COPY ขอเชิญบริษัทซอฟต์แวร์ร่วมลงทะเบียน เพื่อรับบริการจับคู่ธุรกิจ ออนไลน์ทูออฟไลน์ พลิกโฉมเอสเอ็มอีสู่ธุรกิจดิจิทัล STORE ออนไลน์ทูออฟไลน์ พลิกโฉมเอสเอ็มอีสู่ธุรกิจดิจิทัล 10 ฟิกซิ บริการเรียกช่างผ่านแอพพลิเคชั่น ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ 4.0 15สพธอ. ตั้ง อีคอมเมิร์ส พาร์ค ขับเคลื่อน เอสเอ็มอี รุกตลาดออนไลน์ 08 Goftdigg เพิ่มโอกาสการให้บริการสนามกอล์ฟ ออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นและเว็บไซต์ รองรับลูกค้าทั้งไทยและ ตปท.
  • 2. การทำ�ธุรกิจในปัจจุบันที่มีร้านค้าเป็นช่องทางการจำ�หน่ายเพียงอย่าง เดียวในโลกดิจิทัล ธุรกิจขนาดกลางและเล็กหรือ เอสเอ็มอี จะอยู่รอดในธุรกิจ ยาก เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตและพฤติกรรมการเลือก ซื้อขายสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์มีมากขึ้น อาทิ โซเชียลมีเดีย บนรูปแบบ โซเชียลคอมเมิร์ส เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ทำ�ให้เกิดการทำ�ธุรกิจทั้งในรูป แบบออนไลน์และออฟไลน์เพื่อขยายฐานลูกค้ามากยิ่งขึ้น Smart Industry ขอนำ�เสนอธุรกิจที่มีการนำ�เทคโนโลยีและช่องทาง การตลาดออนไลน์ที่นำ�มาช่วยการให้บริการออฟไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อาทิ สนามกอล์ฟ การให้บริการซ่อมแซมบ้าน บริการแม่บ้าน รวมถึงการใช้ บริการจองคิวร้านอาหารผ่านออนไลน์แอพพลิเคชั่น เป็นต้น ดังนั้นเพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืนและเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันของธุรกิจ เอสเอ็มอี มีความจำ�เป็นอย่างมากที่จะนำ�ระบบออนไลน์ มารองรับการขยายฐานลูกค้าที่มีพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าผ่านออนไลน์ รองรับธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคต กองบรรณาธิการ บทบรรณาธิการ Micro location based >> 3 Micro CRM เครื่องมือการตลาดใหม่ มัดใจลูกค้ายุค 4.0 ออนไลน์ทูออฟไลน์ >> 4 พลิกโฉมเอสเอ็มอีสู่ธุรกิจดิจิทัล Goftdigg >> 8 เพิ่มโอกาสการให้บริการสนามกอล์ฟ ออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นและเว็บไซต์ รองรับลูกค้าทั้งไทยและ ตปท. คิวคิว >> 9 แอพพลิเคชั่นจองคิว รองรับลูกค้าใช้เวลาอย่างคุ้มค่า ฟิกซิ >> 10 บริการเรียกช่างผ่านแอพพลิเคชั่น ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ 4.0 กสท เปิดตัว >> 11 “iget Mart” ต่อยอดเอสเอ็มอี สู่ธุรกิจโอทูโอ กรีน วัลเล่ย์ คันทรี >> 12 คลับ บางนา ใช้บริการแอพพลิเคชั่น Goftdigg รองรับธุรกิจโต บาร์บีคิว พลาซ่า >> 13 ใช้ระบบจองคิวผ่านแอพพลิเคชั่น เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ กิจกรรม >> 14 สพธอ. ตั้ง >> 15 อีคอมเมิร์ส พาร์ค ขับเคลื่อน เอสเอ็มอี รุกตลาดออนไลน์ จุลสารข่าว Smart Industry จัดท�ำโดย เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand) ภายใต้ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เลขที่ 99/31 อาคาร Software Park ถนนแจ้งวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2583-9992 โทรสาร 0-2583-2884 เว็บไซต์: www.swpark.or.th | www.nstda.or.th Contentสารบัญ
  • 3. 3Smart Industry Micro CRM เป็นแนวคิดที่ธุรกิจ น�ำระบบไอทีมาช่วยระบบบริหารความ สัมพันธ์ลูกค้า ในระดับเล็กหรือระดับ บุคคล เพื่อติดตามงานขาย ตรวจสอบ งานบริการลูกค้า ให้เกิดความจงรักภักดี กับสินค้าหรือบริการที่ลูกค้าใช้อยู่ เช่น การน�ำระบบบาร์โค้ดมาช่วยในการติดตาม และพฤติกรรมลูกค้า โดยที่ลูกค้าที่ ต้องการสินค้าสามารถที่จะยิงบาร์โค้ด สินค้าตามชั้นวางของเพื่อดูรายละเอียด สินค้าหรือสินค้าโปรโมชั่นสินค้า เมื่อ ลูกค้าหยิบสินค้านั้นไปช�ำระเงิน ธุรกิจ หรือเจ้าของผลิตภัณฑ์จะสามารถติดตาม ได้ว่าลูกค้าที่ซื้อสินค้ามีพฤติกรรมและ มีความต้องการสินค้าในรูปแบบไหน เพื่อ ให้ธุรกิจสามารถที่จะน�ำข้อมูลของลูกค้า มาวิเคราะห์และน�ำเสนอสินค้าใหม่ให้กับ ลูกค้าในเวลาที่เหมาะสม และตรงกับ ความต้องการของตลาดมากขึ้น ในการทำ�ธุรกิจ การให้บริการ ที่สร้างความพึงพอใจและเข้าถึงใจของ พฤติกรรมผู้บริโภค เป็นสิ่งจำ�เป็นอย่าง มากในธุรกิจยุคดิจิทัล เนื่องจากจะทำ�ให้ ธุรกิจและนักการตลาดสามารถที่จะนำ� พฤติกรรมความต้องการของผู้บริโภค มาวิเคราะห์และสามารถสร้างสินค้าและ บริการที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า มากขึ้น Micro location based advertising และ Micro CRM เครื่องมือการตลาดใหม่มัดใจลูกค้ายุค 4.0 Smart Industry จึงขอน�ำเสนอ แนวโน้มการน�ำรูปแบบการตลาดและการ สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้ามาน�ำเสนอ ประกอบด้วย Micro location based advertising และ Micro Customers RelationshipManagement(MicroCRM) เพื่อให้ธุรกิจขนาดกลางและเล็กสามารถ ที่จะน�ำมาปรับให้เข้ากับธุรกิจที่มีอยู่ให้ สามารถท�ำธุรกิจได้อย่างยั่งยืน และมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Micro location based advertising คือ การโฆษณาสินค้าที่ตรงกับกลุ่มเป้า หมายในรูปแบบเฉพาะเจาะจง และเป็น การโฆษณาสินค้าที่มุ่งหวังให้ลูกค้าที่อยู่ บริเวณใกล้เคียงกับร้านค้าเข้ามาเยี่ยมชม สินค้าและซื้อสินค้าในที่สุด การโฆษณาใน รูปแบบนี้จะเน้นที่การน�ำเสนอโปรโมชั่น แคมเปญที่ดึงดูดใจผู้บริโภคที่มีความ ต้องการสินค้าเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว เมื่อ ลูกค้าเห็นการโฆษณาสินค้า เช่น สินค้า ลดราคาพิเศษในช่วงเวลานั้น50 เปอร์เซ็นต์ ในรัศมีที่ลูกค้าก�ำลังท�ำกิจกรรมใดๆ อยู่ และร้านค้ามีการน�ำเสนอสินค้าที่ตรงใจ ลูกค้าที่อยู่ในรัศมีใกล้เคียงกับร้านค้า ท�ำให้ลูกค้าสามารถที่จะตัดสินใจซื้อสินค้า ได้ง่ายขึ้น และธุรกิจสามารถที่จะน�ำข้อมูล ของลูกค้าไปวิเคราะห์เพื่อต่อยอดการให้ บริการ การผลิตสินค้าใหม่และสร้างแรง จูงใจให้ลูกค้าเข้ามาซื้อสินค้าที่ร้านค้าได้ มากยิ่งขึ้น
  • 4. S T O R E 4Smart Industry จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และการน�ำเทคโนโลยีมาช่วยพัฒนาธุกิจ เพื่อรองรับพฤติกรรมของผู้บริโภคในยุค ดิจิทัลที่มีความต้องการที่หลากหลาย อาทิ ความสะดวกสบายในการเลือกซื้อ สินค้าทั้งในรูปแบบของการช็อปปิ้งผ่าน ออนไลน์ เว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย รวมถึง แอพพลิเคชั่นบนมือถือ ในปัจจุบัน ซึ่งมี แนวโน้มที่การเลือกซื้อสินค้าผ่านออนไลน์ มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นธุรกิจขนาด กลางและเล็กมีความจ�ำเป็นที่จะท�ำธุรกิจ ในรูปแบบออนไลน์ครบวงจรที่เรียกว่า ออนไลน์ทูออฟไลน์ (Online-to-offline หรือ O2O) เนื่องจากการท�ำธุรกิจในรูปแบบ โอทูโอ (Online to Offline) คือการผสม ผสานระหว่างธุรกิจจากออนไลน์ไปยัง ออฟไลน์ ซึ่งเป็นการน�ำจุดเด่นของการ ขายสินค้าในร้านค้าทั่วไปหรือออฟไลน์มา ช่วยยกระดับให้ร้านค้ามีทางเลือกในการ ซื้อสินค้าได้มากขึ้น และร้านค้ายังสามารถ ที่จะขยายฐานลูกค้ามากขึ้นผ่านหน้าร้าน ออนไลน์ เพื่อรองรับการขายสินค้าและ การเติบโตของธุรกิจ เนื่องจากธุรกิจ รายย่อยในอนาคตจะไม่ได้จ�ำกัดอยู่เพียง ร้านค้าในรูปแบบเดิมๆ แต่จะก้าวไปสู่โลก โอทูโอที่มีการผสมผสานระหว่างจุดแข็ง ของร้านค้าในโลกออนไลน์กับโลกออฟ ไลน์เข้าด้วยกัน โดยจะใช้ประโยชน์จาก ความสะดวกสบายในการจับจ่ายใช้สอย สินค้าและการช�ำระเงินออนไลน์ ระบบ ออนไลน์สามารถช่วยให้ผู้ประกอบการ เก็บข้อมูลและพฤติกรรมของลูกค้าในการ เลือกซื้อสินค้าและความต้องการของ ลูกค้า ขณะเดียวกันร้านค้าสามารถที่จะใช้ ออนไลน์ทูออฟไลน์ พลิกโฉมเอสเอ็มอีสู่ธุรกิจดิจิทัล
  • 5. 5Smart Industry สุรางคณา วายุภาพ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. เปิดเผยว่า การใช้อินเทอร์เน็ตที่เพิ่มมากขึ้น มีผล อย่างมากกับพฤติกรรมของผู้บริโภคใน การซื้อสินค้าผ่านออนไลน์ ทั้งนี้ จากการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้ งานอินเทอร์เน็ตประเทศไทยปี 2561 พบ ว่าพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตของ ประชากรไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย คนไทยใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยนานขึ้นเป็น 10 ชั่วโมง 6 นาทีต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ ผ่านมา 3 ชั่วโมง 42 นาทีต่อวัน โดย Gen Y มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตสูงที่สุดติดต่อ กันเป็นปีที่ 4 ซึ่งเป็นผลมาจากนโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 ที่รัฐบาลลงทุนพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานเพื่อให้มีอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูงครอบคลุมทั่วประเทศประกอบ กับโครงการพัฒนาความรู้ให้ประชาชนรู้ เท่าทันดิจิทัล รวมทั้งโครงการสมาร์ทซิตี้ และการให้ความส�ำคัญกับเรื่องความ ปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ส่งผลให้คนไทย มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเห็น ได้ว่าเริ่มมีการเปลี่ยนผ่านการใช้บริการใน ชีวิตประจ�ำวันจากเดิมที่เป็นออฟไลน์ไปสู่ การใช้บริการต่างๆผ่านออนไลน์มากขึ้น อาทิ บริการเรียกแท็กซี่ สั่งอาหาร และ การใช้บริการรับส่งเอกสารผ่านช่องทาง ออนไลน์ วรวุฒิ อุ่นใจ จุดแข็งของการมีหน้าร้าน และมีสินค้าให้ ลูกค้าได้เลือกสัมผัส ทดลองใช้งานได้จริง สื่อออนไลน์จะไปกระตุ้นผู้บริโภคให้เกิด ความต้องการในสินค้าและบริการ ซึ่งจะ ส่งผลดีส�ำหรับการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ ของธุรกิจที่มีหน้าร้านค้า หรือมีช่องทาง การกระจายสินค้า/จัดส่งสินค้าในโลก ออฟไลน์ ลูกค้าสามารถตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้าและใช้บริการผ่านการเลือกชมและ รีวิวสินค้าผ่านทางช่องทางออนไลน์ต่างๆ ทั้งทางเว็บไซต์ หรือแอพพลิเคชั่นของ ร้านค้า ลูกค้าสามารถช�ำระเงินผ่านทาง ช่องทางออนไลน์ต่างๆ และรับสินค้าหรือ บริการผ่านช่องทางออฟไลน์ วรวุฒิ อุ่นใจ นายกสมาคมค้าปลีก ไทย กล่าวว่า ธุรกิจขนาดกลางและเล็ก มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะปรับตัวและ น�ำเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงช่องทาง การท�ำธุรกิจผ่านออนไลน์มาช่วยในการ บริหารงานเพื่อให้ธุรกิจสามารถด�ำเนิน การได้อย่างต่อเนื่อง และสามารถที่จะ ปรับตัวเข้ากับการท�ำธุรกิจในปัจจุบัน อาทิ การน�ำช่องทางออนไลน์มาช่วยในการ ประชาสัมพันธ์และช่องทางการสั่งสินค้า โดยมีร้านค้าเป็นโชว์รูมเพื่อให้ลูกค้า สามารถที่จะเข้ามาชมสินค้าได้ เนื่องจาก ผู้บริโภคมีการใช้ช่องทางออนไลน์ อาทิ อินเทอร์เน็ต โซเชียลมีเดียในการเข้าถึง สินค้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  • 6. 6Smart Industry นอกจากการใช้อินเทอร์เน็ตที่เพิ่ม มากขึ้นอย่างรวดเร็วแล้ว ประชาชนยัง นิยมใช้โซเชียลมีเดีย อาทิ Facebook, Instagram, Twitter และเว็บไซต์ Pantip มากถึง3 ชม.30 นาทีต่อวัน ขณะที่การรับ ชมวีดีโอสตรีมมิ่ง เช่น YouTube หรือ LineTV มีชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ยอยู่ที่ 2 ชม. 35 นาที ต่อวัน ส่วนการใช้ แอพพลิเคชั่นเพื่อพูดคุย เช่น Messenger และ LINE เฉลี่ยอยู่ที่ 2 ชม. 6 นาทีต่อวัน การเล่นเกมส์ออนไลน์อยู่ที่1 ชม.52 นาที ต่อวัน และการอ่านบทความหรือหนังสือ ทางออนไลน์อยู่ที่ 1 ชม. 31 นาที ต่อวัน จากการที่ประชาชนมีการใช้อินเทอร์เน็ต ที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้มีการซื้อขาย สินค้าผ่านออนไลน์มีมากขึ้น โดย สพธอ. ได้มีการส�ำรวจมูลค่าอีคอมเมิร์สในไทย ปี 2560 พบว่าประเทศไทยมีมูลค่า การซื้อขายสินค้าผ่านอีคอมเมิร์สทั้งสิ้น 2,812,592.03 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็น มูลค่าอีคอมเมิร์สในรูปแบบธุรกิจกับธุรกิจ (Business-to-business) หรือ B2B คิดเป็นมูลค่าประมาณ 1,675,182.23 ล้านบาท หรือมีสัดส่วน 59.56 เปอร์เซ็นต์ รองลงมา เป็นมูลค่าของธุรกิจในรูปแบบ ธุรกิจกับผู้บริโภค (Business-to-customer) หรือ B2C มีมูลค่ามากกว่า 812,612.68 ล้านบาท หรือ 28.89 เปอร์เซ็นต์ และ ส่วนที่เหลือราว 324,797.12 ล้านบาท หรือ 11.55 เปอร์เซ็นต์ เป็นมูลค่าของ ธุรกิจระหว่างธุรกิจกับหน่วยงานภาครัฐ (Business-to-government) หรือ B2G ซึ่งเมื่อเทียบมูลค่าตลาดอีคอมเมิร์สของ ปี 2560 กับปี 2559 จะพบว่ามูลค่าของ ธุรกิจประเภท B2B มีการเติบโตขึ้น 8.63 เปอร์เซ็นต์ เช่นเดียวกับธุรกิจประเภท B2C ที่โตขึ้น 15.54 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ในส่วนของการแบ่งมูลค่า อีคอมเมิร์สตามประเภทอุตสาหกรรม พบ ว่าอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าอีคอมเมิร์สสูง ที่สุด ได้แก่
  • 7. 7Smart Industry ศิวัตร เชาวรียวงษ์ นายกสมาคม โฆษณาดิจิทัล (ประเทศไทย) เล่าว่า พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ของคน ไทยในปัจจุบัน ผู้ที่ซื้อของออนไลน์จะหา ข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตก่อนที่จะตัดสินใจ ซื้อสินค้า และมองว่า โซเชียลมีเดีย มีอิทธิพลในการจูงใจให้ซื้อสินค้า และการ ซื้อสินค้าผ่านออนไลน์สามารถประหยัด เวลาในการซื้อสินค้าเพราะไม่ต้องออก ไปเลือกหาสินค้าด้วยตนเอง รวมทั้ง ยังสามารถเปรียบเทียบราคาได้จาก ผู้ประกอบการหลายรายภายในเวลา เดียวกัน ดังนั้นการซื้อสินค้าผ่านออนไลน์ จึงเป็นทางเลือกในการซื้อสินค้าของ ผู้บริโภคในปัจจุบัน “ผมมองว่าสื่อออนไลน์ หรือสื่อ ดิจิทัลเป็นสื่อที่มีความส�ำคัญอย่างมาก และหลังจากนี้ก็จะยิ่งทวีความส�ำคัญมาก ขึ้นไปอีกเพราะเข้ามาเกี่ยวข้องกับการซื้อ ขายสินค้าไม่ว่าจะเป็นการท�ำธุรกรรม โดยตรง หรือการหาข้อมูลก่อนเดินไป ซื้อที่หน้าร้านก็ตามที” ศิวัฒน์ กล่าว ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้อีก ต่อไปส�ำหรับธุรกิจขนาดกลางและเล็กหรือ เอสเอ็มอีที่ต้องการจะยืนหยัดต่อไปในการ ท�ำธุรกิจยุคดิจิทัล เอสเอ็มอีจะต้องปรับ ตัวเข้าสู่การท�ำธุรกิจผ่านช่องทางออนไลน์ และอ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้บริโภค สามารถช�ำระเงินผ่านช่องทางออนไลน์ ท�ำให้ธุรกิจสามารถให้บริการผู้บริโภค ครบวงจรมากขึ้นในรูปแบบของโอทูโอ เพื่อให้การซื้อสินค้า และบริการของ ผู้บริโภคมีความง่าย สะดวก ปลอดภัย และมั่นใจที่จะซื้อสินค้าผ่านช่องทาง ออนไลน์มากขึ้นและสามารถต่อยอดการ ท�ำธุรกิจของเอสเอ็มอีได้ในอนาคตอีก ด้วย อันดับที่ 7 ได้แก่อุตสาหกรรมบริการ อื่นๆ มีมูลค่าของตลาดอีคอมเมิร์สอยู่ที่ 11,280.33 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 0.43 เปอร์เซ็นต์ และอันดับที่ 8 คืออุตสาหกรรมการ ประกันภัย มีมูลค่าอีคอมเมิร์สที่2,729.65 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนที่ 0.10 เปอร์เซ็นต์ ด้วยมูลค่าการเติบโตของการซื้อ ขายสินค้า และบริการในรูปแบบของ อีคอมเมิร์สที่มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ธุรกิจเอสเอ็มอีมีความจ�ำเป็นอย่างมาก ในการปรับตัวเข้าสู่ช่องทางออนไลน์เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพของธุรกิจ ทั้งในปัจจุบันและอนาคต เนื่องจากช่อง ทางการขายสินค้าและบริการผ่านออนไลน์ ต่างๆ มีผลกับพฤติกรรมของผู้บริโภค ให้ความส�ำคัญกับการหาข้อมูล การซื้อ สินค้าและบริการมากขึ้น รวมถึงการใช้ เวลาในเล่นโทรศัพท์มือถือมากขึ้น ส่งผล ให้ผู้บริโภคที่ค้นหาข้อมูลสินค้า และ บริการที่ตัวเองต้องการจากช่องทางการ ตลาดออนไลน์ตัดสินใจซื้อสินค้า และ บริการง่ายและรวดเร็วขึ้น อันดับที่ 1 อุตสาหกรรมการค้าปลีก และการค้าส่ง มีมูลค่าอีคอมเมิร์ส 869,618.40 ล้านบาท หรือ 30.92 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาอันดับที่2คืออุตสาหกรรม การให้บริการที่พัก มีมูลค่าอีคอมเมิร์สอยู่ ที่ 658,131.15 ล้านบาท คิดเป็น 23.40 เปอร์เซ็นต์ อันดับที่ 3 ได้แก่อุตสาหกรรมการ ผลิต มีมูลค่าของตลาดอีคอมเมิร์สอยู่ที่ 417,207.07 ล้านบาท หรือคิดเป็น 14.83 เปอร์เซ็นต์ อันดับที่ 4 คืออุตสาหกรรมข้อมูล ข่าวสารและการสื่อสาร มีมูลค่าของตลาด อีคอมเมิร์สที่ 404,208.00 ล้านบาท หรือ คิดเป็น 14.37 เปอร์เซ็นต์ อันดับที่ 5 ได้แก่ อุตสาหกรรม การขนส่ง มีมูลค่าตลาดอีคอมเมิร์ส จ�ำนวน 104,904.28 ล้านบาท คิดเป็น 3.73 เปอร์เซ็นต์ อันดับที่ 6 อุตสาหกรรมศิลปะความ บันเทิง และนันทนาการ มีมูลค่าตลาด อีคอมเมิร์สที่ 19,716.04 ล้านบาท หรือมี สัดส่วนที่ 0.70 เปอร์เซ็นต์ ศิวัตร เชาวรียวงษ์
  • 8. 8Smart Industry ธีระ ศิริเจริญ และลูกค้ากลับมาใช้บริการ มากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ ธีระกล่าวว่า แอพพลิเคชั่นกอล์ฟ ดิกก์ ไม่เพียงให้บริการจองสนามกอล์ฟ เท่านั้น ยังให้บริการจองรถกอล์ฟ บริการ จองแพคเกจ ออกรอบพร้อมที่พัก คอร์ส เรียนตีกอล์ฟส�ำหรับเยาวชน และผู้ใหญ่ รวมถึงอุปกรณ์กอล์ฟ และการออกรอบ ในร่ม และยังได้เพิ่มระบบสะสมคะแนน ที่เรียกว่า กอล์ฟดิกก์ แฟมิลี่ เพื่อลูกค้าที่ จองผ่านกอล์ฟดิกก์จะได้รับสิทธิประโยชน์ ที่มากยิ่งขึ้น เช่น ออกรอบฟรีในเดือน เกิด ส่วนลดชื่อลูกค้าที่สามารถส่งต่อให้ เพื่อนใช้ได้ ปัจจุบันแอพพลิเคชั่นกอล์ฟดิกก์ ให้ บริการจองสนามกอล์ฟทั้งหมด120สนาม ใน 30 จังหวัด อาทิ ชลบุรี ระยอง และ กรุงเทพมหานคร มีช่วงเวลาให้บริการ จองสนามกอล์ฟ 600-700 ช่วงเวลาใน สนามกอล์ฟมากกว่า 100 แห่งทั่ว ประเทศ มีฐานลูกค้า 70,000 ดาวน์โหลด และภายในสิ้นปีนี้คาดว่าจะมีฐานลูกค้า 100,000 ดาวน์โหลด นอกจากนี้บริษัทยังได้พัฒนาระบบ จองสนามกอล์ฟผ่านเว็บไซต์ (Web reserve) ส�ำหรับเว็บไซต์ของสนามกอล์ฟ เพื่อรองรับลูกค้าต่างประเทศของแต่ละ สนามกอล์ฟ และบริษัทจะเปิดให้บริการ จองสนามกอล์ฟเป็นภาษาญี่ปุ่นภายใน สิ้นปีนี้เพื่อรองรับลูกค้าชาวญี่ปุ่นด้วย “เราพัฒนาแอพพลิเคชั่นเพื่อรองรับ ธุรกิจสนามกอล์ฟซึ่งเป็นการให้บริการใน รูปแบบออฟไลน์มาสู่การจองสนามผ่าน ออนไลน์ เพื่อรองรับความต้องการของ ลูกค้าและอ�ำนวยความสะดวกให้ลูกค้า สามารถจองสนามกอล์ฟได้ตลอด 24 ชั่วโมง และธุรกิจสนามกอล์ฟสามารถ ที่จะรับลูกค้ามากขึ้นผ่านการจองในระบบ ออนไลน์” ธีระ กล่าว ทีมงานใช้เวลาในการพัฒนาแอพพลิ เคชั่น 3 เดือน เพื่อให้บริการรับจองสนาม กอล์ฟภายใต้แนวคิด “LastMinuteDeal” หรือจองด่วนเย็นนี้เข้าสนามกอล์ฟพรุ่งนี้ ในเวลาอีกประมาณ 2 เดือน ทางทีมงาน ได้เริ่มทดลองการให้บริการจองสนามกอล์ฟ จากแอพพลิเคชั่นกอล์ฟดิกก์ในราคาลด พิเศษ 10-50 เปอร์เซ็นต์ โดยนักกอล์ฟ สามารถจองสนามกอล์ฟก่อนไปตีกอล์ฟ ล่วงหน้า 1 วัน ธีระ กล่าวว่า แอพพลิเคชั่น กอล์ฟ ดิกก์ เป็นแอพพลิเคชั่นที่ให้นักกอล์ฟ สามารถจองสนามกอล์ฟในราคาพิเศษ ก่อนตีกอล์ฟ 1 วันในช่วงแรก ปัจจุบัน บริษัทสามารถให้นักกอล์ฟสามารถจอง สนามกอล์ฟล่วงหน้าได้ถึง 30 วัน ส�ำหรับสนามกอล์ฟสนามแรกที่ แอพพลิเคชั่น กอล์ฟดิกก์ ให้บริการ คือ สนามกอล์ฟ เดอะวินเทจ กอล์ฟคลับ บางนา และเริ่มมีลูกค้าคนแรกเข้ามา ใช้บริการหลังจากเปิดตัวแอพพลิเคชั่น ประมาณ 7 วัน จุดเด่นของการให้บริการของกอล์ฟ ดิกก์ นอกจากจะการันตี ลูกค้าที่จอง สนามกอล์ฟผ่านกอล์ฟดิกก์จะได้ไปตี กอล์ฟตามที่จองไว้ 100 เปอร์เซ็นต์แล้ว ลูกค้ายังสามารถที่จะได้รับเงินคืนหากใน ช่วงเวลาที่จองสนามมีฝนตกท�ำให้ลูกค้ามี ความพึงพอใจในการใช้งานกับกอล์ฟดิกก์ “เราเริ่มพัฒนาแอพพลิเคชั่นจอง สนามกอล์ฟและใช้เวลาในการพัฒนา ประมาณ 3 เดือน เพื่อตอบโจทย์ความ ต้องการคนชอบตีกอล์ฟ ที่อยากตีกอล์ฟ ในราคาที่คุ้มค่าเราเลยพยายามที่จะท�ำให้ ราคาในกอล์ฟดิกก์มีความคุ้มค่าที่สุดไม่มี การมาคิดค่าใช้จ่ายเพิ่ม”ธีระกล่าวและว่า ธีระ ศิริเจริญ ซีอีโอ บริษัท กอล์ฟดิกก์ จ�ำกัด ผู้พัฒนาแอพพลิเคชั่น Goftdigg หรือ กอล์ฟดิกก์ เล่าว่า บริษัทฯ เกิด จากการรวมกันของคนที่ชอบเล่นกอล์ฟ ทีมนักพัฒนาและวิศวกร ในการพัฒนา แอพพลิเคชั่น เพื่อตอบโจทย์การจอง สนามกอล์ฟออนไลน์ในราคาพิเศษ Goftdigg เพิ่มโอกาสการให้บริการสนามกอล์ฟ ออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นและเว็บไซต์ รองรับลูกค้าทั้งไทยและ ตปท.
  • 9. 9Smart Industry รังสรรค์ พรมประสิทธิ์ นอกจากนี้ บริษัทยังให้บริการ แอพพลิเคชั่น คิวคิวกับ ค่ายโทรศัพท์ มือถือ เพื่อน�ำเสนอบริการพิเศษให้กับ ลูกค้าโทรศัพท์มือถือในรูปแบบเครื่องมือ การตลาดในการให้บริการพิเศษกับลูกค้า ด้วย อย่างไรก็ตามแอพพลิเคชั่น คิวคิว ยังมีฟังก์ชันใหม่ในรูปแบบของ E-Coupon หรือ อีคูปอง เพื่อให้ส่วนลดต่างๆ ส�ำหรับ ลูกค้าเมื่อจองคิวผ่านแอพพลิเคชั่นเพื่อ เป็นการขยายฐานลูกค้า และเพิ่มรูปแบบ การอ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้มากขึ้น รังสรรค์ เล่าว่า บริษัทฯ อยู่ระหว่าง การพัฒนา Micro location based advertising หรือการโฆษณาสินค้าที่ สามารถก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน และอยู่ในรัศมีของร้านค้า ในระยะ 3 เมตรหรือ 50 เมตร เพื่อรองรับธุรกิจที่ ต้องการโฆษณาสินค้าที่เจาะจงลูกค้าและ น�ำเสนอสินค้าที่ตรงกับความต้องการของ ลูกค้ามากที่สุด เพื่อเพิ่มโอกาสในการขาย สินค้ามากยิ่งขึ้น ปัจจุบันบริษัทฯ มีลูกค้าร้านอาหาร มากกว่า 300 แห่ง ธนาคารและบริษัทให้ บริการโทรศัพท์มือถือ ภายในปีนี้คาดว่า จะให้บริการมากกว่า 1,000 แห่ง มีผู้ใช้ บริการแอพพลิเคชั่น คิวคิว ประมาณ 1 ล้านคน และคาดว่าจะมีผู้ใช้บริการแอพ พลิเคชั่นคิวคิวเพิ่มขึ้นเป็น 5 ล้านคนใน อีก 2 ปีข้างหน้า บริษัทฯ ยังมีแผนที่ จะขยายการให้บริการไปยังตลาดต่าง ประเทศ อาทิ ลาว มาเลเซีย และเกาหลี เป็นต้น รังสรรค์ พรมประสิทธิ์ CEO ของ บริษัทYMMYจ�ำกัด ผู้ก่อตั้งและให้บริการ แอพพลิเคชั่น QueQ หรือ คิวคิว กล่าวว่า แอพพลิเคชั่นคิวคิวมีองค์ประกอบส�ำคัญ ของการจัดระบบคิว ประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ ระบบจัดการคิว ณ หน้าร้าน ลักษณะเป็นตู้และระบบรันคิว โดยฝั่งผู้ใช้ งานติดตั้งแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ต เชื่อมต่อกันและแสดงผล ผ่านอินเทอร์เน็ต “ผมเริ่มมาคิดว่า เราควรจะสร้าง โปรดักส์สักตัวที่เป็นโปรดักส์ภายใต้แบรนด์ เราเอง เซอร์วิสของเราเอง เมื่อ 4 ปีที่ ผ่านมา กระแสสตาร์ทอัพก�ำลังเข้ามา เราพยายามหาโมเดลที่จะขยายและคิด ขึ้น จึงคิดว่าเราควรจะท�ำแอพพลิเคชั่น สามารถแก้ไขปัญหาของคนให้ได้ จึงได้ จากจุดเริ่มต้นที่ รังสรรค์ พรมประสิทธิ์ ได้ร่วมกับเพื่อในการก่อตั้ง บริษัท เอส บ็อกซ์ จ�ำกัด (S Box) เพื่อรับพัฒนา ซอฟต์แวร์ เว็บ แอพพลิเคชั่น และโมบายน์ แอพพลิเคชั่น ตามความต้องการของ ลูกค้า เมื่อ 10 ปีที่ผ่านมา รังสรรค์และ เพื่อนเริ่มคิดที่จะพัฒนาซอฟต์แวร์ภาย ใต้แบรนด์ของตนเองจึงได้เปลี่ยนการ รับจ้างพัฒนาซอฟต์แวร์ มาสู่การพัฒนา แอพพลิเคชั่น QueQ หรือ คิวคิว เพื่อ รองรับธุรกิจสตาร์ทอัพ พัฒนาแอพพลิเคชั่นคิวคิว เพื่อตอบโจทย์ การรอคิวนาน เมื่อตอนที่ไปท�ำธุรกรรม กับธนาคารและรอคิวนานมาก มันปิ๊ง ไอเดีย แล้วเอากลับมาคุยกับทีมว่าเป็น ระบบที่น่าสนใจ จึงสร้างและทดลอง พัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์การรอคิวที่ ยาวนาน” รังสรรค์ กล่าวและว่า บริษัทใช้เวลาในการพัฒนาแอพพลิ เคชั่นคิวคิวทั้งสิ้นประมาณ10 เดือน ก่อน ที่จะท�ำตลาด โดยมุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมาย ไปยังร้านอาหารที่มีสาขา แอพพลิเคชั่น คิวคิว จึงเป็นแอพพลิเคชั่นที่ให้ลูกค้า ร้านอาหารสามารถจองคิวผ่านมือถือและ แอพพลิเคชั่น มีจุดเด่นที่สามารถตอบ โจทย์ร้านอาหารว่า มีลูกค้ารอคิวมากน้อย แค่ไหน เมื่อยังไม่ถึงคิวลูกค้าสามารถไป เดินเล่นหรือทานกาแฟระหว่างรอ และ แอพพลิเคชั่นจะส่งข้อความมาเตือนเมื่อ ใกล้ถึงคิวล่วงหน้า นอกจากนี้ ลูกค้าที่ใช้บริการของ แอพพลิเคชั่น คิวคิว เมื่อสมัครสมาชิก แล้ว ลูกค้าสามารถที่จะค้นหาร้านอาหาร ในรัศมี 2 กิโลเมตร และสามารถจองคิว ผ่านแอพพลิเคชั่นได้เลย โดยไม่ต้องไป ขอจองคิวกับพนักงานที่หน้าร้านอาหาร “แอพพลิเคชั่นคิวคิว เป็นโซลูชั่นที่ ไปแก้ไขเรื่องการใช้เวลาให้ฉลาดมากขึ้น ในสถานที่ที่มีลูกค้าเยอะๆ ปัจจุบันคิวคิว ขยายฐานการให้บริการไปยัง ธนาคาร โรงพยาบาล 30 แห่ง และอยู่ระหว่างรอ การติดตั้งระบบอีกมากกว่า100โรงพยาบาล ทั่วประเทศ” รังสรรค์ กล่าวและว่า คิวคิว แอพพลิเคชั่นจองคิว รองรับลูกค้าใช้เวลาอย่างคุ้มค่า
  • 10. 10Smart Industry ปัจจุบันบริษัทให้บริการซ่อมและ บริการอื่นๆ ในกลุ่มบริการงานหลัก อาทิ บริการงานก่อสร้าง งานไฟฟ้า ซ่อมน�้ำ ประปา บริการซ่อมบ�ำรุง และบริการ แม่บ้าน เป็นต้น ในการใช้บริการนั้นลูกค้าเพียงดาวน์ โหลดแอพพลิเคชั่น Fixzy จากนั้นลูกค้า สามารถที่จะลงทะเบียนและแจ้งการซ่อม เพื่อให้ช่างมาซ่อมงานต่างๆ ที่บ้านได้ ลูกค้าจะได้รับข้อมูลตอบกลับส�ำหรับงาน แจ้งซ่อมจากช่างภายในครึ่งชั่วโมง และ ส�ำหรับค่าใช้จ่ายในการใช้บริการลูกค้า สามารถดูค่าบริการงานซ่อมหลังจากแจ้ง รายละเอียดงานซ่อมผ่านแอพพลิเคชั่น นอกจากนี้ลูกค้ายังสามารถที่จะช�ำระเงิน ค่าบริการงานซ่อมและบริการอื่นๆ ผ่าน แอพพลิเคชั่นได้เลย รัชวุฒิ พิชยาพันธ์ ผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท ฟิกซิ จ�ำกัด กล่าวว่า บริษัทได้ให้ บริการช่างซ่อมบ้าน งานซ่อมอื่นๆ และ บริการแม่บ้าน ผ่านแอพพลิเคชั่น Fixzy หรือ ฟิกซิ เมื่อ 3 ปีที่ผ่านมา โดยมี จุดมุ่งหมายที่จะให้ลูกค้าที่ต้องการซ่อม บ้านสามารถหาช่างมาช่วยในการบริการ ซ่อมบ้านที่มีประสิทธิภาพและได้รับความ สะดวกในการติดต่อผ่านแอพพลิเคชั่น Fixzy ฟิกซิ บริการเรียกช่างผ่านแอพพลิเคชั่น ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ 4.0 ฟิกซิ (Fixzy) แอพพลิเคชั่นที่รวม บริการงานซ่อมบ้านรองรับลูกค้า ยุค ดิจิทัล และคาดว่าจะมีฐานลูกค้า 1 ล้าน รายในอีก 2 ปีข้างหน้า รัชวุฒิ พิชยาพันธ์ “เราให้บริการช่างซ่อม พร้อมการันตี ในการท�ำงาน 100 เปอร์เซ็นต์ท�ำให้ลูกค้า มีความมั่นใจในการใช้บริการอย่างมาก เรามีการตรวจสอบประวัติช่างทุกคนก่อน ที่ช่างจะไปให้บริการกับลูกค้า” รัชวุฒิ กล่าว บริษัทมีทีมช่างให้บริการลูกค้า ประมาณ 4,500 ทีม และมีบริการแม่บ้าน 100 ทีม ให้บริการลูกค้าในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ขอนแก่น โคราช และ เชียงใหม่ บริษัทฯ มีแผนที่จะให้บริการ ครอบคลุมในจังหวัด ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี และชลบุรี ในปีหน้า “เราให้บริการลูกค้าผ่านแอพพลิเคชั่น หรือ การท�ำธุรกิจในรูปแบบ Online-to- offline (O2O) หรือโอทูโอซึ่งลูกค้าสามารถ เรียกใช้บริการงานซ่อมผ่านออนไลน์ และ เรามีช่างไปให้บริการในรูปแบบออฟไลน์” รัชวุฒิ กล่าว ปัจจุบันบริษัทฯ มีฐานลูกค้า150,000 ราย มีลูกค้ากลับมาใช้ซ�้ำมากกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ต่อเดือน มีฐานลูกค้าที่ดาวน์ โหลดแอพพลิเคชั่นมากกว่า 70,000 ราย และบริษัทฯ คาดว่าภายใน 2 ปีจะมี ฐานลูกค้ามากกว่า 1 ล้านราย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังร่วมกับพันธมิตรซึ่งเป็นเจ้าของ โครงการอสังหาริมทรัพย์มาก กว่า 10 รายในการให้บริการกับ ลูกค้าในโครงการหมู่บ้านจัดสรร ต่างๆ
  • 11. 11Smart Industry บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำกัด เปิดตัวแอพพลิเคชั่นใหม่ “iget Mart” รองรับการเชื่อมโยงร้านค้า ออฟไลน์ สู่ร้านค้าออนไลน์ (Offline-to- online) หรือ O2O (โอทูโอ) พร้อมเสริม โอกาสช่องทางการค้าให้ผู้ค้าเชื่อมต่อการ ขายทั้งหน้าร้านออฟไลน์ และหน้าร้าน ออนไลน์ เพื่อยกระดับธุรกิจขนาดกลาง และเล็ก หรือ เอสเอ็มอี ไทยสู่ตลาด โลก คาดสิ้นปีนี้มีผู้ใช้งานกว่า 1 ล้าน ดาวน์โหลด บริหารสต็อกสินค้า การช�ำระเงิน การ บัญชี ดูสถานะร้านในแต่ละสาขา รวม ถึงรายงานทางการเงินเพื่อน�ำไปต่อยอด การวางกลยุทธ์การตลาดได้ง่ายขึ้น และ เชื่อมต่อการขายเข้าสู่การขายออนไลน์ ผ่านบริการ “iget Mart” โดยเน้นการ เป็นตลาดรวมสินค้าไทยยุค 4.0 ทั้งสินค้า OTOP สินค้าท้องถิ่น สินค้าภูมิปัญญา ไทย และสินค้าจากตลาดนัดชั้นน�ำต่างๆ ของไทย รวมถึงสนับสนุนด้านการท่อง เที่ยว และที่ส�ำคัญผู้ประกอบการไม่ต้อง กังวลในด้านการบริหารจัดการช่องทาง ออนไลน์ที่เพิ่มขึ้น ด้วยเป็นการเชื่อมต่อ เข้ากับระบบ iget POS ซึ่งใช้ในการบริหาร จัดการหน้าร้านออฟไลน์เดิมโดยอัตโนมัติ นับได้ว่าเป็นการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัล มา สนับสนุนสินค้าและบริการของไทยได้มี โอกาสเติบโตในตลาดโลก และส่งเสริม การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ ไทยให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้นอย่างยั่งยืนตาม แนวนโยบายเศรษฐกิจประเทศไทย 4.0 ของรัฐบาล สรรพชัย กล่าวว่า ปัจจุบันมีร้านค้า ใช้แอพพลิเคชั่น iget Mart ในการขยาย ฐานลูกค้า มากกว่า 500 ร้านค้า คาดว่า ภายในปีนี้จะมีผู้ใช้งานมากกว่า 1 ล้าน ดาวน์โหลด สรรพชัย หุวะนันทน์ กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) เล่าว่า บริษัทฯ ได้พัฒนา แอพพลิเคชั่น “iget Mart” ขึ้น เพื่อขยาย ศักยภาพให้กับธุรกิจขนาดกลางและเล็ก หรือเอสเอ็มอีสามารถเพิ่มช่องทางการจัด จ�ำหน่ายสินค้าจากหน้าร้าน หรือออฟไลน์ สู่การจัดจ�ำหน่ายผ่านออนไลน์ (Offline to Online : O2O) เพื่อให้เอสเอ็มอี สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้มากขึ้น และ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการใช้งานของ ผู้บริโภคในยุคดิจิทัล ช่วง 10 ปีที่ผ่านมาธุรกิจ e-Commerce กลายมาเป็นหนึ่งในโมเดลธุรกิจที่ประสบ ความส�ำเร็จอย่างสูง และยังคงมีแนวโน้ม การเติบโตอย่างต่อเนื่อง ด้วยเทรนด์ของ ผู้บริโภคที่เปลี่ยนมาซื้อของหรือท�ำธุรกรรม ในโลกออนไลน์มากขึ้น อย่างไรก็ดี การ ค้าขายบนโลกออนไลน์เพียงอย่างเดียว อาจยังไม่ใช่ค�ำตอบสุดท้ายให้กับผู้บริโภค “iget Mart” จึงนับเป็นเครื่องมือ ส�ำคัญที่จะมาต่อยอดการท�ำธุรกิจแบบ โอทูโอ ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยได้ผนวก ร้านค้าออฟไลน์เข้ากับร้านค้าออนไลน์ ผ่าน 2 แอพพลิเคชั่น ประกอบด้วย “iget POS” ระบบบริหารจัดการหน้า ร้านที่สามารถช่วยเหลือในการสั่งสินค้า สรรพชัย หุวะนันทน์ กสท เปิดตัว “iget Mart” ต่อยอดเอสเอ็มอี สู่ธุรกิจโอทูโอ
  • 12. 12Smart Industry นอกจากนี้บริษัทยังน�ำบริการจอง สนามกอล์ฟผ่านหน้าเว็บไซต์ http:// www.greenvalleybangkok.com ของสนามกอล์ฟมารองรับการจองสนาม ส�ำหรับลูกค้าต่างประเทศด้วย ภัทร กล่าวว่า ปัจจุบันบริษัทไม่ เพียงให้บริการจองสนามกอล์ฟผ่าน แอพพลิเคชั่น และเว็บไซต์ บริษัทยัง ท�ำการตลาดผ่านอีเมล์ มาร์เก็ตติ้งและ ไลน์แอด (Line@) เพื่อรองรับพฤติกรรม ของลูกค้านักกอล์ฟคนรุ่นใหม่ที่มีอายุ ระหว่าง 25 ถึง 35 ปี และช่วยเพิ่ม ความสะดวกในการเข้าถึงบริการของ สนามกอล์ฟ “ผมมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอทีเข้ามามีบทบาทในการท�ำธุรกิจ อย่างมาก เพราะไอทีท�ำให้ธุรกิจสามารถ รู้ถึงพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงในการใช้ บริการของลูกค้า ขณะเดียวกันไอทียังช่วย ให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงบริการต่างๆ ได้ ง่าย สะดวก และรวดเร็วมากขึ้น นอกจาก นี้ลูกค้าสามารถเข้าถึงบริการได้24 ชั่วโมง ทุกที่ทุกเวลา” กล่าว และว่า สนามกอล์ฟ กรีนวัลเล่ย์ฯ ให้บริการ สนามกอล์ฟ รองรับนักกอล์ฟมากกว่า 80,000 คนต่อปี แบ่งเป็นลูกค้าชาวไทย ประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์และลูกค้าชาว ต่างชาติ30 เปอร์เซ็นต์ บริษัทฯ ยังคาดว่า จะมีการจองสนามกอล์ฟผ่านแอพพลิเคชั่น มากขึ้นเป็น 15 เปอร์เซ็นต์ในอีก 2 ปี ข้างหน้า ภัทร วิสิฐนรภัทร ผู้จัดการทั่วไป สนามกอล์ฟกรีนวัลเล่ย์ คันทรี คลับ บางนา เล่าว่า สนามกรีนวัลเล่ย์ คันทรี คลับ บางนา เป็นสนามกอล์ฟแห่งแรกใน ย่าน บางนา ได้เปิดให้บริการกับนักกอล์ฟ มากว่า 30 ปี และสนามกรีนวัลเลย์ฯ เริ่ม ให้บริการจองสนามกอล์ฟผ่านแอพพลิ เคชั่น กอล์ฟดิกก์ (Golfdigg) เมื่อ 4 ปีที่ ผ่านมา “ผมมองว่าการให้บริการจองสนาม กอล์ฟ ผ่านแอพพลิเคชั่นกอล์ฟดิกก์เป็น การเพิ่มโอกาสในการจองสนามกอล์ฟใน รูปแบบจองสนามกอล์ฟ 1 วันก่อนไปตี กอล์ฟที่สนาม ในช่วงเวลาที่ขายบริการไม่ ได้ บริษัทฯ ได้ให้บริการสนามกอล์ฟผ่าน แอพพลิเคชั่นประมาณ 5-6 ช่วงเวลา ในวันธรรมดาและจ�ำนวน 2-3 ช่วงเวลา ในวัน เสาร์-อาทิตย์ หรือ จ�ำนวนที่ให้บริการจองสนาม กอล์ฟผ่านออนไลน์ประมาณ 34 ช่วงเวลาต่อสัปดาห์ นัก กอล์ฟสามารถจองสนาม กอล์ฟได้ราคาพิเศษจากราคา ปรกติประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ และ มียอดการจองผ่าน แอพพลิเคชั่น ประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์หรือประมาณ6 ช่วง เวลาต่อสัปดาห์” ภัทร กล่าว และว่า กรีน วัลเล่ย์ คันทรี คลับ บางนา ใช้บริการแอพพลิเคชั่น Goftdigg รองรับธุรกิจโต กรีน วัลเล่ย์ คันทรี คลับ บางนา ตั้งเป้ามีรายได้จากการจองสนามกอล์ฟ ผ่านออนไลน์กว่า 15 เปอร์เซ็นต์ในอีก 2 ปีข้างหน้า
  • 13. 13Smart Industry การรอคิวสะสมที่ลูกค้ารอคิวนานที่หน้า ร้านอาหาร เนื่องจากระบบจองคิวผ่าน แอพพลิเคชั่นสามารถอ�ำนวยความสะดวก ให้กับลูกค้าโดยลูกค้าไม่ต้องมาจองคิว ที่หน้าร้าน ในทางกลับกันลูกค้าสามารถ เปิดแอพพลิเคชั่น QueQ และจองคิวร้าน อาหารได้เลย ท�ำให้ลูกค้าไม่ต้องมาเสีย เวลารอคิวที่หน้าร้านอาหารถึง 45 นาที กรณีที่มีลูกค้าจ�ำนวนมาก ขณะเดียวกัน ลูกค้าสามารถจัดการเวลาได้เองและ ง่ายขึ้นในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ก่อนมา ทานอาหารในระหว่างที่รอคิวทานอาหาร เนื่องจากแอพพลิเคชั่นจะส่งข้อความ เตือนเมื่อใกล้ถึงคิวที่จะได้รับ อีกทั้งท�ำ ให้บริษัทฯ สามารถบริหารและจัดการ การท�ำงานในร้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการได้มากขึ้นด้วย บุณย์ญานุช กล่าวว่า บริษัทฯ ไม่ เพียงน�ำระบบแอพพลิเคชั่นจองคิวร้าน อาหารมาช่วยในการจองคิวเท่านั้นบริษัทฯ ยังน�ำเอาเทคโนโลยีระบบการสั่งอาหาร ผ่านระบบหน้าร้าน และระบบหลังบ้าน รวมถึงการน�ำข้อมูลของลูกค้ามาช่วยใน การเสริมประสิทธิภาพการท�ำงานของ ธุรกิจ อาทิ การคิดค้นเมนูใหม่ๆ เพื่อตอบ โจทย์ความต้องการของลูกค้าและตลาด มากขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ เริ่มโครงการ น�ำร่องโดยการน�ำเครื่องช�ำระเงินอัตโนมัติ มาช่วยในการรับช�ำระเงินกับลูกค้าที่สาขา บาร์บีคิว พลาซ่า ใช้ระบบจองคิวผ่านแอพพลิเคชั่น เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ บุณย์ญานุช บุญบ�ำรุง รองประธาน เจ้าหน้าที่บริหารบาร์บีคิว พลาซ่า บริษัท ฟู้ดแพชชั่น จ�ำกัด เล่าว่า บริษัทฯ ได้ น�ำแอพพลิเคชั่นระบบการจองคิว QueQ ส�ำหรับร้านอาหาร มาช่วยลดเวลาการ รองรับการรอคิวนานของลูกค้าที่ต้องการ มาทานอาหารที่บาร์บีคิว พลาซ่าเพื่อ อ�ำนวยความสะดวกให้กับลูกค้ามากที่สุด “เราน�ำระบบการจองคิวร้านอาหาร มาใช้ในร้านของบาร์บีคิว พลาซ่า เป็นปี ที่ 3 แล้ว เราเป็นลูกค้ารายแรกๆ ที่เปิด โอกาสให้บริษัท YMMY จ�ำกัด มาท�ำธุรกิจ ร่วมกัน เนื่องจากเราเห็นความตั้งใจและ ความมุ่งมั่นของ บริษัทฯ ที่จะน�ำโซลูชั่น จองคิวผ่านแอพพลิเคชั่นมาช่วยเราได้ ปัจจุบันนี้เรา ให้บริการจองคิวผ่าน แอพพลิเคชั่นคิวคิวในสาขาที่มีลูกค้า จ�ำนวนมากใน 23 สาขา จากสาขาที่มี ทั้งหมด 144 สาขาทั่วประเทศ” บุณย์ญานุช กล่าวและว่า แอพพลิเคชั่นการจองคิวร้านอาหาร คิวคิว มาช่วยตอบโจทย์ของธุรกิจใน บาร์บีคิว พลาซ่า ใช้ระบบจองคิว ผ่านแอพพลิเคชั่น QueQ พัฒนาโดย บริษัท YMMY จ�ำกัด รองรับลูกค้ายุค ดิจิทัล บาร์บีคิว พลาซ่า คาดจะขยายการ ติดตั้งแอพพลิเคชั่นจองคิวในสาขาต่าง ประเทศต้นปีหน้า ลาดพร้าว และสาขาบางกะปิ เพื่อให้ ลูกค้าได้รับความสะดวกเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริการงานและพนักงาน บริษัทฯ ยังน�ำเทคโนโลยีมาช่วยในการให้บริการ ระบบสมาชิกช่วยลดงานเอกสารท�ำให้ ลูกค้ามีความสะดวกมากขึ้น มีการโฆษณา ผ่านออนไลน์ มาร์เก็ตติ้ง เพื่อหยิบยก เหตุการณ์ปัจจุบันที่เกิดมาช่วยในการ ขยายช่องทางการตลาดไปยังกลุ่มลูกค้า เป้าหมายได้อย่างทันท่วงที บุณย์ญานุช เล่าว่า บาร์บีคิว พลาซ่า อยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยี (Digital transformation) บริษัทฯ ตั้งเป้า ที่จะน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในระบบหลังบ้าน ระบบสต็อกสินค้า ระบบการบริหารงาน สาขาและโรงงานเตรียมวัตถุดิบเพื่อให้ การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพสูงสุด ในอีก 2 ปีข้างหน้า เพื่อให้ลูกค้าได้รับ ประโยชน์สูงสุดและมีประสบการณ์ใน การรับบริการที่ดีที่สุดจากร้านอาหารของ บาร์บีคิว พลาซ่า “เราจ�ำเป็นที่จะน�ำไอทีมาใช้ เนื่อง จากเทคโนโลยีสามารถมาช่วยพนักงาน ท�ำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ท�ำให้ พนักงานไปท�ำงานในส่วนที่เทคโนโลยี ช่วยไม่ได้ เช่น การเสิร์ฟอาหาร เป็นต้น บริษัทฯ อยู่ระหว่างการศึกษาน�ำระบบ Online-to-offline (O2O) หรือ โอทูโอมา ช่วยในการให้บริการลูกค้าผ่านอีคอมเมิร์ส ในอนาคต และปัจจุบันมีลูกค้ามากกว่า 10 ล้านคนต่อปี” บุณย์ญานุช กล่าว บุณย์ญานุช บุญบ�ำรุง
  • 14. 14Smart Industry 18 กรกฎาคม 2561 เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย(SoftwareParkThailand) ร่วมกับ บริษัท เอ็กซ์ตร้า โซลูชั่น เอ็นจิเนียริ่งจำ�กัดจัดงานสัมมนาเชิงปฏิบัติ การในหัวข้อ “การบริหารจัดการการผลิตยุคใหม่” ครั้งที่ 3 เพื่อให้ความรู้และส่งเสริมการนำ�เอาไอทีไปใช้ในอุตสาหกรรม พร้อมพาผู้ประกอบการ ซอฟต์แวร์ร่วมออกบูธแนะนำ�โซลูชั่นต่างๆ และการให้บริการภายในงาน โดยได้รับความสนใจจากกลุ่มภาคอุตสาหกรรม ผู้ประกอบกิจการเข้าร่วมงาน โดยจัดขึ้นในวันพุธที่ 18 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรมเซ็นทรัลเพลส จังหวัดสมุทรสาคร 25 ตุลาคม 2561 เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand) ร่วมกับ บริษัท เอ็กซ์ตร้า โซลูชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด และหน่วยงาน จากภาครัฐ และภาคเอกชน จัดงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ “การบริหารจัดการการผลิตยุคใหม่” ครั้งที่ 4 เพื่อให้ความรู้และส่งเสริม การนำ�เอาไอทีไปใช้ในอุตสาหกรรม พร้อมพาผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ร่วมออกบูธแนะนำ�โซลูชั่นต่างๆ และการให้บริการ โดยได้รับความสนใจ จากกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม กลุ่มผู้ประกอบการกลุ่มหอการค้าจังหวัดปราจีนบุรี และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ วิทยาเขต ปราจีนบุรี เข้าร่วมงาน โดยจัด ขึ้นในวันพฤหัสบดีที่25 ตุลาคม 2561 ณ โรงแรม ทวาราวดี รีสอร์ท จังหวัดปราจีนบุรี 25 กรกฎาคม 2561 เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand) ร่วม กับ สถาบันพัฒนาผู้ประกอบการการค้ายุคใหม่ กรมส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ จัดงานสัมมนาหัวข้อ “เสริมธุรกิจสู่ตลาดโลกด้วย Smart Catalogue” ครั้งที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ประกอบการที่ต้องการส่งแคตตาล็อกไปยัง ต่างประเทศ ช่วยในการลดต้นทุนการพิมพ์ เพิ่มความน่าสนใจด้วยมัลติมีเดีย ส่งเสริมภาพลักษณ์ในสินค้าและบริการที่แชร์ไปยังโลกโซเซียล และเชื่อมให้ผู้ซื้อ และผู้ขายติดต่อกันได้ง่าย โดยจัดขึ้นในวันพุธที่ 25 กรกฎาคม 2561 ณ สถาบัน พัฒนาผู้ประกอบการการค้ายุคใหม่ 29 สิงหาคม 2561 เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand) จัดงานสัมมนาในหัวข้อ The Future of Trends in Logistics and Supply Chain Management ในงาน TILOG - LOGISTIX 2018 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม และพัฒนาผู้ประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรม รวมถึงผู้ที่สนใจทั่วไป พร้อมให้ ความรู้ในเรื่องของอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ในอนาคตการออกแบบระบบที่ชาญฉลาด ให้มีความเหมาะสมกับธุรกิจ โดยจัดขึ้นในวันพุธที่ 29 สิงหาคม 2561 ณ ห้องสัมมนา NILE 3 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค
  • 15. 15Smart Industry อีคอมเมิร์ส พาร์ค ตั้งเป้าพัฒนา บุคลากรสนับสนุนธุรกิจขนาดกลางและ เล็ก หรือเอสเอ็มอี ก้าวสู่ธุรกิจอีคอมเมิร์ส ทั่วประเทศ สพธอ. ตั้ง อีคอมเมิร์ส พาร์ค ขับเคลื่อน เอสเอ็มอี รุกตลาดออนไลน์ เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมความร่วมมือและ การค้าระหว่างประเทศของภาคธุรกิจใน เมือง ตงกวน (Dongguan) ซึ่งเป็นเมือง อีคอมเมิร์สอันดับ 1 ของจีน และแหล่ง ผลิตเทคโนโลยีชั้นน�ำของโลก เพื่อร่วม กันแลกเปลี่ยน พัฒนา รวบรวมความรู้ ข้อมูลทักษะการปฎิบัติงาน และแลก เปลี่ยนประสบการณ์ในการท�ำธุรกิจ อีคอมเมิร์ส และการจัดตั้งอีคอมเมิร์ส พาร์ค (e-Commerce Park) ศูนย์บ่ม เพาะบุคลากรรุ่นใหม่ที่มีความรู้ด้าน อีคอมเมิร์ส เพื่อช่วยสนับสนุนการท�ำ ตลาดอีคอมเมิร์สให้กับเอสเอ็มอีไทย ที่ต้องการจะขยายฐานลูกค้าไปสู่ธุรกิจ ออนไลน์หรืออีคอมเมิร์ส “ประเทศไทยอยู่ระหว่างการจัดตั้ง อีคอมเมิร์ส พาร์ค จากความร่วมมือของ ทุกภาคส่วนจะช่วยสร้าง ความแข็งแกร่ง เเละมีผู้เชี่ยวชาญการท�ำธุรกิจอีคอมเมิร์ส มากขึ้นและสามารถที่จะกระตุ้นรวมทั้ง ยกระดับเอสเอ็มอีให้มีศักยภาพในการท�ำ ธุรกิจผ่านออนไลน์หรืออีคอมเมิร์สเพื่อ รองรับความต้องการของตลาดทั้งในและ ต่างประเทศ” สุรางคณา กล่าว สุรางคณา วายุภาพ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอ นิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. เล่าว่า สพธอ. ได้ลงนามข้อตกลงความ ร่วมมือกับ Dongguan China Council for the Promotion of International Trade ประเทศจีน ซึ่งเป็นหน่วยงานรัฐ ส�ำหรับสถานที่ในการจัดตั้งอีคอม เมิร์ส พาร์คนั้น สพธอ. ได้รับความร่วมมือ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว.) ในการจัดตั้งส�ำนักงานที่ มศว. ด้วยพื้นที่ 1,000 ตารางเมตร และมีการจัดท�ำ หลักสูตรอีคอมเมิร์ส ให้กับนักศึกษาใน 4 คณะ ประกอบด้วย คณะมนุษยศาสตร์, คณะวิศวกรรมศาสตร์, คณะศิลปกรรม ศาสตร์ และวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสาร สังคม ที่ต้องการเข้ามาท�ำงานใน อีคอม เมิร์ส พาร์ค โดยบุคลากรที่ได้รับการอบรมจาก อีคอมเมิร์ส พาร์ค จะมีหน้าที่ สนับสนุน ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ด้านการให้ความ รู้การท�ำตลาดอีคอมเมิร์ส วิธีการน�ำสินค้า เข้าสู่แพลตฟอร์ม มาร์เก็ตเพลส แบรนด์ ต่างๆ สอนท�ำดิจิทัลคอนเทนท์ การเล่า เรื่อง (Storytelling) ที่น่าสนใจของสินค้า หรือบริการที่ดึงดูดผู้บริโภค และบุคลากร ที่ท�ำงานกับอีคอมเมิร์ส พาร์ค จะได้รับ ค่าตอบแทนตั้งแต่ยังอยู่ระหว่างการ ศึกษา เมื่อเอสเอ็มอีต้องการบุคลากร ไปช่วยท�ำงานด้านอีคอมเมิร์ส สามารถขอ
  • 16. 16Smart Industry ใช้บริการได้ที่อีคอมเมิร์สพาร์คโดยช�ำระ ค่าใช้เป็นจ�ำนวนครั้งตามความต้องการ ของธุรกิจ โดยไม่ต้องจ้างบุคลากรประจ�ำ “การท�ำงานในอีคอมเมิร์ส พาร์ค จะตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ ที่ไม่ ต้องการท�ำงานประจ�ำ ขณะที่เอสเอ็มอี จะมีบุคลากรด้านอีคอมเมิร์ส เข้าไปช่วย สอนงาน จนกว่าจะเรียนรู้และท�ำตลาด อีคอมเมิร์สได้เอง เอสเอ็มอีไทย มี ความโดดเด่นด้านการพัฒนาสินค้าและ บริการ เป็นธุรกิจที่ไทยสามารถแข่งขัน ได้ในตลาดโลก แต่ที่ผ่านมาเอสเอ็มอี มีปัญหาในการเข้าสู่ตลาดอีคอมเมิร์ส เพราะไม่มีบุคลากรที่จะท�ำงานด้านดิจิทัล ให้กับเอสเอ็มอี” สุรางคณา กล่าว นอกจากนี้ สพธอ. ยังมองโอกาส ร่วมมือกับสถานบันการศึกษาอื่นๆ เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เพื่อจัด ตั้ง อีคอมเมิร์ส พาร์ค ในต่างจังหวัด อาทิ ที่จังหวัด ชลบุรี พิษณุโลก เป็นต้น เพื่อ สนับสนุนธุรกิจเอสเอ็มอีทั่วประเทศ ส�ำหรับเป้าหมายในการสนับสนุน เอสเอ็มอีเข้าสู่ธุรกิจออนไลน์ ในปีแรก สพธอ. จะมุ่งสนับสนุนผู้ประกอบการ ไทยไม่น้อยกว่า 15 แบรนด์ มีร้านค้า ในต่างประเทศเพื่อเปิดตลาดการค้าขาย ในประเทศจีน ที่มีอัตราการเติบโตตลาด ในอีคอมเมิร์สถึง 80 เปอร์เซ็นต์ โดยทั้ง 15 แบรนด์จะเป็นสินค้าไทยยอดนิยมของ คนจีน ภายใน 1 ปีจะผลักดันให้มีมูลค่า ส่งออกไม่น้อยกว่า 1,000 ล้านบาท “สพธอ. ยังมีเป้าหมายในการน�ำ ดิจิทัลไปกระตุ้นเศรษฐกิจไทยในธุรกิจ อีคอมเมิร์สให้เติบโตขึ้นอีก 25 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากทิศทางอีคอมเมิร์สในไทยมีการ เติบโตอย่างต่อเนื่อง” สุรางคณา กล่าว ทั้งนี้ อีคอมเมิร์ส พาร์ค คาดว่า จะสามารถด�ำเนินงานอย่างเป็นทางการ ได้ในปลายปีนี้ โดยที่ สพธอ. ได้ร่วม กับ มศว. จัดท�ำโครงการต้นแบบที่จะ ใช้ขยายไปยังทุกภูมิภาคในประเทศไทย สพธอ. คาดว่าจะสามารถสร้างบุคลากร ได้ประมาณ 500 คนภายในสิ้นปีนี้ สุรางคณากล่าวต่อว่า ในปี 2561 สพธอ. คาดการณ์ว่ามูลค่าอีคอมเมิร์ส ไทยจะอยู่ที่ 3,058,987.04 ล้านบาท เติบโตจากในปี 2560 มีมูลค่าทั้งสิ้น 2,812,592.03 ล้านบาท ซึ่งการเติบโต หลักมาจากอีคอมเมิร์สประเภท บีทูซี (Business-to-customer) หรือ มาจาก การซื้อขายของผู้บริโภคทั่วไป โดยเติบโต ถึง 28.89 เปอร์เซ็นต์ เพราะปัจจุบันผู้บริโภคคนไทยมี การซื้อสินค้าในช่องทางออนไลน์เพิ่มขึ้น ด้วยการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปตาม เทคโนโลยีในยุคดิจิทัล จะเห็นได้จาก ข้อมูลการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของคนไทย มีกว่า 50 ล้านคน เกิน 50 เปอร์เซ็นต์ ของโทรศัพท์มือถือกว่า 90 ล้านเลข หมาย เพราะส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ต ผ่านโทรศัพท์มือถือ โดยการเติบโต ดังกล่าวท�ำให้ประเทศไทยมีมูลค่าของ ตลาดอีคอมเมิร์สประเภท บีทูซี สูงสุด ในภูมิภาคอาเซียน รองลงมาจะเป็น มาเลเซีย และเวียดนาม ตามล�ำดับ สุรางคณา วายุภาพ