SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
Baixar para ler offline
15
Agri-Map Online
โครงการบูรณาการแผนที่ออนไลน์
เพื่อยกระดับเกษตรกรไทย
Volume 31/2560
ฉบับที่ 31
08
เทคฟาร์ม ส่งเครื่องมือ
ตรวจสอบคุณภาพน้ำาช่วยเกษตรกร
เพิ่มคุณภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำา
10
Freshket
ตลาดออนไลน์สำาหรับ
ร้านอาหารและซัพพลายเออร์
FREE COPYFREE COPY
ขอเชิญบริษัทซอฟต์แวร์ร่วมลงทะเบียน
เพื่อรับบริการจับคู่ธุรกิจ
Smart Farm Smart Farmer
พร้อมขับเคลื่อน เสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรไทย
สู่ Thailand 4.0
สมาร์ทฟาร์ม >> 3
สมาร์ทฟาร์มเมอร์
คลื่นลูกใหม่เกษตรกรรมไทย
Smart Farm >> 4
Smart Farmer
พร้อมขับเคลื่อน เสริมสร้าง
ศักยภาพเกษตรกรไทย
สู่ Thailand 4.0
เทคฟาร์ม >> 8
ส่งเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ
น้ำาช่วยเกษตรกรเพิ่มคุณภาพ
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำา
เอเซนเทค >> 9
พัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์ม
เพิ่มผลผลิตเห็ดคุณภาพสู่ตลาด
Freshket >> 10
ตลาดออนไลน์สำาหรับ
ร้านอาหารและซัพพลายเออร์
สยามออร์แกนิค >> 11
เพิ่มคุณภาพชีวิตชาวนา
ด้วยข้าวแจสเบอร์รี่
SP smartplants >> 12
ระบบควบคุมการปลูกพืช
ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ดีว่า ฟาร์ม >> 13
พัฒนาระบบ สมาร์ทฟาร์ม
มอร์นิเตอร์ริ่งรองรับการผลิต
ฟาร์มฮอปส์ แห่งแรกของไทย
กิจกรรม >> 14
Agri-Map Online >> 15
โครงการบูรณาการแผนที่ออนไลน์
เพื่อยกระดับเกษตรกรไทย
	 จากนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งขับเคลื่อนประเทศไทยสู่	ไทยแลนด์	4.0	
โดยรัฐบาลมีวิสัยทัศน์ที่จะมุ่งเน้นให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากประเทศ
ที่มีรายได้ปานกลาง	ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วในอีก	10	ปีข้างหน้า	การ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจผ่านฐานรากของการเกษตรแบบดั้งเดิม	ไปสู่การท�า
เกษตรกรรมที่มีการน�าเอาเทคโนโลยีมาช่วยในการปลูก	การผลิต	และ
การขาย	เพื่อให้สามารถเพิ่มคุณภาพการผลิตและสร้างรายได้ให้กับ
เกษตรกรมากขึ้นเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้	จากการส�ารวจตัวเลขเกษตรกร
ของไทยของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์	ในปี	2559	ที่ผ่านมาประเทศไทย
มีจ�านวนเกษตรกรที่ประมาณ	19	ล้านราย	และส่วนใหญ่ยังมีรายได้น้อย
	 เมื่อภาครัฐมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาประเทศก้าวสู่	ประเทศไทย	4.0	
ที่ต้องการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ	ไปสู่	“Value-Based	Economy”	
หรือ	“เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม”	โดยมีฐานคิดหลัก	คือ	เปลี่ยน
จากการผลิตสินค้า	“โภคภัณฑ์”	ไปสู่สินค้าเชิง	“นวัตกรรม”	และมีแนว
นโยบายในการเปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิมในปัจจุบัน	ไปสู่การเกษตร
สมัยใหม่	ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี	หรือสมาร์ทฟาร์ม	(Smart	
Farming)	โดยเกษตรกรต้องร�่ารวยขึ้น	และเป็นเกษตรกรแบบเป็น
ผู้ประกอบการ	(Entrepreneur)	เปลี่ยนจากผู้ประกอบการขนาดกลางและ
ย่อม	แบบดั้งเดิม	(Traditional	SMEs	หรือ	SMEs)	ที่มีอยู่และรัฐต้องให้ความ
ช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา	ไปสู่การเป็นผู้ประกอบยุคใหม่	(Smart	Enterprises)	
และ	สตาร์ทอัพ	(Startups)	และเปลี่ยนจากแรงงานทักษะต�่าไปสู่แรงงานที่มี
ความรู้	ความเชี่ยวชาญ	และทักษะสูง
	 Smart	Industry	ขอน�าเสนอ	Smart	Farm	Smart	Farmer	กับแนวทาง
ของภาคธุรกิจเกษตรกรรมที่น�าเทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ท�างานและเสริมศักยภาพและคุณภาพการผลิตในยุคดิจิตอล	เพื่อเปลี่ยน
การท�าธุรกิจเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม	อาทิ	การขายสินค้าเกษตรแบบดั้งเดิม
ในตลาด	มาสู่การขายสินค้าเกษตรผ่านช่องทางออนไลน์ของ	Freshket	และ
การท�าเกษตรกรรมในรูปแบบที่น�าเทคโนโลยีมาช่วยในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้
ธุรกิจมีการเติบโตอย่างยั่งยืนทั้งในปัจจุบันและอนาคต	อาทิ	การเพาะเห็ด
ด้วยสมาร์ทฟาร์ม	ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพการผลิต	นับว่าเป็น
อีกแนวทางที่จะท�าให้ประเทศไทยสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิต
ในรูปแบบเดิมสู่การผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพสูงที่สามารถผลิตเพื่อ
ส่งออกสู่ตลาดต่างประเทศได้ในอนาคต
	 	 	 	 กองบรรณาธิการ
จุลสารข่าว Smart Industry	จัดท�าโดย	เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand)
ภายใต้ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)	เลขที่	99/31	อาคาร	Software	Park	
ถนนแจ้งวัฒนะ	ปากเกร็ด	นนทบุรี	11120 โทรศัพท์	0-2583-9992 โทรสาร	0-2583-2884	
เว็บไซต์:	www.swpark.or.th | www.tmc.nstda.or.th | www.nstda.or.th
Content
บทบรรณาธิการ
สารบัญ
3Smart Industry
บนคอมพิวเตอร์กลางภายในไร่	หรือดู
ข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตผ่านทางเว็บไซต์
ก็สามารถท�าได้	ท�าให้เจ้าของไร่สามารถ
ดูแลและจัดการไร่ของตัวเองได้ตลอด
เวลา	ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดก็ตาม	ไม่ว่าจะ
โดยการใช้คอมพิวเตอร์	แท็บเล็ต	หรือ		
สมาร์ทโฟน
	 ขณะที่สมาร์ทฟาร์มเมอร์	หรือ
เกษตรกรปราดเปรื่อง	เป็นอีกหนึ่ง
โครงการความหวังของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ที่ต้องการยกระดับเกษตรกร
ไทย	มีเป้าหมายของโครงการ	คือ	การ
ยกระดับของเกษตร	โดยมีเป้าหมายให้
เกษตรกรต้องมีรายได้ไม่ต่�ากว่า	1.8	
แสนบาท/ปี	หรืออย่างน้อย	300	บาท/วัน	
โดยมุ่งเน้นการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่
ทดแทนเกษตรกรรุ่นเก่า	มุ่งเน้นให้
เกษตรกรมีความรู้	ความสามารถ	
เข้มแข็ง	และมีศักยภาพ	เป็นคลื่นลูกใหม่
ของวงการเกษตรกรรมไทย	เพื่อสืบสาน
งานการพัฒนาเส้นทางเศรษฐกิจของ
ประเทศ	และส่งเสริมให้มีการท�างาน
ในรูปแบบกลุ่ม	เพื่อให้เกิด	ความพร้อม
ที่จะพัฒนาการเข้าสู่การเป็น	สมาร์ท
ฟาร์มเมอร์ในอนาคต
	 สมาร์ทฟาร์ม	หรือ	เกษตรอัจฉริยะ	
เป็นรูปแบบการท�าเกษตรแบบใหม่ที่จะ
ท�าให้	การท�าไร่ท�านาในปัจจุบัน	มีภูมิ
คุ้มกันต่อสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง
ไป	โดยการน�าเอาข้อมูลของภูมิอากาศ
ทั้งในระดับพื้นที่ย่อย	(Microclimate)	
ระดับไร่	(Mesoclimate)	และระดับ
มหภาค	(Macroclimate)	มาใช้ในการ
บริหารจัดการ	ดูแลพื้นที่เพาะปลูก	เพื่อ
ให้สอดคล้องกับสภาพอากาศที่เกิดขึ้น	
	 ในช่วงที่มีการเปลี่ยนถ่ายของ
เทคโนโลยีและเกษตรกรไทยเริ่มมีการนำา
เทคโนโลยีมาช่วยในการทำางาน	เก็บเกี่ยว	
ติดตามการปลูกพืชและเก็บผลผลิตมาก
ขึ้น	ท่ามกลางกระแสโลกที่เปลี่ยนแปลง
รวดเร็ว	การพัฒนาด้านการเกษตรจำาเป็น
ที่จะต้องปรับตัวให้ก้าวสู่การเกษตรยุค
ใหม่ที่สามารถตอบสนองตลาด	พร้อม
กับยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกร	
สมาร์ทฟาร์ม	และสมาร์ทฟาร์มเมอร์	
จึงเป็นคำาที่จะเข้ามามีส่วนในการเชื่อมโยง
เกษตรกรกับโลกดิจิตอลที่กำาลังเข้ามา
มีบทบาทอย่างมากในปัจจุบัน
สมาร์ทฟาร์ม
สมาร์ทฟาร์มเมอร์
คลื่นลูกใหม่เกษตรกรรมไทย
รวมถึงการเตรียมพร้อมรับมือกับสภาพ
อากาศที่จะเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต
หลักการท�างานของสมาร์ทฟาร์ม
	 ระบบสมาร์ทฟาร์มจะบูรณาการ
ข้อมูล	Microclimate	และ	Mesoclimate	
จากเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย	(Wireless	
Sensor	Networks)	ที่ติดตั้งตามจุดต่างๆ	
ภายในไร่นา	(ข้อมูล	อุณหภูมิ	ความชื้น	
ในดินและในอากาศ	แสง	ลม	น้�าฝน)	
กับข้อมูลอุตุนิยมวิทยา	Macroclimate	
(เรดาร์	ข้อมูลดาวเทียม	โมเดลสภาพ
อากาศ)	ที่มีอยู่บนอินเทอร์เน็ต	และ
น�าเสนอต่อเกษตรกร	เจ้าของไร่	ผ่านทาง
เว็บไซต์	โดยจะมีการเก็บข้อมูลเป็นฐาน
ข้อมูลของไร่	เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ	
และด�าเนินกิจกรรมต่างๆ	การวางแผน
การเพาะปลูก	การให้น้�า	ให้ปุ๋ย	และ	ยา	
เป็นต้น
	 ข้อมูลจากสถานีตรวจวัดอากาศ	
และสถานีตรวจวัดดิน	ตามจุดต่างๆ	
ที่ถูกติดตั้งอยู่ภายในไร่จะถูกรวบรวมและ
ส่งข้อมูลแบบไร้สายมายังคอมพิวเตอร์
ในบ้านของเจ้าของไร่	โดยสามารถติดตาม
ข้อมูลได้ตอดเวลา	(แบบเรียลไทม์)	ได้
หลายช่องทาง	ทั้งจากโปรแกรมแสดงผล
4Smart Industry
	 ส�าหรับผลการด�าเนินงานเกษตร
แปลงใหญ่ในปี	2559	มีการขับเคลื่อน
เกษตรแปลงใหญ่	9	ประเภท	ได้แก่	
ข้าว	พืชไร่	ไม้ยืนต้น	ผักและผลไม้	ไม้ผล	
หม่อน	กล้วยไม้	ปศุสัตว์	และประมง	
มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ	เกือบ	
10,000	ราย	บนพื้นที่รวมกว่า	1.5	ล้าน
ไร่	ประสบผลส�าเร็จแล้ว	480	แปลง	
จาก	600	แปลง
	 ตัวอย่างของกลุ่มสินค้า	“ข้าว”	
สามารถลดต้นทุนการผลิตจากเดิม	4,200	
เป็น	3,400	กว่าบาท/ไร่	ลดลงร้อยละ	25	
หรือราว	1,000	บาท/ไร่	เพิ่มผลผลิต	จาก
เดิม	583	กิโลกรัม	เป็น	659	กิโลกรัม/ไร่	
และสร้างมูลค่าเพิ่มรวม	1,188	ล้านบาท
	 ส�าหรับภาพรวมสามารถสรุปผล
สัมฤทธิ์	จากการด�าเนินงานของชนิด
สินค้าหลักจ�านวน	12	ชนิดสินค้า	จาก	9	
ประเภท	ซึ่งคิดเป็นร้อยละ	92	ของพื้นที่
ที่ด�าเนินงานในปี	2559	พบว่าก่อให้เกิด
รายได้รวม	“เพิ่มขึ้น”	มากกว่า	4,000	
ล้านบาท	แบ่งเป็นผลผลิต	“เพิ่มขึ้น”	
Smart Farm Smart Farmer
พร้อมขับเคลื่อน เสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรไทย
สู่ Thailand 4.0
เกษตรกรไทยเป็นอาชีพที่มีมากที่สุด
ในประเทศไทย แต่กลับมีรายได้น้อยที่สุด
ท�าให้รัฐบาลก�าหนดทิศทางประเทศไทย
ที่เรียกว่า ประเทศไทย 4.0 มีเป้าหมาย
น�านวัตกรรมมาช่วยยกระดับให้ประเทศ
ไทยก้าวพ้นจากประเทศที่ประชาชน
มีรายได้ปานกลาง โดยเฉพาะเกษตรกร
ที่ขาดองค์ความรู้ในการบริหารจัดการ
เพื่อให้เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าจาก
สมาร์ทฟาร์ม และขณะเดียวกันเกษตรกร
จะก้าวข้ามมาสู่ สมาร์ทฟาร์มเมอร์ เพื่อ
ยกระดับคุณภาพการผลิตและเสริมสร้าง
ศักยภาพโดยรวมของเกษตรกรในระยะยาว
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก
รัฐมนตรี	กล่าวว่า	ในปัจจุบัน	เราจะก้าวสู่	
“สังคมประเทศไทย	4.0”	ซึ่งเป็น	“สังคม
แห่งการเรียนรู้”	ทุกคนต้องพัฒนาตนเอง
อยู่เสมอ	
	 “เกษตรแปลงใหญ่”	เป็นแนวทาง
ที่จะสร้างรายได้ที่มั่นคงและแก้ปัญหา
ให้เกษตรกรอย่างยั่งยืน	จะเป็นการปรับ
เปลี่ยน	-	ปฏิรูปวิธีการผลิต	โดยหันมา
ให้ความส�าคัญกับการ	“รวมกลุ่ม”	และ
การ	“รวมพื้นที่”	เป็นแปลงขนาดใหญ่	
นอกจากเพื่อสร้างพลังอ�านาจในการ
เข้าถึงแหล่งทุน	ปัจจัยการผลิตและการ
ตลาดแล้ว	ยังเป็นการสร้าง	“พลังความ
สามัคคี”	ตั้งแต่ระดับฐานราก
	 โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่	“ประชารัฐ”	สามารถผลิต
สินค้าที่มีคุณภาพในต้นทุนที่ลดลง	ส่งผล
ให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น	โดยยึดพื้นที่ที่มี
ความเหมาะสมสอดคล้องกับ	Agri	Map	
Online	ที่ช่วยประหยัดการใช้น�้า	ที่มีอยู่
อย่างจ�ากัด	ไม่เพียงพอ
5Smart Industry
กว่า	1,500	ล้านบาท	ลดต้นทุน	ราว	
2,700	ล้านบาท	เฉลี่ยมูลค่าที่เกษตรกร
ได้รับ	ประมาณ	41,000	บาทต่อคน
	 ทั้งนี้	การสร้าง	“นวัตกรรม”	ทาง
ความคิด	-	กระบวนการท�างาน	-	การ
สร้างเครือข่าย	เพื่อสรรหาแนวทางใหม่	
ในการบริหารจัดการกับปัญหาเดิมๆ	หรือ
เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการท�างาน	
ให้เร็วขึ้น	-	สะดวกขึ้น	-	ประชาชนพึง
พอใจและมีความสุข	“มากขึ้น”	โดยที่
นวัตกรรมไม่เพียงแต่เป็น	“สิ่งประดิษฐ์”	
เท่านั้น	แต่อาจจะหมายถึง	“กระบวน
การคิด	ขั้นตอนการท�างาน”	ก็ได้	
คมสัน จ�ารูญพงษ์ รองเลขาธิการ	
ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร	เล่าว่า	
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก�าลังก้าวไป
สู่	Thailand	4.0	โดยการพัฒนาสามส่วน
พร้อมกัน	คือ	พัฒนาเกษตรกร	เพื่อให้
เกษตรกรก้าวเข้าสู่	เกษตรกร	4.0	หรือ	
สมาร์ทฟาร์มเมอร์	มีการพัฒนาบุคลากร	
โดยการพัฒนาบุคลากรเป็นสมาร์ท
ฟาร์มเมอร์	และพัฒนาองค์กร	เพื่อปรับ
องค์กรสู่องค์กรที่พัฒนานวัตกรรมมาก
ยิ่งขึ้น	โดยน�านโยบายของรัฐบาลมาปรับ
โดยสะท้อนถึงการน�าเทคโนโลยีเข้ามา
สู่สมาร์ทฟาร์ม	ประกอบด้วย	การรวม
การเกษตรแปลงใหญ่และน�าเกษตรแปลง
ใหญ่	มีการปรับเปลี่ยนพื้นที่ที่เหมาะสม
และไม่เหมาะสมไปสู่การปลูกในพื้นที่ที่
เหมาะสม	โดยการใช้เครื่องมือ	Agi-Map	
Online	มีการแบ่งพื้นที่การเกษตรโซนนิ่ง
ของประเทศไทยให้เหมาะสม	
	 และในส่วนของบุคลากรจะมีการ
ปรับตัวให้เข้าสู่	สมาร์ทออฟฟิศเซอร์	
(Smart	officer)	มีการใช้เครื่องมือ	Agri-
Map	Online	ในการท�างานและทุกองค์กร
จะต้องมีการจัดหลักสูตรอบรม	สมาร์ท
ออฟฟิศเซอร์	เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย
ไปสู่สมาร์ทออฟฟิศเซอร์
	 ส�าหรับส�านักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร	จะมีการขับเคลื่อนให้องค์กร
มีนวัตกรรม	มีการพัฒนาแอพพลิเคชั่น
ต่างๆ	ให้กับเกษตรกรในการใช้งาน	
เช่น	แอพพลิเคชั่น	Reduce	cost	more	
opportunity	(RCMO)	มีจุดประสงค์เพื่อ
พัฒนาแอพพลิเคชั่นให้เกษตรรู้จักคิด
ในพื้นที่ของตนเอง	พื้นที่ที่เหมาะสมกับ
การปลูกอะไร	แอพพลิเคชั่นจะมีฐาน
ข้อมูลมาจากโซนนิ่ง	เกษตรกรจะสามารถ
คิดต้นทุนจากการประยุกต์ใช้เครื่องมือ
ของ	Agri-Map	Online	ได้สะดวก	
มีประสิทธิภาพและรวดเร็วมากขึ้น
	 ดังนั้นเกษตรมีความจ�าเป็นในการ
ใช้เทคโนโลยี	เนื่องจากเกษตรกรสามารถ
ทราบผลผลิตการเกษตรในระยะยาวและ
รู้ตลาดว่าควรไปขายที่ไหน	รู้ราคาตลาด	
รู้สภาพแวดล้อมของตัวเองให้สามารถ
ผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพล่วงหน้า
และเทคโนโลยียังช่วยให้การผลิตสินค้า
เกษตรของโลกมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ	
สามารถ	ยกระดับมาตรฐานแล้ว	สินค้า	
ลดต้นทุนให้ได้มากที่สุด	และจะท�าให้
เกษตรกรมีความรู้มากขึ้น	มีรายได้มาก
ขึ้น	ประสิทธิภาพของชีวิตมีมากขึ้น	
รัฐตั้งศูนย์บ่มเพาะพัฒนา นวัตกรรม
SMEs
	 นอกจากรัฐบาลสนับสนุนเกษตร
แปลงใหญ่และการน�าเทคโนโลยี	Agri-
Map	Online	มาช่วยผลักดันให้เกิด
สมาร์ทฟาร์ม	และสมาร์ทฟาร์มเมอร์
แล้ว	รัฐบาลได้ผลักดันโดยจัดตั้งศูนย์
6Smart Industry
หวังเพิ่มจ�านวนเกษตรกรครบ 1 แสนราย
	 จากการท�างานที่ผ่านมามีเกษตรกร
เข้าร่วมแล้วประมาณ	5	หมื่นราย	แต่
ศูนย์บ่มเพาะมีเป้าหมายจะเพิ่มเป็น	1	
แสนราย	ภายใน	3	ปี	(2559-2561)	และ	
ธกส.	มีงบประมาณสนับสนุน	3	แสนล้าน
บาท	และเชื่อว่าเกษตรกรจะมีจ�านวน
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ	เนื่องจากข้อดีของสมา
ร์ทฟาร์ม	สามารถเพิ่มผลิตและยืดอายุ
สินค้าเกษตรให้จ�าหน่ายได้ตลอดปี	และ
ช่วยสร้างอุปสงค์	อุปทานให้เกิดขึ้นทั้งใน
ประเทศและต่างประเทศ	
ฝันเป็น World food hub
	 เป้าหมายของศูนย์บ่มเพาะได้มอง
ไกลออกไปอีกขั้นหนึ่งไม่เพียงแต่ยก
ระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทยเท่านั้น	
แต่ในภาพใหญ่ยังต้องการให้ไทยกลาย
เป็นศูนย์อาหารของโลก	(World	food	
hub)	เพราะหลังจากได้ฟังความคิดเห็น
ขององค์การอาหารและการเกษตรแห่ง
สหประชาชาติ	(Food	and	Agriculture	
Organization	of	the	United	Nations	
หรือ	FAO)	ที่ต้องการให้ไทยผลิตอาหาร
ให้โลกเนื่องจากมองว่าในอีก	3	ปีข้างหน้า
โลกจะประสบวิกฤตอาหาร	ในขณะที่ไทย
ยังมีพื้นที่เหลืออีก	300	ไร่	ที่ยังว่างเปล่า
สามารถผลิตอาหารได้เพิ่มขึ้นเพื่อป้อน
ตลาดโลก	
	 ทั้งนี้หลักการท�างานของศูนย์บ่ม
เพาะฯ	จะรวมกลุ่มชุมชนก่อตั้งให้เป็น
วิสาหกิจ	สหกรณ์	หรือ	ชุมชนวิสาหกิจ
เกษตรกร	โดยพัฒนาทุก	9	กลุ่มไป
พร้อมๆ	กัน	เช่น	การพัฒนาข้าวให้มี
คุณภาพระดับพรีเมี่ยม	ด้วยการจับมือ
กับเกษตรกรจังหวัดนครพนมให้ปลูก
ข้าวหอมมะลิคุณภาพสูง	มีกลิ่นหอม	
และหุงขึ้นหม้อ	เป็นต้น	
	 เรืองชัย	เล่าว่า	หน้าที่ของศูนย์บ่ม
เพาะฯ	จะเข้าไปดูแลช่วยเหลืออย่างครบ
วงจรตั้งแต่ผลิตไปจนถึงการขาย	ด้วยการ
ช่วยมองหาตลาดใหม่ๆ	ให้ด้วย	ซึ่งการ
ท�างานจะร่วมมือกับหลายๆ	หน่วยงาน	
อาทิ	ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ	(สวทช)	และ	สมาคม
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม
แห่งประเทศไทย	หรือ	(สวทน)	เป็นต้น
“สิ่งที่ศูนย์บ่มเพาะฯ ด�าเนินการ
อยู่ถือเป็นนโยบายส่วนหนึ่งที่จะรองรับ
นโยบายประเทศไทย 4.0 ของรัฐบาล
ภายใต้การด�าเนินงานสมาร์ทฟาร์ม
(Smart Farm) หรือเกษตรแนวใหม่ที่
น�านวัตกรรมเข้ามาช่วยการผลิตเพื่อให้
เกิดผลิตผลที่มีคุณภาพ”	เรืองชัย	
กล่าวและว่า
	 สมาร์ทฟาร์ม	หลักการไม่ยากเพราะ
เป็นการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน	สมาชิก
ในกลุ่มมีต้นทุน	วัตถุดิบและภูมิปัญญา
ของกลุ่มอยู่แล้ว	เพียงแต่เราไปเชิญ
ผู้เชี่ยวชาญมาให้ข้อมูล	และชี้ให้เห็นช่อง
ทางการตลาด	และกลุ่มลูกค้าที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคต	ส่วนศูนย์บ่มเพาะก็ท�าหน้าที่
ประสาน	วางแผน	ดึงคนมาร่วมท�างาน	
และศูนย์บ่มเพาะมีเป้าหมายต้องการ
สร้างสาขาให้เกิดขึ้นในระดับภูมิภาคเพื่อ
ท�าหน้าที่ประสานกับท้องถิ่นเพื่อให้เกิด
การท�างานรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
เรืองชัย เจริญกิจสุพัฒน์
บ่มเพาะและพัฒนานวัตกรรม	SMEs	
เกษตร	เพื่อปั้นให้เกษตรกรกลายเป็น
ผู้ประกอบการสามารถดูแลตัวเองอย่าง
ยั่งยืน	และปัจจุบันมีเกษตรกรเข้าร่วม
แล้วกว่า	5	หมื่นราย	และมีเป้าหมาย
ภายใน	3	ปี	มีผู้เข้าร่วม	1	แสนราย	
เรืองชัย เจริญกิจสุพัฒน์ ผู้อ�านวย
การศูนย์บ่มเพาะและพัฒนานวัตกรรม	
SMEs	เกษตร	ภายใต้การดูแลของ
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์	หรือ	
ธกส.	กล่าวว่า	ศูนย์ฯ	มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทยให้มี
รายได้สูงขึ้นและสามารถช่วยเหลือตัวเอง
ได้ในระยะยาว	โดยศูนย์ฯ	จะท�าหน้าที่ให้
ค�าปรึกษาและค�าแนะน�า	รวมถึงปล่อย
สินเชื่อให้กับเกษตรกรด้วย
	 โดยกลุ่มเป้าหมายจะเป็นกลุ่ม
ผู้ประกอบการเกษตรกรที่มีขนาดกลาง
และย่อม	หรือ	SMAE	(Small	Medium	
Agriculture	Enterprise)	โดยศูนย์ฯ	
จัดกลุ่มเกษตรกรเพื่อให้ค�าปรึกษา
ออกเป็น	9	หมวด	คือ	1.	ข้าว	
2.	ยางพารา	3.	มันส�าปะหลัง	4.	ปาล์ม
น�้ามัน	5.	อ้อย	6.	กาแฟ	7.	ข้าวโพด	
8.	ผลไม้ทุกชนิด	9.	หมูและไก่
7Smart Industry
“เราไม่มีนักวิจัยเป็นของตนเอง แต่
เราจะท�าหน้าที่เป็นคนกลางประสานงาน
ส่งผู้เชี่ยวชาญให้ค�าปรึกษาและสนับสนุน
ในส่วนของค่าใช้จ่ายในการว่าจ้าง
ผู้เชี่ยวชาญ ร้อยละ 50 ภายใต้วงเงิน
สูงสุดไม่เกิน 400,000 บาท ซึ่งเป็น
กลยุทธ์ขั้นต้น ที่จะช่วยลดความเสี่ยงใน
การลงทุนของผู้ประกอบการเพื่อพัฒนา
เทคโนโลยีการผลิต”	อนุชา	กล่าวและว่า
	 ในปี	2558	ที่ผ่านมาได้สนับสนุน
โครงการให้กับเอสเอ็มอีทั่วประเทศ
ประมาณ	1,000	โครงการ	โดยมีเครือ
ข่ายไอแท็ป	65	แห่งทั่วประเทศให้ความ
ช่วยเหลือ	ส่วนผลลัพธ์การช่วยเหลือ	มี
เอกชนบางรายสามารถสร้างผลตอบแทน
เพิ่มขึ้น	7.5	เท่า	และในส่วนของสมาร์ท
ฟาร์ม	ไอแท็ปในปีนี้มีเป้าหมายจะเข้าไป
ช่วยเหลือเกษตรกรประมาณ	10	ราย	
โดยเฉพาะในกลุ่มที่ผลิตด้านออร์แกนิค	
เพราะหากน�าเทคโนโลยีเข้าไปร่วมพัฒนา
คาดว่าจะสร้างโอกาสให้มีรายได้เพิ่มสูง
ขึ้น	และขณะนี้อยู่ระหว่างการคัดเลือก
ผู้ประกอบการ	และศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้น
ว่าควรจะปรับปรุงและพัฒนาอย่างไรให้
เหมาะสม
	 ที่ผ่านมาไอแท็ปได้น�าเทคโนโลยี
หลายประเภทเข้าไปช่วยเหลือภาค
การเกษตร	อาทิ	การใช้โดรน	(Drone)	
บินขึ้นไปเหนือพืชผัก	และพ่นสารบ�ารุง
ลงไปบนพืชผักซึ่งไม่ใช่ยาฆ่าแมลง	หรือ
หุ่นยนต์	(Robot)	เข้าไปตามร่องสวนเพื่อ
ฉีดยาฆ่าแมลง	หรือท�าโรงเรือนเห็ดระบบ
ปิด	โดยใช้ระบบเซนเซอร์ท�างานดูแล
อุณหภูมิความร้อนและความเย็น
	 โดยระบบการท�างานของเทคโนโลยี
เหล่านี้จะมีซอฟต์แวร์ท�าหน้าที่ควบคุม
และรายงานผล	โดยเฉพาะใช้เป็นฐาน
ข้อมูลเพื่อรายงานตรวจสอบพันธุกรรม
สายพันธุ์พ่อหรือแม่	รวมถึงแหล่งที่มา
ของสินค้าต้นทางของผู้ผลิตและจ�าหน่าย
“ปัญหาที่ผ่านมาสินค้าพืชผล
ทางการเกษตร กรณีเกิดความเสียหายจะ
ตรวจสอบสินค้าทั้งหมด หรือยกเลิกไม่ให้
ส่งออก หรือจ�าหน่าย เพราะไม่สามารถ
บอกที่มาของต้นทางได้ แต่ถ้าหากมีฐาน
ข้อมูลจากต้นทางไปถึงปลายทาง จะรู้
ได้ทันทีว่าสินค้าที่ต้องการตรวจมาจาก
ทางใด ข้อดีท�าให้สินค้าไม่ต้องถูกยกเลิก
ทั้งหมด ท�าให้ลดต้นทุนได้ค่อนข้างมาก”
	 อนุชา	เล่าว่า	แนวโน้มการใช้
เทคโนโลยีเพื่อเข้าไปช่วยโครงการ
สมาร์ทฟาร์ม	จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน	
แต่ถ้าผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไม่ปรับตัว
คู่แข่งจะทิ้งห่างออกไปเรื่อยๆ	เพราะเวลา
ที่ผ่านไปก็ถือว่าเป็นต้นทุน	หากจะรอให้
เทคโนโลยีถูกลง	คนอื่นเขาก็สร้างตลาด
ไปแล้ว	จุดส�าคัญเรากล้าที่จะแตกต่าง	
กล้าเริ่มต้นหรือเปล่า
	 เรืองชัย	เล่าว่า	เป้าหมายการยก
ระดับเกษตรด้วยการน�านวัตกรรมไปใช้
เพื่อรองรับประเทศไทย	4.0	ก�าลังพัฒนา
ขึ้นไปเรื่อยๆ	ส่วนจะสามารถยกระดับ
คุณภาพชีวิตเกษตรกรไทยได้มากน้อย
เพียงใด	ต้องอาศัยเวลาและความร่วมมือ
ของทุกฝ่ายที่จะช่วยเหลือกันอย่างจริงจัง
และต่อเนื่อง	
ไอแท็ป เดินหน้าช่วยเหลือสมาร์ทฟาร์ม
	 ไอแท็ป	เดินหน้าช่วยเกษตรกรใช้
เทคโนโลยีพัฒนาการผลิต	ร่วมออกเงิน
ทุนจ้างผู้เชี่ยวชาญลดต้นทุนเพื่อสร้าง
ศักยภาพให้เข้มแข็ง	ตั้งเป้าหมายช่วย
เหลือ	10	โครงการในปีนี้
ดนุชา อิศรางกูร ณ อยุธยา
ผู้จัดการงานซอฟต์แวร์และอิเล็กทรอนิกส์	
โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี
และนวัตกรรม	(ไอแท็ป)	ส�านักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ	กล่าวว่า	ไอแท็ปเป็นศูนย์กลาง
พัฒนานวัตกรรม	มุ่งเน้นช่วยเหลือ
ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม	(SMEs)	โดยการน�าความรู้
ทางด้านวิทยาศาสตร์เข้าไปช่วยเหลือ
ธุรกิจ	เริ่มตั้งแต่ปรับปรุงกระบวนการ
ผลิต	พัฒนาเครื่องจักร	การวิจัยพัฒนา
สินค้า	รวมถึงการออกแบบเพ็กเกจจิ้ง
8Smart Industry
เทคฟาร์ม
ส่งเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพนำ้า
ช่วยเกษตรกรเพิ่มคุณภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้า
	 และบริษัทยังอยู่ระหว่างพัฒนาการ
ตลาดออนไลน์	(Market	place)	และ
ระบบการขนส่งสินค้าเกษตร	เพื่อรองรับ
เกษตรกรที่มีผลผลิตสามารถที่จะน�า
สินค้ามาขายผ่านออนไลน์	และเมื่อ
เกษตรกรสามารถค�านวณผลผลิตล่วง
หน้าได้	เกษตรกรสามารถที่จะขายสินค้า
ในระบบการซื้อขายล่วงหน้าได้อีกด้วย	
ท�าให้เกษตรกรสามารถวิเคราะห์ตลาด	
และสามารถเพิ่มมูลค่าของผลผลิต	และ
จะให้บริการระบบการขนส่งให้เกษตรกร
ด้วย	สามารถสร้างโอกาสในการแข่งขัน
ของธุรกิจส�าหรับเกษตรกรได้มากขึ้น
	 นอกจากนี้เกษตรกรยังสามารถ
ท�าการซื้อขายสินค้าทางการเกษตรดู
ราคาผลผลิตทางการเกษตรย้อนหลัง	
เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจใน
การตั้งราคาขาย	และยังเป็นแหล่งศึกษา
เรียนรู้ร่วมกันของเหล่าเกษตรกร	ร่วมกับ
แหล่งความรู้อื่นๆ	ทั้งภาครัฐ	และเอกชน	
ที่ได้คัดสรรค์ไว้ให้อีกด้วย
	 ในการตรวจวัดคุณภาพน�้านั้น
เกษตรกรสามารถน�าอุปกรณ์เล่นน�้า	ไป
วางในทุ่นที่มีหลังคาเป็นโซลาเซลล์	ซึ่ง
สามารถชาร์ตไฟจากพลังงานแสงอาทิตย์	
ในการส่งผ่านข้อมูลจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์
กุ้งไปยังโทรศัพท์มือถือ	ท�าให้เกษตรกร
สามารถตรวจสอบคุณภาพน�้าผ่านมือถือ
ได้ตลอดเวลา	
“ที่ผ่านมาเกษตรกรจะต้องจ้าง
แรงงานในการตรวจสอบคุณภาพน�้า
ท�าให้เสียค่าใช้จ่ายสูง อุปกรณ์เล่นน�้า
จะช่วยลดความเสี่ยง ท�าให้เกษตรกร
สามารถผลิตสัตว์น�้าส่งออกอย่างเป็น
ระบบ เนื่องจากบริษัทได้พัฒนาอุปกรณ์
แล่นน�้าที่มีคุณภาพเทียบเท่ากับค่าตรวจ
สอบคุณภาพน�้าในห้องแล็บ มีความ
แม่นย�า ท�าให้เกษตรกรสามารถเพิ่ม
ผลผลิตได้ สามารถใช้งานได้จริง มีระบบ
แจ้งเตือนหากบ่อเพาะเลี้ยงมีปัญหาเกิด
ขึ้น ท�าให้เกษตรกรสามารถแก้ไขปัญหา
ได้ทันท่วงที และเกษตรกรรู้คุณภาพของ
น�้าได้ทุกที่ ทุกเวลา และมีการรายงาน
เป็นระบบให้เกษตรกรผ่านโทรศัพท์มือถือ
ด้วย”	อานนท์	กล่าว
	 อานนท์	เล่าต่อว่า	ในอนาคตบริษัท
จะร่วมมือกับภาครัฐในการแก้ไขปัญหา
ของเกษตรกร	เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของ
สัตว์น�้ามากขึ้น	ท�าให้เกษตรกรสามารถที่
จะน�าเสนอสินค้าที่มีมาตรฐาน	มีคุณภาพ	
ท�าให้เกษตรกรสามารถส่งออกสัตว์น�้า
ที่มีคุณภาพไปยังต่างประเทศ	รวมถึง	
บริษัทมีแผนที่จะน�าเสนออุปกรณ์เล่นน�้า
ดังกล่าวไปยังตลาดต่างประเทศ	อาทิ	
ประเทศนอร์เวย์	เพื่อให้เกษตรกรน�า
อุปกรณ์เล่นน�้า	ไปช่วยในการเพาะเลี้ยง
ปลาแซลมอน	ช่วยลดความเสี่ยงในการ
เลี้ยงปลา	กุ้ง	เป็นต้น
	 นอกจากนี้บริษัทยังอยู่ระหว่าง
การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจสอบคุณภาพ
ดิน	ภายใต้ชื่อ	เล่นดิน	ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่
สามารถตรวจสอบแร่ธาตุในดิน	ช่วยให้
เกษตรกรลดค่าต้นทุนในการใช้ปุ๋ย	รวม
ถึงเกษตรกรสามารถ	ตรวจเช็คสภาพแร่
ธาตุในดินจากโทรศัพท์มือถือ	ดูได้ว่าพื้นที่
แต่ละแห่งเหมาะส�าหรับปลูกพืชชนิดไหน
ได้บ้าง	หรือเกษตรกรที่ปลูกพืชอยู่แล้ว	
สามารถรู้ได้ว่าในดินต้องการปุ๋ยมากน้อย
แค่ไหนระบบจะแนะน�าในการใส่ปุ๋ย	ซึ่ง
จะช่วยลดต้นทุนของเกษตรกรในการใส่
ปุ๋ยท�าให้เกษตรกรมีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น	
สามารถส่งออกเพิ่มขึ้น	ปัจจุบันสามารถ
วัดแร่ธาตุในดินและแนะน�าการปลูกพืชได้
กว่า	20	ชนิด	อาทิ	ข้าวหอมประทุม	ข้าว
ไรซ์เบอร์รี่	ข้าวโพด	เป็นต้น	
จากแรงบันดาลใจที่อยากเอาความรู้
ทางด้านเทคโนโลยีไปช่วยเหลือเกษตรกร
ให้มีคุณภาพชีวิตและผลผลิตที่มีคุณภาพ
มากขึ้น อานนท์ บุณยประเวศ ได้รวมตัว
กับเพื่อนก่อตั้งบริษัท เทคฟาร์ม จ�ากัด
เพื่อพัฒนาเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ
น�้า ภายใต้ชื่อ เล่นน�้า เพื่อช่วยลดความ
เสี่ยงในการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้า โดยเครื่อง
มือและอุปกรณ์เล่นน�้า สามารถตรวจ
สอบคุณภาพน�้าได้ 24 ชั่วโมง ตรวจ
สอบอุณหภูมิน�้า ออกซิเจนในน�้า รวม
ถึง ค่า PH ของน�้า ท�าให้เกษตรกรที่เลี้ยง
กุ้ง สามารถเลี้ยงกุ้งรอดชีวิตมากกว่า 50
เปอร์เซ็นต์ จากเดิมที่เกษตรกรที่เพาะ
เลี้ยงกุ้ง ท�าการเพาะเลี้ยงกุ้งที่มีอัตราการ
รอดเพียง 30 เปอร์เซ็นต์
อานนท์ บุณยประเวศ
ออนไลน์	ทั้งในรูปแบบของการขาย
ออนไลน์ปรกติและการขายสินค้าเกษตร
ล่วงหน้าเป็นต้น	ท�าให้เกษตรกรและผู้ซื้อ
สามารถซื้อขายในระบบได้สะดวกรวดเร็ว	
และมีการสร้างข้อได้เปรียบในการแข่งขัน
ท�าให้ผู้ซื้อมั่นใจว่าได้รับ	ผลิตภัณฑ์ที่มี
คุณภาพ	และบริษัทมีแผนที่จะร่วมกับ
ธนาคารเกษตรและสหกรณ์การเกษตร	
(ธกส.)	ในการขายระบบสมาร์ทฟาร์มให้
เกษตรกร	อ�าเภอละ	1	แห่งเพื่อรองรับ
เกษตรกรทั่วประเทศในอนาคต
“เกษตรกรขนาดกลางและเล็ก ที่
มีการผลิตสินค้าในรูปแบบสมาร์ทฟาร์ม
หากรู้ตลาดล่วงหน้าจะท�าให้สามารถคาด
การณ์การผลิตได้ ผมมองว่าเทคโนโลยี
จะมีประโยชน์กับธุรกิจอย่างมาก ทั้งใน
เรื่องของการวางแผนล่วงหน้า และธุรกิจ
มีความจ�าเป็นต้องเอาเทคโนโลยีมาช่วย
ในการผลิต เพื่อเพิ่มศักยภาพในการ
แข่งขันที่สูงขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับ
ลูกค้าลดความผิดพลาดในการด�าเนิน
งาน”	ก�าพล	กล่าวและว่า	บริษัทอยู่
ระหว่างการพัฒนาสมาร์ทฟาร์มที่จะปลูก
พืชเป็นยา	เช่น	พริก	เพื่อใช้เป็นสารสกัด
พริกส�าหรับท�าเครื่องส�าอางในอนาคตด้วย
เอเซนเทค
พัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์ม
เพิ่มผลผลิตเห็ดคุณภาพสู่ตลาด
ก�าพล โชคสุนทสุทธิ์ กรรมการ
ผู้จัดการ	บริษัท	เอเซนเทค	(ประเทศไทย)	
จ�ากัด	กล่าวว่า	บริษัทได้พัฒนาระบบ	
สมาร์ทฟาร์ม	ส�าหรับการเพาะเห็ด	ใน
รูปแบบฟาร์มเห็ดอัจฉริยะ	โดยจะมีการ
เพาะเห็ดในโรงเรือน	สามารถที่จะตรวจ
สอบสภาพโรงเรือนเพาะเห็ดได้ตลอด
เวลา	โดยระบบสมาร์ทฟาร์มสามารถ
ฉีดพ่นน�้าให้กับเห็ด	วัดอุณหภูมิโรงเรือน
เพาะเห็ดด้วยระบบคอมพิวเตอร์	รวมถึง
สามารถตรวจสอบสถานะการเติบโตของ
เห็ดและสภาพของโรงเรือนเพาะเห็ดจาก
คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ	
	 เอสเซนเทค	พัฒนาระบบ
สมาร์ทฟาร์ม	รองรับการผลิตเห็ด
คุณภาพสู่ตลาด	เตรียมร่วมกับ	ธนาคาร
เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ขยายผลสู่เกษตรกรทั่วประเทศ
	 โดยในระยะแรกบริษัทได้ทดลอง
เพาะเห็ดนางฟ้า	กับโรงเรือนที่มีขนาด	
4x6	เมตร	มีระบบสมาร์ทฟาร์ม	ที่มี
ระบบเซ็นเซอร์ที่สามารถวัด	วัดอุณหภูมิ
ความชื้น	และ	แสง	ภายในโรงเรือน	โดย
ผลผลิตที่ได้เมื่อเทียบกับการเพาะเห็ด
ปรกติพบว่าการเพาะเห็ดด้วยโรงเรือน
อัจฉริยะ	สามารถให้ผลผลิตที่ดี	เห็ด
มีคุณภาพสูงไม่อุ้มน�้า	รวมถึงมีรสชาติ
หวาน	กรอบ	มีความคงที่ของผลผลิต	
และได้รับผลผลิตต่อรอบมีมากขึ้น	โดย
มีผลผลิตในปริมาณ	4.4	ขีดต่อเห็ดหนึ่ง
ก้อน	ซึ่งเพิ่มจากการเพาะเห็ดปรกติที่มี
ผลผลิตในปริมาณ	4	ขีดต่อเห็ดหนึ่งก้อน	
ปัจจุบันบริษัทได้น�าระบบสมาร์ทฟาร์ม	
มาช่วยในการเพาะเห็ดโคลน	เห็ดนางฟ้า
ภูฎาน	และเห็ดฮังการีด้วย
	 นอกจากนี้บริษัทอยู่ระหว่างพัฒนา
ระบบอีคอมเมิร์สเพื่อรองรับเกษตรกร
เพาะเห็ดที่ต้องการขายสินค้าผ่าน
9Smart Industry
ก�าพล โชคสุนทสุทธิ์
อย่างมาก	จากปรกติซัพพลายเออร์จะ
ต้องใช้เวลาในการรับออร์เดอร์และตรวจ
เช็คสินค้าโดยใช้เวลามากกว่า	3	ชั่วโมง	
ส�าหรับระบบของ	Freshket	ซัพพลายเออร์
สามารถรับออร์เดอร์	เช็คสินค้าจนถึงส่ง
เตรียมของส่งลูกค้าได้ภายในครึ่งชั่วโมง	
ซึ่งสามารถช่วยประหยัดเวลาในการรับ
ออร์เดอร์และการท�างานลดลง	ซึ่งช่วย
เพิ่มประสิทธิภาพการท�างานในภาพรวม
ดีขึ้นในการท�าธุรกิจในรูปแบบธุรกิจกับ
ธุรกิจหรือ	Business	to	business	(B2B)	
platform	
	 พงษ์ลดา	เล่าว่า	ส�าหรับร้านอาหาร
ที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกจะสามารถสั่งซื้อ
สินค้าที่มีคุณภาพ	ร้านอาหารจะได้รับ
ความสะดวกในการสั่งสินค้าสามารถเช็ค
คุณภาพสินค้าได้ทันที	โดยร้านอาหาร
สามารถเช็คสินค้าในใบตรวจเช็คสินค้า
บนออนไลน์ได้	รวมถึงสามารถเช็คความ
โปร่งใสในการสั่งสินค้าด้วย	
“เราไม่ใช่แค่ตัวกลางให้ธุรกิจสอง
กลุ่มมาเจอกัน แต่เรามีการต่อระบบการ
ท�างานหลังบ้าน เพื่อให้สองฝ่ายซื้อขาย
กันสะดวกมากยิ่งขึ้น มีการพัฒนาระบบ
การท�างานหลังบ้าน (Workflow) และ
ออกแบบเพื่อธุรกิจซัพพลายเออร์และร้าน
อาหารโดยเฉพาะ นับตั้งแต่การส่งใบสั่ง
ซื้อ ใบเสนอราคา การตรวจเช็คสินค้า
ไปจนถึง การออกใบอินวอยน์ รวมไปถึง
การจ่ายเงินผ่านระบบจนเสร็จสิ้น ทุก
อย่างออกมาในรูปแบบของอีบิลลิ่ง เก็บ
บนคราวน์และสามารถเอาไปท�าบัญชี
ได้เลย ข้อมูลทุกอย่างเราเก็บให้และท�า
รายงานให้ ซัพพลายเออร์สามารถรู้ว่าย
อดขาย ต่อวัน ต่อสัปดาห์ ต่อเดือน ขาย
ได้เท่าไหร่ ผักตัวไหนขายดีที่สุด ร้าน
อาหารไหนซื้อเรามากที่สุด ร้านอาหาร
สามารถรู้ได้ว่าซื้อสินค้า และวัตถุดิบ
จากร้านไหนมากที่สุด และในอนาคตเรา
อยากจะน�าข้อมูลทุกอย่างที่เก็บไว้ เอามา
วิเคราะห์และแชร์ให้กับทางร้านอาหาร
และซัพพลายเออร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจ
ต่อไป”	พงษ์ลดา	กล่าวและว่า
	 จากความต้องการผักสวนครัวสด	
และวัตถุดิบที่มีคุณภาพส�าหรับร้านอาหาร	
บริษัทจึงได้พัฒนาระบบตลาดออนไลน์
ของสดส�าหรับร้านอาหาร	และเกษตรกร
หรือซัพพลายเออร์	เพื่อให้ซัพพลายเออร์
สามารถพบกับร้านอาหารโดยตรงผ่าน
ระบบซื้อขายสินค้าออนไลน์หรือ	
อีมาร์เก็ต	เพลส	ที่	http://freshket.co/
	 พงษ์ลดา	เล่าว่า	Freshket	เป็น
ตัวกลางที่เชื่อมให้คนสองกลุ่มคือ	
ซัพพลายเออร์และร้านอาหารได้เจอกัน
ง่ายขึ้น	โดยซัพพลายเออร์และร้านอาหาร
ที่ต้องการซื้อขายสินค้าผ่าน	Freshket	
จะต้องสมัครสมาชิกเพื่อลงทะเบียนกับ
ระบบการซื้อขายออนไลน์
	 โดยระบบของ	Freshket	นอกจาก
เป็นระบบซื้อขายสินค้าเกษตรออนไลน์
ระหว่างร้านอาหารกับซัพพลายเออร์
แล้ว	ยังมีระบบหลังบ้านที่ซัพพลายเออร์
สามารถรับออร์เดอร์	ส่งใบน�าเสนอสินค้า	
เช็คสต็อกสินค้า	เป็นต้น	ซึ่งจะช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพการท�างานของซัพพลายเออร์
Freshket
ตลาดออนไลน์สำาหรับ
ร้านอาหารและซัพพลายเออร์
จากพื้นฐานครอบครัวที่คลุกคลีกับ
ชาวสวน และเกษตรกรกับธุรกิจจ�าหน่าย
เมล็ดพันธุ์ผักสวนครัวทั้งในและต่าง
ประเทศ พงษ์ลดา พะเนียงเวช ซีอีโอ
ตลาดสดออนไลน์ ภายใต้ชื่อ Freshket
จึงวางแผนที่จะต่อยอดธุรกิจครอบครัว
และร่วมกับเพื่อนก่อตั้งบริษัท เฟรซเก็ต
จ�ากัด เพื่อเป็นตัวกลางในการน�าเสนอพืช
ผักสวนครัวทุกชนิด อาทิ พริก ผักบุ้ง ผัก
คะน้า ให้กับร้านอาหารขนาดกลาง
	 ปัจจุบันมีร้านอาหารที่สมัครสมาชิก	
50	ร้าน	มีซัพพลายเออร์	20	ราย	ที่ส่ง
สินค้าเกษตรและวัตถุดิบส�าหรับร้าน
อาหารที่การันตรีคุณภาพ	กับสินค้ากว่า	
20	หมวดสินค้า	อาทิ	ผัก	ผลไม้	เนื้อสัตว์	
เครื่องปรุง	อาหารแห้ง	และน�้าตาล	และ
มีสินค้ามากกว่า	2,000	รายการส�าหรับ
ร้านอาหารในการเลือกซื้อวัตถุดิบ
“เราเป็นตลาดออนไลน์ของสดที่มี
คุณภาพ มีซัพพลายเออร์ที่มีคุณภาพ
ที่ตอบโจทย์ ให้บริการด้วยความสะดวก
ลดเวลา ลดค่าใช้จ่าย ข้อมูลติดตามได้
หมด”	กล่าวและว่า	ในอนาคตบริษัทมี
แผนที่จะร่วมกับพันธมิตรในการท�าโกดัง
สินค้า	(Warehouse)	เพื่อรองรับซัพพลาย
เออร์ที่ไม่สามารถสต็อกสินค้าและจัดส่ง
สินค้าได้ยังร้านอาหารได้โดยตรง	คาดว่า
จะสามารถด�าเนินงานได้ภายใน	6	เดือน
เพื่อรองรับเกษตรกรที่ต้องการขายสินค้า
ในช่องทางออนไลน์	อย่างไรก็ตามบริษัท
คาดว่าภายในสิ้นปีนี้จะมีร้านอาหารที่เป็น
สมาชิกประมาณ	800	ร้านและมีซัพพลาย
เออร์มากกว่า	300	ราย
พงษ์ลดา พะเนียงเวช
10Smart Industry
เข้าไปจัดอบรมให้ความรู้กับเกษตรกร
เกี่ยวกับเทคนิคในการผลิตข้าวที่มี
คุณภาพอย่างต่อเนื่องแล้ว	บริษัทยังรับ
ซื้อผลผลิตข้าวจากเกษตรกรเพื่อรวบรวม
ผลผลิตก่อนน�าออกจ�าหน่ายสู่ตลาดทั้งใน
และต่างประเทศด้วย
	 บริษัทในปัจจุบันให้การสนับสนุน
ชาวนาในการปลูกข้าว	แจสเบอร์รี่	
ประมาณ	1,000	ครัวเรือน	ที่จังหวัด
ร้อยเอ็ด	และยโสธร	มีผลผลิตมากกว่า	
1,000	ตันต่อปี	โดยจะส่งออก	20	
เปอร์เซ็นต์	ปัจจุบันบริษัทส่งออกข้าวไป
ยังตลาดอเมริกา	ฮ่องกง	สิงคโปร์	และ
นิวซีแลนด์	
“เราได้รับการตอบรับที่ดีจากลูกค้า
ทั้งในและตลาดต่างประเทศ คาดว่าจะ
สามารถมีก�าลังการผลิตถึง 2 หมื่นตันใน
อนาคต นอกจากนี้บริษัทยังได้น�าข้าวแจส
เบอร์รี่ไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น อาทิ
แป้ง และ ชา เป็นต้น”	ปิตาชัย	กล่าว	
และว่า
	 นอกจากนี้บริษัทยังน�าช่องทางการ
ตลาด	ดิจิตอลมาร์เก็ตในการขยายตลาด
และรองรับลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ
ด้วย
สยามออร์แกนิค
เพิ่มคุณภาพชีวิตชาวนา ด้วยข้าวแจสเบอร์รี่
	 นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ	อีกมากมาย	
เช่น	ใยอาหาร	วิตามินบี	โอเมก้า	3	
เบต้า-แคโรธีน	และ	แกมมาโอรีซานอล	
ข้าวแจสเบอร์รี่	ถือว่าเป็นข้าวที่มีคุณค่า
ทางสารอาหารสูงที่สุด	และมีคุณสมบัติ
ที่โดดเด่นกว่าคือแข็งนอกนุ่มใน	ทั้งยัง
มีกลิ่นหอม	รสชาติดี	และมีสารอาหาร
	 ปีตาชัย	เดชไกรศักดิ์	ประธานเจ้า
หน้าที่บริหารบริษัท	สยามออร์แกนิค	
เล่าว่า	บริษัทได้ก่อตั้งเมื่อ	6	ปีที่ผ่านมา	
ในรูปแบบโซเชียล	เอ็นเตอร์ไพร์ส	โดย
มีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของ
ชาวนา	ด้วยการสนับสนุนให้ชาวนาได้มี
รายได้จากการขายข้าวได้มากขึ้น	และ
ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการโดย
ใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการในการ
ปลูกข้าว	โดยบริษัทได้ส่งเสริมให้ชาวนา
ปลูกข้าวแจสเบอร์รี่เป็นข้าวสายพันธุ์ใหม่
ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสุขภาพที่ดีที่สุด	โดย
มีคุณสมบัติเด่นที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ	
(Antioxidants)	สูงกว่าข้าวไรซ์เบอร์รี่	
5	เท่า	สูงกว่าชาเขียวถึง	10	เท่า	
11Smart Industry
ปีตาชัย เดชไกรศักดิ์
ที่มีประโยชน์ต่อผู้บริโภคโดยเฉพาะสาร
ต้านอนุมูลอิสระที่มีมากกว่าข้าวสายพันธุ์
อื่น	เนื่องจากเป็นสายพันธุ์ที่ผสมระหว่าง
ข้าวหอมมะลิ	(Thai	Jasmine	Rice)	และ
ข้าวด�า	(Thai	Black	Rice)	เพียงแค่ทาน
ข้าวแจสเบอร์รี่วันละ	1	มื้อก็จะได้สาร
ต้านอนุมูลอิสระเพียงพอตามที่ร่างกาย
ต้องการซึ่งจะช่วยในการต้านโรคมะเร็ง	
ความดันโลหิตสูง	และอัลไซเมอร์
	 นอกจากนี้ข้าวแจสเบอร์รี่	ยังมี
ความนุ่ม	อร่อย	ไม่แข็งเหมือนข้าวกล้อง
ทั่วไป	โดยมีการปลูกแบบออร์แกนิคที่ได้
ใบรับรองมาตรฐานสากล	USDA,	EU	และ	
IFOAM	
	 ปีตาชัย	เล่าว่า	บริษัทได้สนับสนุน
ให้เกษตรกรหรือชาวนารายย่อยจากภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ	ในจังหวัดร้อยเอ็ด	
และยโสธร	ปลูกข้าวแจสเบอร์รี่	และ
บริษัทมีเป้าหมายให้ชาวนาประมาณ	
1,000	ครัวเรือนในภาคตะวันออกเฉียง
เหนือ	ปลูกข้าวแจสเบอร์รี่	และ	ชาวนา
สามารถได้รับผลตอบแทนเพิ่มขึ้น	14	เท่า
เมื่อเทียบกับการท�านาปรกติ
	 ปีตาชัย	เล่าต่อว่า	การปลูกข้าว
ออร์แกนิค	บริษัทนอกจากจะส่งทีมงาน
การรดน�้าต้นไม้ให้กับพืชแต่ละชนิด	และ
ระบบยังสามารถสร้างแผนงานการรดน�้า
ต้นไม้ได้ไม่จ�ากัด	โดยมีจุดเด่น	ที่ช่วย
ในการจัดการน�้าได้และช่วยเพิ่มความ
สะดวกมากขึ้น	นอกจากนี้ระบบยังช่วย
ในการวางแผนงานการปลูกพืชด้วย	โดย
เกษตรกรสามารถเลือกช่วงเวลาการรดน�้า
ตามต้องการ	เลือกโซนรดน�้าและตั้งวันที่
ไว้ล่วงหน้า	รวมถึง	ควบคุมการเปิด-ปิด
วาล์วน�้าตามเวลาที่ตั้งไว้ในแต่ละโซน	
โดยตั้งเวลาที่ต้องการหยุด	Timer	ก็จะ
ท�างานให้อัตโนมัติ	นอกจากนี้ยังมีระบบ
เซ็นเซอร์ที่ช่วยวิเคราะห์ความชื้นในดิน	
ปริมาณการใช้น�้าของพืช	และค�านวณหา
ระยะเวลาการปล่อยน�้าที่เหมาะสม	และ
ยังแสดงรายงานการรดน�้าจากฐานข้อมูล
ให้ผู้ใช้ทราบ	เพื่อช่วยในการวางแผน
ส�ารองน�้าในอนาคต
	 และเพื่อเป็นการยกระดับการพัฒนา
ความรู้ของเกษตรกร	SP	smartplamts	
ยังอยู่ระหว่างการพัฒนาองค์ความรู้
ทางการเกษตรเพื่อให้เกษตรกรรุ่นใหม่
สามารถค้นหาข้อมูล	ความรู้ทางการ
“ผมได้รับแรงบันดาลใจในการ
พัฒนาระบบการรดน�้าต้นไม้มาจาก
เกมส์ปลูกผักเกมส์หนึ่ง ซึ่งในเกมส์เรา
สามารถควบคุมการปลูกพืช เก็บเกี่ยว
ผลผลิตและส่งขายได้ด้วยตัวเราเอง
ทั้งหมด ผมว่ามันน่าจะดีถ้าในชีวิตจริง
เราสามารถควบคุมอะไรได้ง่ายเหมือน
ในเกมส์ ประกอบกับป้ามีสวนและป้า
ให้ไปรดน�้า ผมจึงเกิดแนวคิดที่พัฒนา
ระบบรดน�้าต้นไม้ผ่านมือถือ ที่สามารถ
น�ามาประยุกต์และใช้งานได้จริง ระบบ
รดน�้าต้นไม้มีเซ็นเซอร์ที่สามารถตรวจได้
ว่า น�้าละเหยไปจากพืชมากน้อยแค่ไหน
สามารถค�านวณการเพิ่มหรือลดการรดน�้า
ต้นไม้ ท�าให้ช่วยประหยัดน�้า การบริหาร
จัดการน�้าอย่างเป็นระบบจะช่วยลดต้นทุน
และเพิ่มประสิทธิภาพในการเพาะปลูกให้
ดียิ่งขึ้นด้วย”	พิสิฐชัย	กล่าวและว่า	
	 ระบบ	SP	smartplants	ไม่เพียงช่วย
รดน�้าต้นไม้ผ่านอินเทอร์เน็ตและมือถือ	
แต่ยังมีระบบเซ็นเซอร์ที่ช่วยวัดความชื้น	
อุณหภูมิ	มีข้อมูลพืชกับการใช้น�้า	ปัจจัย
ที่พืชคลายน�้า	ปริมาณน�้าที่เหมาะสมใน
SP smartplants
ระบบควบคุมการปลูกพืชผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
พิสิฐไชย สุวรรณเรือง ผู้ก่อตั้งและพัฒนาระบบ SPsmartplants เล่าว่า ผลิตภัณฑ์
เอสพีสมาร์ทแพลนท์ (SP smartplants) เป็นระบบควบคุมการปลูกพืชหรือระบบการ
รดน�้าต้นไม้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถควบคลุมการจ่ายน�้าให้กับพืชผ่านระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เกษตรเพื่อช่วยเพิ่มคุณภาพสินค้าและ
ผลผลิตที่มากขึ้นด้วยผ่านโครงการ	
SP	Academy	ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่จะ
มาถ่ายทอดเกษตรกรและเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิผลของพืชผลไม้ให้มีมูลค่า
เพิ่มขึ้นต่อไปในอนาคต
12Smart Industry
พิสิฐไชย สุวรรณเรืองพิสิฐไชย สุวรรณเรือง
ทุกอย่าง	สามารถเก็บข้อมูลต้นไม้ได้ด้วย	
นอกจากนี้สมาร์ทฟาร์ม	ยังช่วยประหยัด
แรงงาน	ประหยัดเวลา	และในระยะยาว
จะท�าให้การปลูกพืชมีความแม่นย�ามาก
ขึ้น	ข้อมูลที่เก็บไว้สามารถน�ามาช่วย
วางแผนการผลิต	และสามารถเรียกข้อมูล
กลับมาเพื่อช่วยในการวางแผนได้ตลอด
เวลา	และ	ดีว่า	ฟาร์มเองในอนาคตจะ
เอาข้อมูลมาประมวลผลในแต่ละช่วงของ
การปลูกพืช	เช่น	ช่วงเจอแมลง	ควรจะ
ต้องท�าอะไรเพื่อช่วยในการแก้ไขปัญหา
ที่เกิดขึ้นให้ทันท่วงที	นอกจากนี้	ดีว่า	
ฟาร์ม	ยังมีแผนที่จะปลูกฮอปส์เพิ่มเป็น	
1,400	ต้น	คาดว่าจะมีผลผลิตต้นละ	1	
กิโลกรัม	และสามารถให้ผลผลิต	3	รอบ	
ต่อต้นต่อปี	และ	ดีว่า	ฟาร์มมีแผนที่จะ
ส่งผลผลิตขายทั้งในและต่างประเทศใน
ภูมิภาคแถบเอเชียนี้ด้วยในอนาคต
“เดือน ตุลาคม 2558 ผมเริ่มที่จะ
ท�าฟาร์มฮอปส์จริงจัง และเป็นฟาร์ม
ฮอปส์แห่งแรกในประเทศไทย ที่มีการ
พัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์มมาช่วยในการ
เพิ่มประสิทธิภาพในการปลูกมากยิ่งขึ้น
เพื่อช่วยในการควบคุมปุ๋ยไปตามท่อ ส่ง
ความชื้นตามท่อ ฉีดหมอกเพื่อระบาย
ความร้อน วัดความร้อนแสงแดด วัดแรง
ลม และวัดอุณหภูมิ ด้วยระบบ Weather
station”	ณัฐชัย	กล่าวและว่า
	 ในตอนแรกดีว่า	ฟาร์ม	ได้เริ่มปลูก
ฟาร์มฮอปส์	(Hops)	ที่	10	ต้น	จนถึง
ปัจจุบันฟาร์ม	ฮอปส์	มีจ�านวนกว่า	200	
ต้นใน	5	โรงเรือน	มีผลผลิตต้นละ	
1	กิโลกรัม	
“การปลูกพืช ปลูกปรกติถ้าไม่ใช้
สมาร์ทฟาร์ม พืชจะโตช้า เมื่อมีระบบ
สมาร์ทฟาร์มมาช่วยจะท�าให้สามารถช่วย
ให้พืชมีการเติบโตที่ดีขึ้น ช่วยลดการท�า
งานซ�้าๆ เช่นการรดน�้าต้นไม้ ท�าให้มีเวลา
แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้เร็วขึ้น เช่น
โรคพืช แมลง ซึ่งต้องดูทุกวัน และจะ
เก็บข้อมูลทั้งหมดทุกวัน เพื่อให้สามารถ
รับมือกับปัญหาได้แม่นย�ามากขึ้น
เทคโนโลยี ยังช่วยให้เราโฟกัส ในส่วนที่
ท�าออโตเมติกได้มากขึ้น”	ณัฐชัย	กล่าว		
	 เขาเล่าว่า	เทคโนโลยีมีความจ�าเป็น
อีกหลายอย่าง	เนื่องจากเทคโนโลยีช่วย
ในการหาข้อมูล	เมื่อก่อนข้อมูลอาจจะ
น้อย	พอปัจจุบันเขาสามารถหาข้อมูลได้
ดีว่า ฟาร์ม
พัฒนาระบบ สมาร์ทฟาร์มมอร์นิเตอร์ริ่งรองรับ
การผลิตฟาร์มฮอปส์ แห่งแรกของไทย
“เมื่อ 14 ปีที่ผ่านมา หลังจากจบ
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จากมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ ก็มีเพื่อนชวนเปิดบริษัท
โดยในช่วงแรกพัฒนาซอฟต์แวร์และ
แออลิเคชั่นระบบภาษาไทยส�าหรับมือถือ
ให้โนเกีย และพัฒนาระบบภาษาไทยให้
เอชพี รวมถึงพัฒนาโปรแกรมส่งข้อความ
(Short messaging system หรือ SMS)
และเมื่อ 3 ปีที่ผ่านมาผมสนใจการปลูก
ผักไฮโดรโปนิกส์ จึงได้พัฒนาระบบ
สมาร์ทฟาร์ม มอร์นิเตอร์ริ่งขึ้นมารองรับ
การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์และผักสวน
ครัว”	ณัฐชัย	กล่าว
	 ระบบสมาร์ทฟาร์ม	มอร์นิเตอร์ริ่ง	
(Smart	farm	monitoring)	เป็นระบบ
ที่ช่วยวัดปริมาณน�้า	วัดค่าความเข้มข้น
ของปุ๋ย	ค่า	PH	ของน�้า	วัดอุณหภูมิน�้า
ความเร็วลม	พยากรณ์อากาศ	ความร้อน
และความชื้น	ซึ่งมีผลต่อการเติบโตของ
พืช	จากการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์และ
พืชผักสวนครัวโดยใช้	ระบบสมาร์ฟาร์ม	
มอร์นิเตอร์ริ่งมาช่วยในการบริหารงาน	
ล่าสุดเมื่อ	1	ปีกว่าที่ผ่านมา	ดีว่า	ฟาร์ม	
ได้น�าระบบดังกล่าวมาช่วยในการปลูก
ฟาร์มฮอปส์	(Hops)	ซึ่งเป็นพันธุ์ไม้เลื้อย
เมืองหนาวชนิดหนึ่งมีใบและดอก	ซึ่งดอก
ฮอปส์มีคุณสมบัติเป็นเสมือนสารกันบูด
จากธรรมชาติ	ให้รสขมและกลิ่นที่เฉพาะ
ตัว	นิยมน�าไปใส่ในคราฟท์เบียร์	ช่วยให้
รสชาติและกลิ่นมีเสน่ห์มากขึ้น
	 จากนักพัฒนาซอฟต์แวร์และแอพพลิเคชั่นระบบภาษาไทยส�าหรับโทรศัพท์มือถือ
โนเกีย	เมื่อ	10	กว่าปีที่ผ่านมา	ณัฐชัย	อึ้งศรีวงศ์	กรรมการผู้จัดการ	ดีว่า	ฟาร์ม	
(Deva	Farm)	ได้ปรับรูปแบบการด�าเนินชีวิตอีกครั้งกับการพัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์ม	
มอร์นิเตอร์ริ่งส�าหรับปลูกพืช	ไฮโดรโปนิกส์และผักสวนครัว	อาทิ	แตงกวาญี่ปุ่น	
มะเขือเทศ	และเมล่อน	เป็นต้น
13Smart Industry
ณัฐชัย อึ้งศรีวงศ์ (ขวามือ)
14Smart Industry
กิจกรรมสัมมนา “Next Gen Mobile & Mobile World Congress Shanghai 2017”
พร้อมประชาสัมพันธ์โครงการสำารวจตลาดไอซีทีจีน ครั้งที่ 3 (Mobile World Congress Shanghai 2017)
	 เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย	ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี	ส�านักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ	(สวทช.)	ร่วมกับ	โครงการศูนย์ถ่ายทอด
เทคโนโลยีไทย-จีน	(TCTTC)	กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	ได้จัดท�าโครงการ
ส�ารวจตลาดไอซีทีจีน	Exploring	China	ICT	Market	ปี	3	ณ	สาธารณรัฐประชาชนจีน	
โดยจัดสัมมนา	“Next	Gen	Mobile	&	Mobile	World	Congress	Shanghai	2017”		ขึ้นเพื่อ
ประชาสัมพันธ์โครงการ	ในวันพุธที่	8	กุมภาพันธ์	นี้	ณ	ส�านักงานคณะกรรมการนโยบาย
วิทยาศาสตร์	เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ	(สวทน.)	ชั้น	14	อาคารจัตุรัสจามจุรี		
	 โดยในงานนี้มี	Mr.Leland	Lai	กรรมการผู้จัดการจาก	GSMA	Asia	มาให้ความรู้และ
ข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับงาน	Mobile	World	Congress	Shanghai	2017	ซึ่งเป็นงานแสดง
สินค้าเกี่ยวกับ	Mobile	และนวัตกรรมต่างๆ	ในระดับโลกที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย			
คุณวรมน ด�ารงศิลป์สกุล	ผู้เชี่ยวชาญด้านอุตสาหกรรม	ICT	จีน	ที่จะมาให้ข้อมูล	
overview	สตาร์ทอัพจีน	แนะน�าบริษัทเป็นกรณีศึกษา	การเปลี่ยนผ่านจากแอปสู่ฮาร์ดแวร์	
และนโยบาย	made	in	china	2025	พร้อมกับการแชร์ประสบการณ์ส�าหรับผู้ที่เคยเข้าร่วม
งานในปีที่ผ่านมาและสิ่งที่ภาครัฐสนันสนุนการออกบูธแสดงสินค้าในงาน	Mobile	World	
Congress	Shanghai	2017	ซึ่งมีผู้สนใจเข้าร่วมงาน	27	คน
8 กุมภาพันธ์ 2560
ค่ายอาสาพัฒนา Digital Media Challenge เพื่อการท่องเที่ยว
วันที่ 9-12 กุมภาพันธ์ 2560 โรงแรมแกรนด์ วิสต้า จังหวัดเชียงราย
	 เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย	ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ	(สวทช.)	ร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมแห่งชาติ	(สวทน.)	ด�าเนินโครงการส่งเสริมการใช้วิทยาศาสตร์และนวัตกรรม	
ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว	โดยจัดกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา	Digital	Media	Challenge	
เพื่อการท่องเที่ยว	วันที่	9-12	กุมภาพันธ์	2560	ณ	โรงแรมแกรนด์	วิสต้า	จ.เชียงราย
9-12 กุมภาพันธ์ 2560
7	มหาวิทยาลัย	10	ทีม	46	คน
หน่วยงานพันธมิตร
กิจกรรมโครงการฝึกอบรมผู้ประกอบการสินค้าผ้าฝ้าย ตำาบลแม่แรงสนับสนุน
โดยโครงการนำาร่องพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการท้องถิ่นไทยด้วยเทคโนโลยี 4.0
	 ทางเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย	ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี	
ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ	(สวทช.)	ร่วมกับ	เทศบาล
ต�าบลแม่แรง	อ�าเภอป่าซาง	จังหวัดล�าพูน	ได้จัดท�าโครงการน�าร่องพัฒนา
ศักยภาพผู้ประกอบการท้องถิ่นไทยด้วยเทคโนโลยี	4.0	วันที่	23-24	กุมภาพันธ์	
2560	เวลา	9.00-17.30	น.	ณ	วิทยาลัยการอาชีพป่าซาง	อ�าเภอป่าซาง	จังหวัด
ล�าพูน
	 โดยในวันแรกมีกิจกรรมสัมมนาให้ความรู้กับผู้ประกอบการท้องถิ่นเกี่ยวกับ
การท�า	e-catalogue	โดยมีผู้เข้าร่วม	29	คน	จากตัวแทนกลุ่มหมู่บ้าน	11	หมู่	
เกิดผลงานการท�า	
e-catalogue	ที่สมบูรณ์
จ�านวน	17	ชุด
23 กุมภาพันธ์ 2560
	 โดยกิจกรรมวันที่สองในช่วงเช้าจะเป็นการให้ความรู้ในเรื่องการวางแผนสินค้า		
Branding	และในช่วงบ่ายจะเป็น	การท�าการตลาดออนไลน์โดยใช้	Social	Media	
และให้ค�าปรึกษาเป็น	case	by	case	
โดยมีผู้เข้าร่วม		29	คน	จากตัวแทน
กลุ่มหมู่บ้าน	11	หมู่
24 กุมภาพันธ์ 2560
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017

Mais conteúdo relacionado

Mais de Chanpen Thawornsak

Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559Chanpen Thawornsak
 
Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol27/2558
Smart Industry Newsletter Vol27/2558Smart Industry Newsletter Vol27/2558
Smart Industry Newsletter Vol27/2558Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol.25
Smart Industry Newsletter Vol.25Smart Industry Newsletter Vol.25
Smart Industry Newsletter Vol.25Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014Chanpen Thawornsak
 

Mais de Chanpen Thawornsak (14)

Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559
 
Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559
 
Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
 
Smart Industry Newsletter Vol27/2558
Smart Industry Newsletter Vol27/2558Smart Industry Newsletter Vol27/2558
Smart Industry Newsletter Vol27/2558
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
 
Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
 
Smart Industry Newsletter Vol.25
Smart Industry Newsletter Vol.25Smart Industry Newsletter Vol.25
Smart Industry Newsletter Vol.25
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
 
Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014
 
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
 
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
 
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
 

Smart Industry Newsletter Vol.31/2017

  • 1. 15 Agri-Map Online โครงการบูรณาการแผนที่ออนไลน์ เพื่อยกระดับเกษตรกรไทย Volume 31/2560 ฉบับที่ 31 08 เทคฟาร์ม ส่งเครื่องมือ ตรวจสอบคุณภาพน้ำาช่วยเกษตรกร เพิ่มคุณภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำา 10 Freshket ตลาดออนไลน์สำาหรับ ร้านอาหารและซัพพลายเออร์ FREE COPYFREE COPY ขอเชิญบริษัทซอฟต์แวร์ร่วมลงทะเบียน เพื่อรับบริการจับคู่ธุรกิจ Smart Farm Smart Farmer พร้อมขับเคลื่อน เสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรไทย สู่ Thailand 4.0
  • 2. สมาร์ทฟาร์ม >> 3 สมาร์ทฟาร์มเมอร์ คลื่นลูกใหม่เกษตรกรรมไทย Smart Farm >> 4 Smart Farmer พร้อมขับเคลื่อน เสริมสร้าง ศักยภาพเกษตรกรไทย สู่ Thailand 4.0 เทคฟาร์ม >> 8 ส่งเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ น้ำาช่วยเกษตรกรเพิ่มคุณภาพ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำา เอเซนเทค >> 9 พัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์ม เพิ่มผลผลิตเห็ดคุณภาพสู่ตลาด Freshket >> 10 ตลาดออนไลน์สำาหรับ ร้านอาหารและซัพพลายเออร์ สยามออร์แกนิค >> 11 เพิ่มคุณภาพชีวิตชาวนา ด้วยข้าวแจสเบอร์รี่ SP smartplants >> 12 ระบบควบคุมการปลูกพืช ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดีว่า ฟาร์ม >> 13 พัฒนาระบบ สมาร์ทฟาร์ม มอร์นิเตอร์ริ่งรองรับการผลิต ฟาร์มฮอปส์ แห่งแรกของไทย กิจกรรม >> 14 Agri-Map Online >> 15 โครงการบูรณาการแผนที่ออนไลน์ เพื่อยกระดับเกษตรกรไทย จากนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ ไทยแลนด์ 4.0 โดยรัฐบาลมีวิสัยทัศน์ที่จะมุ่งเน้นให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากประเทศ ที่มีรายได้ปานกลาง ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วในอีก 10 ปีข้างหน้า การ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจผ่านฐานรากของการเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่การท�า เกษตรกรรมที่มีการน�าเอาเทคโนโลยีมาช่วยในการปลูก การผลิต และ การขาย เพื่อให้สามารถเพิ่มคุณภาพการผลิตและสร้างรายได้ให้กับ เกษตรกรมากขึ้นเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ จากการส�ารวจตัวเลขเกษตรกร ของไทยของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในปี 2559 ที่ผ่านมาประเทศไทย มีจ�านวนเกษตรกรที่ประมาณ 19 ล้านราย และส่วนใหญ่ยังมีรายได้น้อย เมื่อภาครัฐมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาประเทศก้าวสู่ ประเทศไทย 4.0 ที่ต้องการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value-Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” โดยมีฐานคิดหลัก คือ เปลี่ยน จากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” และมีแนว นโยบายในการเปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิมในปัจจุบัน ไปสู่การเกษตร สมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี หรือสมาร์ทฟาร์ม (Smart Farming) โดยเกษตรกรต้องร�่ารวยขึ้น และเป็นเกษตรกรแบบเป็น ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) เปลี่ยนจากผู้ประกอบการขนาดกลางและ ย่อม แบบดั้งเดิม (Traditional SMEs หรือ SMEs) ที่มีอยู่และรัฐต้องให้ความ ช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา ไปสู่การเป็นผู้ประกอบยุคใหม่ (Smart Enterprises) และ สตาร์ทอัพ (Startups) และเปลี่ยนจากแรงงานทักษะต�่าไปสู่แรงงานที่มี ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง Smart Industry ขอน�าเสนอ Smart Farm Smart Farmer กับแนวทาง ของภาคธุรกิจเกษตรกรรมที่น�าเทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ ท�างานและเสริมศักยภาพและคุณภาพการผลิตในยุคดิจิตอล เพื่อเปลี่ยน การท�าธุรกิจเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม อาทิ การขายสินค้าเกษตรแบบดั้งเดิม ในตลาด มาสู่การขายสินค้าเกษตรผ่านช่องทางออนไลน์ของ Freshket และ การท�าเกษตรกรรมในรูปแบบที่น�าเทคโนโลยีมาช่วยในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ ธุรกิจมีการเติบโตอย่างยั่งยืนทั้งในปัจจุบันและอนาคต อาทิ การเพาะเห็ด ด้วยสมาร์ทฟาร์ม ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพการผลิต นับว่าเป็น อีกแนวทางที่จะท�าให้ประเทศไทยสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิต ในรูปแบบเดิมสู่การผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพสูงที่สามารถผลิตเพื่อ ส่งออกสู่ตลาดต่างประเทศได้ในอนาคต กองบรรณาธิการ จุลสารข่าว Smart Industry จัดท�าโดย เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand) ภายใต้ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เลขที่ 99/31 อาคาร Software Park ถนนแจ้งวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2583-9992 โทรสาร 0-2583-2884 เว็บไซต์: www.swpark.or.th | www.tmc.nstda.or.th | www.nstda.or.th Content บทบรรณาธิการ สารบัญ
  • 3. 3Smart Industry บนคอมพิวเตอร์กลางภายในไร่ หรือดู ข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตผ่านทางเว็บไซต์ ก็สามารถท�าได้ ท�าให้เจ้าของไร่สามารถ ดูแลและจัดการไร่ของตัวเองได้ตลอด เวลา ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดก็ตาม ไม่ว่าจะ โดยการใช้คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือ สมาร์ทโฟน ขณะที่สมาร์ทฟาร์มเมอร์ หรือ เกษตรกรปราดเปรื่อง เป็นอีกหนึ่ง โครงการความหวังของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ที่ต้องการยกระดับเกษตรกร ไทย มีเป้าหมายของโครงการ คือ การ ยกระดับของเกษตร โดยมีเป้าหมายให้ เกษตรกรต้องมีรายได้ไม่ต่�ากว่า 1.8 แสนบาท/ปี หรืออย่างน้อย 300 บาท/วัน โดยมุ่งเน้นการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ทดแทนเกษตรกรรุ่นเก่า มุ่งเน้นให้ เกษตรกรมีความรู้ ความสามารถ เข้มแข็ง และมีศักยภาพ เป็นคลื่นลูกใหม่ ของวงการเกษตรกรรมไทย เพื่อสืบสาน งานการพัฒนาเส้นทางเศรษฐกิจของ ประเทศ และส่งเสริมให้มีการท�างาน ในรูปแบบกลุ่ม เพื่อให้เกิด ความพร้อม ที่จะพัฒนาการเข้าสู่การเป็น สมาร์ท ฟาร์มเมอร์ในอนาคต สมาร์ทฟาร์ม หรือ เกษตรอัจฉริยะ เป็นรูปแบบการท�าเกษตรแบบใหม่ที่จะ ท�าให้ การท�าไร่ท�านาในปัจจุบัน มีภูมิ คุ้มกันต่อสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ไป โดยการน�าเอาข้อมูลของภูมิอากาศ ทั้งในระดับพื้นที่ย่อย (Microclimate) ระดับไร่ (Mesoclimate) และระดับ มหภาค (Macroclimate) มาใช้ในการ บริหารจัดการ ดูแลพื้นที่เพาะปลูก เพื่อ ให้สอดคล้องกับสภาพอากาศที่เกิดขึ้น ในช่วงที่มีการเปลี่ยนถ่ายของ เทคโนโลยีและเกษตรกรไทยเริ่มมีการนำา เทคโนโลยีมาช่วยในการทำางาน เก็บเกี่ยว ติดตามการปลูกพืชและเก็บผลผลิตมาก ขึ้น ท่ามกลางกระแสโลกที่เปลี่ยนแปลง รวดเร็ว การพัฒนาด้านการเกษตรจำาเป็น ที่จะต้องปรับตัวให้ก้าวสู่การเกษตรยุค ใหม่ที่สามารถตอบสนองตลาด พร้อม กับยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกร สมาร์ทฟาร์ม และสมาร์ทฟาร์มเมอร์ จึงเป็นคำาที่จะเข้ามามีส่วนในการเชื่อมโยง เกษตรกรกับโลกดิจิตอลที่กำาลังเข้ามา มีบทบาทอย่างมากในปัจจุบัน สมาร์ทฟาร์ม สมาร์ทฟาร์มเมอร์ คลื่นลูกใหม่เกษตรกรรมไทย รวมถึงการเตรียมพร้อมรับมือกับสภาพ อากาศที่จะเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต หลักการท�างานของสมาร์ทฟาร์ม ระบบสมาร์ทฟาร์มจะบูรณาการ ข้อมูล Microclimate และ Mesoclimate จากเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย (Wireless Sensor Networks) ที่ติดตั้งตามจุดต่างๆ ภายในไร่นา (ข้อมูล อุณหภูมิ ความชื้น ในดินและในอากาศ แสง ลม น้�าฝน) กับข้อมูลอุตุนิยมวิทยา Macroclimate (เรดาร์ ข้อมูลดาวเทียม โมเดลสภาพ อากาศ) ที่มีอยู่บนอินเทอร์เน็ต และ น�าเสนอต่อเกษตรกร เจ้าของไร่ ผ่านทาง เว็บไซต์ โดยจะมีการเก็บข้อมูลเป็นฐาน ข้อมูลของไร่ เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ และด�าเนินกิจกรรมต่างๆ การวางแผน การเพาะปลูก การให้น้�า ให้ปุ๋ย และ ยา เป็นต้น ข้อมูลจากสถานีตรวจวัดอากาศ และสถานีตรวจวัดดิน ตามจุดต่างๆ ที่ถูกติดตั้งอยู่ภายในไร่จะถูกรวบรวมและ ส่งข้อมูลแบบไร้สายมายังคอมพิวเตอร์ ในบ้านของเจ้าของไร่ โดยสามารถติดตาม ข้อมูลได้ตอดเวลา (แบบเรียลไทม์) ได้ หลายช่องทาง ทั้งจากโปรแกรมแสดงผล
  • 4. 4Smart Industry ส�าหรับผลการด�าเนินงานเกษตร แปลงใหญ่ในปี 2559 มีการขับเคลื่อน เกษตรแปลงใหญ่ 9 ประเภท ได้แก่ ข้าว พืชไร่ ไม้ยืนต้น ผักและผลไม้ ไม้ผล หม่อน กล้วยไม้ ปศุสัตว์ และประมง มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ เกือบ 10,000 ราย บนพื้นที่รวมกว่า 1.5 ล้าน ไร่ ประสบผลส�าเร็จแล้ว 480 แปลง จาก 600 แปลง ตัวอย่างของกลุ่มสินค้า “ข้าว” สามารถลดต้นทุนการผลิตจากเดิม 4,200 เป็น 3,400 กว่าบาท/ไร่ ลดลงร้อยละ 25 หรือราว 1,000 บาท/ไร่ เพิ่มผลผลิต จาก เดิม 583 กิโลกรัม เป็น 659 กิโลกรัม/ไร่ และสร้างมูลค่าเพิ่มรวม 1,188 ล้านบาท ส�าหรับภาพรวมสามารถสรุปผล สัมฤทธิ์ จากการด�าเนินงานของชนิด สินค้าหลักจ�านวน 12 ชนิดสินค้า จาก 9 ประเภท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 92 ของพื้นที่ ที่ด�าเนินงานในปี 2559 พบว่าก่อให้เกิด รายได้รวม “เพิ่มขึ้น” มากกว่า 4,000 ล้านบาท แบ่งเป็นผลผลิต “เพิ่มขึ้น” Smart Farm Smart Farmer พร้อมขับเคลื่อน เสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรไทย สู่ Thailand 4.0 เกษตรกรไทยเป็นอาชีพที่มีมากที่สุด ในประเทศไทย แต่กลับมีรายได้น้อยที่สุด ท�าให้รัฐบาลก�าหนดทิศทางประเทศไทย ที่เรียกว่า ประเทศไทย 4.0 มีเป้าหมาย น�านวัตกรรมมาช่วยยกระดับให้ประเทศ ไทยก้าวพ้นจากประเทศที่ประชาชน มีรายได้ปานกลาง โดยเฉพาะเกษตรกร ที่ขาดองค์ความรู้ในการบริหารจัดการ เพื่อให้เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าจาก สมาร์ทฟาร์ม และขณะเดียวกันเกษตรกร จะก้าวข้ามมาสู่ สมาร์ทฟาร์มเมอร์ เพื่อ ยกระดับคุณภาพการผลิตและเสริมสร้าง ศักยภาพโดยรวมของเกษตรกรในระยะยาว พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก รัฐมนตรี กล่าวว่า ในปัจจุบัน เราจะก้าวสู่ “สังคมประเทศไทย 4.0” ซึ่งเป็น “สังคม แห่งการเรียนรู้” ทุกคนต้องพัฒนาตนเอง อยู่เสมอ “เกษตรแปลงใหญ่” เป็นแนวทาง ที่จะสร้างรายได้ที่มั่นคงและแก้ปัญหา ให้เกษตรกรอย่างยั่งยืน จะเป็นการปรับ เปลี่ยน - ปฏิรูปวิธีการผลิต โดยหันมา ให้ความส�าคัญกับการ “รวมกลุ่ม” และ การ “รวมพื้นที่” เป็นแปลงขนาดใหญ่ นอกจากเพื่อสร้างพลังอ�านาจในการ เข้าถึงแหล่งทุน ปัจจัยการผลิตและการ ตลาดแล้ว ยังเป็นการสร้าง “พลังความ สามัคคี” ตั้งแต่ระดับฐานราก โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบ แปลงใหญ่ “ประชารัฐ” สามารถผลิต สินค้าที่มีคุณภาพในต้นทุนที่ลดลง ส่งผล ให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น โดยยึดพื้นที่ที่มี ความเหมาะสมสอดคล้องกับ Agri Map Online ที่ช่วยประหยัดการใช้น�้า ที่มีอยู่ อย่างจ�ากัด ไม่เพียงพอ
  • 5. 5Smart Industry กว่า 1,500 ล้านบาท ลดต้นทุน ราว 2,700 ล้านบาท เฉลี่ยมูลค่าที่เกษตรกร ได้รับ ประมาณ 41,000 บาทต่อคน ทั้งนี้ การสร้าง “นวัตกรรม” ทาง ความคิด - กระบวนการท�างาน - การ สร้างเครือข่าย เพื่อสรรหาแนวทางใหม่ ในการบริหารจัดการกับปัญหาเดิมๆ หรือ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการท�างาน ให้เร็วขึ้น - สะดวกขึ้น - ประชาชนพึง พอใจและมีความสุข “มากขึ้น” โดยที่ นวัตกรรมไม่เพียงแต่เป็น “สิ่งประดิษฐ์” เท่านั้น แต่อาจจะหมายถึง “กระบวน การคิด ขั้นตอนการท�างาน” ก็ได้ คมสัน จ�ารูญพงษ์ รองเลขาธิการ ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร เล่าว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก�าลังก้าวไป สู่ Thailand 4.0 โดยการพัฒนาสามส่วน พร้อมกัน คือ พัฒนาเกษตรกร เพื่อให้ เกษตรกรก้าวเข้าสู่ เกษตรกร 4.0 หรือ สมาร์ทฟาร์มเมอร์ มีการพัฒนาบุคลากร โดยการพัฒนาบุคลากรเป็นสมาร์ท ฟาร์มเมอร์ และพัฒนาองค์กร เพื่อปรับ องค์กรสู่องค์กรที่พัฒนานวัตกรรมมาก ยิ่งขึ้น โดยน�านโยบายของรัฐบาลมาปรับ โดยสะท้อนถึงการน�าเทคโนโลยีเข้ามา สู่สมาร์ทฟาร์ม ประกอบด้วย การรวม การเกษตรแปลงใหญ่และน�าเกษตรแปลง ใหญ่ มีการปรับเปลี่ยนพื้นที่ที่เหมาะสม และไม่เหมาะสมไปสู่การปลูกในพื้นที่ที่ เหมาะสม โดยการใช้เครื่องมือ Agi-Map Online มีการแบ่งพื้นที่การเกษตรโซนนิ่ง ของประเทศไทยให้เหมาะสม และในส่วนของบุคลากรจะมีการ ปรับตัวให้เข้าสู่ สมาร์ทออฟฟิศเซอร์ (Smart officer) มีการใช้เครื่องมือ Agri- Map Online ในการท�างานและทุกองค์กร จะต้องมีการจัดหลักสูตรอบรม สมาร์ท ออฟฟิศเซอร์ เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย ไปสู่สมาร์ทออฟฟิศเซอร์ ส�าหรับส�านักงานเศรษฐกิจ การเกษตร จะมีการขับเคลื่อนให้องค์กร มีนวัตกรรม มีการพัฒนาแอพพลิเคชั่น ต่างๆ ให้กับเกษตรกรในการใช้งาน เช่น แอพพลิเคชั่น Reduce cost more opportunity (RCMO) มีจุดประสงค์เพื่อ พัฒนาแอพพลิเคชั่นให้เกษตรรู้จักคิด ในพื้นที่ของตนเอง พื้นที่ที่เหมาะสมกับ การปลูกอะไร แอพพลิเคชั่นจะมีฐาน ข้อมูลมาจากโซนนิ่ง เกษตรกรจะสามารถ คิดต้นทุนจากการประยุกต์ใช้เครื่องมือ ของ Agri-Map Online ได้สะดวก มีประสิทธิภาพและรวดเร็วมากขึ้น ดังนั้นเกษตรมีความจ�าเป็นในการ ใช้เทคโนโลยี เนื่องจากเกษตรกรสามารถ ทราบผลผลิตการเกษตรในระยะยาวและ รู้ตลาดว่าควรไปขายที่ไหน รู้ราคาตลาด รู้สภาพแวดล้อมของตัวเองให้สามารถ ผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพล่วงหน้า และเทคโนโลยียังช่วยให้การผลิตสินค้า เกษตรของโลกมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ สามารถ ยกระดับมาตรฐานแล้ว สินค้า ลดต้นทุนให้ได้มากที่สุด และจะท�าให้ เกษตรกรมีความรู้มากขึ้น มีรายได้มาก ขึ้น ประสิทธิภาพของชีวิตมีมากขึ้น รัฐตั้งศูนย์บ่มเพาะพัฒนา นวัตกรรม SMEs นอกจากรัฐบาลสนับสนุนเกษตร แปลงใหญ่และการน�าเทคโนโลยี Agri- Map Online มาช่วยผลักดันให้เกิด สมาร์ทฟาร์ม และสมาร์ทฟาร์มเมอร์ แล้ว รัฐบาลได้ผลักดันโดยจัดตั้งศูนย์
  • 6. 6Smart Industry หวังเพิ่มจ�านวนเกษตรกรครบ 1 แสนราย จากการท�างานที่ผ่านมามีเกษตรกร เข้าร่วมแล้วประมาณ 5 หมื่นราย แต่ ศูนย์บ่มเพาะมีเป้าหมายจะเพิ่มเป็น 1 แสนราย ภายใน 3 ปี (2559-2561) และ ธกส. มีงบประมาณสนับสนุน 3 แสนล้าน บาท และเชื่อว่าเกษตรกรจะมีจ�านวน เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากข้อดีของสมา ร์ทฟาร์ม สามารถเพิ่มผลิตและยืดอายุ สินค้าเกษตรให้จ�าหน่ายได้ตลอดปี และ ช่วยสร้างอุปสงค์ อุปทานให้เกิดขึ้นทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ ฝันเป็น World food hub เป้าหมายของศูนย์บ่มเพาะได้มอง ไกลออกไปอีกขั้นหนึ่งไม่เพียงแต่ยก ระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทยเท่านั้น แต่ในภาพใหญ่ยังต้องการให้ไทยกลาย เป็นศูนย์อาหารของโลก (World food hub) เพราะหลังจากได้ฟังความคิดเห็น ขององค์การอาหารและการเกษตรแห่ง สหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations หรือ FAO) ที่ต้องการให้ไทยผลิตอาหาร ให้โลกเนื่องจากมองว่าในอีก 3 ปีข้างหน้า โลกจะประสบวิกฤตอาหาร ในขณะที่ไทย ยังมีพื้นที่เหลืออีก 300 ไร่ ที่ยังว่างเปล่า สามารถผลิตอาหารได้เพิ่มขึ้นเพื่อป้อน ตลาดโลก ทั้งนี้หลักการท�างานของศูนย์บ่ม เพาะฯ จะรวมกลุ่มชุมชนก่อตั้งให้เป็น วิสาหกิจ สหกรณ์ หรือ ชุมชนวิสาหกิจ เกษตรกร โดยพัฒนาทุก 9 กลุ่มไป พร้อมๆ กัน เช่น การพัฒนาข้าวให้มี คุณภาพระดับพรีเมี่ยม ด้วยการจับมือ กับเกษตรกรจังหวัดนครพนมให้ปลูก ข้าวหอมมะลิคุณภาพสูง มีกลิ่นหอม และหุงขึ้นหม้อ เป็นต้น เรืองชัย เล่าว่า หน้าที่ของศูนย์บ่ม เพาะฯ จะเข้าไปดูแลช่วยเหลืออย่างครบ วงจรตั้งแต่ผลิตไปจนถึงการขาย ด้วยการ ช่วยมองหาตลาดใหม่ๆ ให้ด้วย ซึ่งการ ท�างานจะร่วมมือกับหลายๆ หน่วยงาน อาทิ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) และ สมาคม วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งประเทศไทย หรือ (สวทน) เป็นต้น “สิ่งที่ศูนย์บ่มเพาะฯ ด�าเนินการ อยู่ถือเป็นนโยบายส่วนหนึ่งที่จะรองรับ นโยบายประเทศไทย 4.0 ของรัฐบาล ภายใต้การด�าเนินงานสมาร์ทฟาร์ม (Smart Farm) หรือเกษตรแนวใหม่ที่ น�านวัตกรรมเข้ามาช่วยการผลิตเพื่อให้ เกิดผลิตผลที่มีคุณภาพ” เรืองชัย กล่าวและว่า สมาร์ทฟาร์ม หลักการไม่ยากเพราะ เป็นการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน สมาชิก ในกลุ่มมีต้นทุน วัตถุดิบและภูมิปัญญา ของกลุ่มอยู่แล้ว เพียงแต่เราไปเชิญ ผู้เชี่ยวชาญมาให้ข้อมูล และชี้ให้เห็นช่อง ทางการตลาด และกลุ่มลูกค้าที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต ส่วนศูนย์บ่มเพาะก็ท�าหน้าที่ ประสาน วางแผน ดึงคนมาร่วมท�างาน และศูนย์บ่มเพาะมีเป้าหมายต้องการ สร้างสาขาให้เกิดขึ้นในระดับภูมิภาคเพื่อ ท�าหน้าที่ประสานกับท้องถิ่นเพื่อให้เกิด การท�างานรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เรืองชัย เจริญกิจสุพัฒน์ บ่มเพาะและพัฒนานวัตกรรม SMEs เกษตร เพื่อปั้นให้เกษตรกรกลายเป็น ผู้ประกอบการสามารถดูแลตัวเองอย่าง ยั่งยืน และปัจจุบันมีเกษตรกรเข้าร่วม แล้วกว่า 5 หมื่นราย และมีเป้าหมาย ภายใน 3 ปี มีผู้เข้าร่วม 1 แสนราย เรืองชัย เจริญกิจสุพัฒน์ ผู้อ�านวย การศูนย์บ่มเพาะและพัฒนานวัตกรรม SMEs เกษตร ภายใต้การดูแลของ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ หรือ ธกส. กล่าวว่า ศูนย์ฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทยให้มี รายได้สูงขึ้นและสามารถช่วยเหลือตัวเอง ได้ในระยะยาว โดยศูนย์ฯ จะท�าหน้าที่ให้ ค�าปรึกษาและค�าแนะน�า รวมถึงปล่อย สินเชื่อให้กับเกษตรกรด้วย โดยกลุ่มเป้าหมายจะเป็นกลุ่ม ผู้ประกอบการเกษตรกรที่มีขนาดกลาง และย่อม หรือ SMAE (Small Medium Agriculture Enterprise) โดยศูนย์ฯ จัดกลุ่มเกษตรกรเพื่อให้ค�าปรึกษา ออกเป็น 9 หมวด คือ 1. ข้าว 2. ยางพารา 3. มันส�าปะหลัง 4. ปาล์ม น�้ามัน 5. อ้อย 6. กาแฟ 7. ข้าวโพด 8. ผลไม้ทุกชนิด 9. หมูและไก่
  • 7. 7Smart Industry “เราไม่มีนักวิจัยเป็นของตนเอง แต่ เราจะท�าหน้าที่เป็นคนกลางประสานงาน ส่งผู้เชี่ยวชาญให้ค�าปรึกษาและสนับสนุน ในส่วนของค่าใช้จ่ายในการว่าจ้าง ผู้เชี่ยวชาญ ร้อยละ 50 ภายใต้วงเงิน สูงสุดไม่เกิน 400,000 บาท ซึ่งเป็น กลยุทธ์ขั้นต้น ที่จะช่วยลดความเสี่ยงใน การลงทุนของผู้ประกอบการเพื่อพัฒนา เทคโนโลยีการผลิต” อนุชา กล่าวและว่า ในปี 2558 ที่ผ่านมาได้สนับสนุน โครงการให้กับเอสเอ็มอีทั่วประเทศ ประมาณ 1,000 โครงการ โดยมีเครือ ข่ายไอแท็ป 65 แห่งทั่วประเทศให้ความ ช่วยเหลือ ส่วนผลลัพธ์การช่วยเหลือ มี เอกชนบางรายสามารถสร้างผลตอบแทน เพิ่มขึ้น 7.5 เท่า และในส่วนของสมาร์ท ฟาร์ม ไอแท็ปในปีนี้มีเป้าหมายจะเข้าไป ช่วยเหลือเกษตรกรประมาณ 10 ราย โดยเฉพาะในกลุ่มที่ผลิตด้านออร์แกนิค เพราะหากน�าเทคโนโลยีเข้าไปร่วมพัฒนา คาดว่าจะสร้างโอกาสให้มีรายได้เพิ่มสูง ขึ้น และขณะนี้อยู่ระหว่างการคัดเลือก ผู้ประกอบการ และศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้น ว่าควรจะปรับปรุงและพัฒนาอย่างไรให้ เหมาะสม ที่ผ่านมาไอแท็ปได้น�าเทคโนโลยี หลายประเภทเข้าไปช่วยเหลือภาค การเกษตร อาทิ การใช้โดรน (Drone) บินขึ้นไปเหนือพืชผัก และพ่นสารบ�ารุง ลงไปบนพืชผักซึ่งไม่ใช่ยาฆ่าแมลง หรือ หุ่นยนต์ (Robot) เข้าไปตามร่องสวนเพื่อ ฉีดยาฆ่าแมลง หรือท�าโรงเรือนเห็ดระบบ ปิด โดยใช้ระบบเซนเซอร์ท�างานดูแล อุณหภูมิความร้อนและความเย็น โดยระบบการท�างานของเทคโนโลยี เหล่านี้จะมีซอฟต์แวร์ท�าหน้าที่ควบคุม และรายงานผล โดยเฉพาะใช้เป็นฐาน ข้อมูลเพื่อรายงานตรวจสอบพันธุกรรม สายพันธุ์พ่อหรือแม่ รวมถึงแหล่งที่มา ของสินค้าต้นทางของผู้ผลิตและจ�าหน่าย “ปัญหาที่ผ่านมาสินค้าพืชผล ทางการเกษตร กรณีเกิดความเสียหายจะ ตรวจสอบสินค้าทั้งหมด หรือยกเลิกไม่ให้ ส่งออก หรือจ�าหน่าย เพราะไม่สามารถ บอกที่มาของต้นทางได้ แต่ถ้าหากมีฐาน ข้อมูลจากต้นทางไปถึงปลายทาง จะรู้ ได้ทันทีว่าสินค้าที่ต้องการตรวจมาจาก ทางใด ข้อดีท�าให้สินค้าไม่ต้องถูกยกเลิก ทั้งหมด ท�าให้ลดต้นทุนได้ค่อนข้างมาก” อนุชา เล่าว่า แนวโน้มการใช้ เทคโนโลยีเพื่อเข้าไปช่วยโครงการ สมาร์ทฟาร์ม จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน แต่ถ้าผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไม่ปรับตัว คู่แข่งจะทิ้งห่างออกไปเรื่อยๆ เพราะเวลา ที่ผ่านไปก็ถือว่าเป็นต้นทุน หากจะรอให้ เทคโนโลยีถูกลง คนอื่นเขาก็สร้างตลาด ไปแล้ว จุดส�าคัญเรากล้าที่จะแตกต่าง กล้าเริ่มต้นหรือเปล่า เรืองชัย เล่าว่า เป้าหมายการยก ระดับเกษตรด้วยการน�านวัตกรรมไปใช้ เพื่อรองรับประเทศไทย 4.0 ก�าลังพัฒนา ขึ้นไปเรื่อยๆ ส่วนจะสามารถยกระดับ คุณภาพชีวิตเกษตรกรไทยได้มากน้อย เพียงใด ต้องอาศัยเวลาและความร่วมมือ ของทุกฝ่ายที่จะช่วยเหลือกันอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ไอแท็ป เดินหน้าช่วยเหลือสมาร์ทฟาร์ม ไอแท็ป เดินหน้าช่วยเกษตรกรใช้ เทคโนโลยีพัฒนาการผลิต ร่วมออกเงิน ทุนจ้างผู้เชี่ยวชาญลดต้นทุนเพื่อสร้าง ศักยภาพให้เข้มแข็ง ตั้งเป้าหมายช่วย เหลือ 10 โครงการในปีนี้ ดนุชา อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้จัดการงานซอฟต์แวร์และอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรม (ไอแท็ป) ส�านักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ กล่าวว่า ไอแท็ปเป็นศูนย์กลาง พัฒนานวัตกรรม มุ่งเน้นช่วยเหลือ ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SMEs) โดยการน�าความรู้ ทางด้านวิทยาศาสตร์เข้าไปช่วยเหลือ ธุรกิจ เริ่มตั้งแต่ปรับปรุงกระบวนการ ผลิต พัฒนาเครื่องจักร การวิจัยพัฒนา สินค้า รวมถึงการออกแบบเพ็กเกจจิ้ง
  • 8. 8Smart Industry เทคฟาร์ม ส่งเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพนำ้า ช่วยเกษตรกรเพิ่มคุณภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้า และบริษัทยังอยู่ระหว่างพัฒนาการ ตลาดออนไลน์ (Market place) และ ระบบการขนส่งสินค้าเกษตร เพื่อรองรับ เกษตรกรที่มีผลผลิตสามารถที่จะน�า สินค้ามาขายผ่านออนไลน์ และเมื่อ เกษตรกรสามารถค�านวณผลผลิตล่วง หน้าได้ เกษตรกรสามารถที่จะขายสินค้า ในระบบการซื้อขายล่วงหน้าได้อีกด้วย ท�าให้เกษตรกรสามารถวิเคราะห์ตลาด และสามารถเพิ่มมูลค่าของผลผลิต และ จะให้บริการระบบการขนส่งให้เกษตรกร ด้วย สามารถสร้างโอกาสในการแข่งขัน ของธุรกิจส�าหรับเกษตรกรได้มากขึ้น นอกจากนี้เกษตรกรยังสามารถ ท�าการซื้อขายสินค้าทางการเกษตรดู ราคาผลผลิตทางการเกษตรย้อนหลัง เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจใน การตั้งราคาขาย และยังเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกันของเหล่าเกษตรกร ร่วมกับ แหล่งความรู้อื่นๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ที่ได้คัดสรรค์ไว้ให้อีกด้วย ในการตรวจวัดคุณภาพน�้านั้น เกษตรกรสามารถน�าอุปกรณ์เล่นน�้า ไป วางในทุ่นที่มีหลังคาเป็นโซลาเซลล์ ซึ่ง สามารถชาร์ตไฟจากพลังงานแสงอาทิตย์ ในการส่งผ่านข้อมูลจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์ กุ้งไปยังโทรศัพท์มือถือ ท�าให้เกษตรกร สามารถตรวจสอบคุณภาพน�้าผ่านมือถือ ได้ตลอดเวลา “ที่ผ่านมาเกษตรกรจะต้องจ้าง แรงงานในการตรวจสอบคุณภาพน�้า ท�าให้เสียค่าใช้จ่ายสูง อุปกรณ์เล่นน�้า จะช่วยลดความเสี่ยง ท�าให้เกษตรกร สามารถผลิตสัตว์น�้าส่งออกอย่างเป็น ระบบ เนื่องจากบริษัทได้พัฒนาอุปกรณ์ แล่นน�้าที่มีคุณภาพเทียบเท่ากับค่าตรวจ สอบคุณภาพน�้าในห้องแล็บ มีความ แม่นย�า ท�าให้เกษตรกรสามารถเพิ่ม ผลผลิตได้ สามารถใช้งานได้จริง มีระบบ แจ้งเตือนหากบ่อเพาะเลี้ยงมีปัญหาเกิด ขึ้น ท�าให้เกษตรกรสามารถแก้ไขปัญหา ได้ทันท่วงที และเกษตรกรรู้คุณภาพของ น�้าได้ทุกที่ ทุกเวลา และมีการรายงาน เป็นระบบให้เกษตรกรผ่านโทรศัพท์มือถือ ด้วย” อานนท์ กล่าว อานนท์ เล่าต่อว่า ในอนาคตบริษัท จะร่วมมือกับภาครัฐในการแก้ไขปัญหา ของเกษตรกร เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของ สัตว์น�้ามากขึ้น ท�าให้เกษตรกรสามารถที่ จะน�าเสนอสินค้าที่มีมาตรฐาน มีคุณภาพ ท�าให้เกษตรกรสามารถส่งออกสัตว์น�้า ที่มีคุณภาพไปยังต่างประเทศ รวมถึง บริษัทมีแผนที่จะน�าเสนออุปกรณ์เล่นน�้า ดังกล่าวไปยังตลาดต่างประเทศ อาทิ ประเทศนอร์เวย์ เพื่อให้เกษตรกรน�า อุปกรณ์เล่นน�้า ไปช่วยในการเพาะเลี้ยง ปลาแซลมอน ช่วยลดความเสี่ยงในการ เลี้ยงปลา กุ้ง เป็นต้น นอกจากนี้บริษัทยังอยู่ระหว่าง การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจสอบคุณภาพ ดิน ภายใต้ชื่อ เล่นดิน ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ สามารถตรวจสอบแร่ธาตุในดิน ช่วยให้ เกษตรกรลดค่าต้นทุนในการใช้ปุ๋ย รวม ถึงเกษตรกรสามารถ ตรวจเช็คสภาพแร่ ธาตุในดินจากโทรศัพท์มือถือ ดูได้ว่าพื้นที่ แต่ละแห่งเหมาะส�าหรับปลูกพืชชนิดไหน ได้บ้าง หรือเกษตรกรที่ปลูกพืชอยู่แล้ว สามารถรู้ได้ว่าในดินต้องการปุ๋ยมากน้อย แค่ไหนระบบจะแนะน�าในการใส่ปุ๋ย ซึ่ง จะช่วยลดต้นทุนของเกษตรกรในการใส่ ปุ๋ยท�าให้เกษตรกรมีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น สามารถส่งออกเพิ่มขึ้น ปัจจุบันสามารถ วัดแร่ธาตุในดินและแนะน�าการปลูกพืชได้ กว่า 20 ชนิด อาทิ ข้าวหอมประทุม ข้าว ไรซ์เบอร์รี่ ข้าวโพด เป็นต้น จากแรงบันดาลใจที่อยากเอาความรู้ ทางด้านเทคโนโลยีไปช่วยเหลือเกษตรกร ให้มีคุณภาพชีวิตและผลผลิตที่มีคุณภาพ มากขึ้น อานนท์ บุณยประเวศ ได้รวมตัว กับเพื่อนก่อตั้งบริษัท เทคฟาร์ม จ�ากัด เพื่อพัฒนาเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ น�้า ภายใต้ชื่อ เล่นน�้า เพื่อช่วยลดความ เสี่ยงในการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้า โดยเครื่อง มือและอุปกรณ์เล่นน�้า สามารถตรวจ สอบคุณภาพน�้าได้ 24 ชั่วโมง ตรวจ สอบอุณหภูมิน�้า ออกซิเจนในน�้า รวม ถึง ค่า PH ของน�้า ท�าให้เกษตรกรที่เลี้ยง กุ้ง สามารถเลี้ยงกุ้งรอดชีวิตมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ จากเดิมที่เกษตรกรที่เพาะ เลี้ยงกุ้ง ท�าการเพาะเลี้ยงกุ้งที่มีอัตราการ รอดเพียง 30 เปอร์เซ็นต์ อานนท์ บุณยประเวศ
  • 9. ออนไลน์ ทั้งในรูปแบบของการขาย ออนไลน์ปรกติและการขายสินค้าเกษตร ล่วงหน้าเป็นต้น ท�าให้เกษตรกรและผู้ซื้อ สามารถซื้อขายในระบบได้สะดวกรวดเร็ว และมีการสร้างข้อได้เปรียบในการแข่งขัน ท�าให้ผู้ซื้อมั่นใจว่าได้รับ ผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพ และบริษัทมีแผนที่จะร่วมกับ ธนาคารเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ในการขายระบบสมาร์ทฟาร์มให้ เกษตรกร อ�าเภอละ 1 แห่งเพื่อรองรับ เกษตรกรทั่วประเทศในอนาคต “เกษตรกรขนาดกลางและเล็ก ที่ มีการผลิตสินค้าในรูปแบบสมาร์ทฟาร์ม หากรู้ตลาดล่วงหน้าจะท�าให้สามารถคาด การณ์การผลิตได้ ผมมองว่าเทคโนโลยี จะมีประโยชน์กับธุรกิจอย่างมาก ทั้งใน เรื่องของการวางแผนล่วงหน้า และธุรกิจ มีความจ�าเป็นต้องเอาเทคโนโลยีมาช่วย ในการผลิต เพื่อเพิ่มศักยภาพในการ แข่งขันที่สูงขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับ ลูกค้าลดความผิดพลาดในการด�าเนิน งาน” ก�าพล กล่าวและว่า บริษัทอยู่ ระหว่างการพัฒนาสมาร์ทฟาร์มที่จะปลูก พืชเป็นยา เช่น พริก เพื่อใช้เป็นสารสกัด พริกส�าหรับท�าเครื่องส�าอางในอนาคตด้วย เอเซนเทค พัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์ม เพิ่มผลผลิตเห็ดคุณภาพสู่ตลาด ก�าพล โชคสุนทสุทธิ์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า บริษัทได้พัฒนาระบบ สมาร์ทฟาร์ม ส�าหรับการเพาะเห็ด ใน รูปแบบฟาร์มเห็ดอัจฉริยะ โดยจะมีการ เพาะเห็ดในโรงเรือน สามารถที่จะตรวจ สอบสภาพโรงเรือนเพาะเห็ดได้ตลอด เวลา โดยระบบสมาร์ทฟาร์มสามารถ ฉีดพ่นน�้าให้กับเห็ด วัดอุณหภูมิโรงเรือน เพาะเห็ดด้วยระบบคอมพิวเตอร์ รวมถึง สามารถตรวจสอบสถานะการเติบโตของ เห็ดและสภาพของโรงเรือนเพาะเห็ดจาก คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ เอสเซนเทค พัฒนาระบบ สมาร์ทฟาร์ม รองรับการผลิตเห็ด คุณภาพสู่ตลาด เตรียมร่วมกับ ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ขยายผลสู่เกษตรกรทั่วประเทศ โดยในระยะแรกบริษัทได้ทดลอง เพาะเห็ดนางฟ้า กับโรงเรือนที่มีขนาด 4x6 เมตร มีระบบสมาร์ทฟาร์ม ที่มี ระบบเซ็นเซอร์ที่สามารถวัด วัดอุณหภูมิ ความชื้น และ แสง ภายในโรงเรือน โดย ผลผลิตที่ได้เมื่อเทียบกับการเพาะเห็ด ปรกติพบว่าการเพาะเห็ดด้วยโรงเรือน อัจฉริยะ สามารถให้ผลผลิตที่ดี เห็ด มีคุณภาพสูงไม่อุ้มน�้า รวมถึงมีรสชาติ หวาน กรอบ มีความคงที่ของผลผลิต และได้รับผลผลิตต่อรอบมีมากขึ้น โดย มีผลผลิตในปริมาณ 4.4 ขีดต่อเห็ดหนึ่ง ก้อน ซึ่งเพิ่มจากการเพาะเห็ดปรกติที่มี ผลผลิตในปริมาณ 4 ขีดต่อเห็ดหนึ่งก้อน ปัจจุบันบริษัทได้น�าระบบสมาร์ทฟาร์ม มาช่วยในการเพาะเห็ดโคลน เห็ดนางฟ้า ภูฎาน และเห็ดฮังการีด้วย นอกจากนี้บริษัทอยู่ระหว่างพัฒนา ระบบอีคอมเมิร์สเพื่อรองรับเกษตรกร เพาะเห็ดที่ต้องการขายสินค้าผ่าน 9Smart Industry ก�าพล โชคสุนทสุทธิ์
  • 10. อย่างมาก จากปรกติซัพพลายเออร์จะ ต้องใช้เวลาในการรับออร์เดอร์และตรวจ เช็คสินค้าโดยใช้เวลามากกว่า 3 ชั่วโมง ส�าหรับระบบของ Freshket ซัพพลายเออร์ สามารถรับออร์เดอร์ เช็คสินค้าจนถึงส่ง เตรียมของส่งลูกค้าได้ภายในครึ่งชั่วโมง ซึ่งสามารถช่วยประหยัดเวลาในการรับ ออร์เดอร์และการท�างานลดลง ซึ่งช่วย เพิ่มประสิทธิภาพการท�างานในภาพรวม ดีขึ้นในการท�าธุรกิจในรูปแบบธุรกิจกับ ธุรกิจหรือ Business to business (B2B) platform พงษ์ลดา เล่าว่า ส�าหรับร้านอาหาร ที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกจะสามารถสั่งซื้อ สินค้าที่มีคุณภาพ ร้านอาหารจะได้รับ ความสะดวกในการสั่งสินค้าสามารถเช็ค คุณภาพสินค้าได้ทันที โดยร้านอาหาร สามารถเช็คสินค้าในใบตรวจเช็คสินค้า บนออนไลน์ได้ รวมถึงสามารถเช็คความ โปร่งใสในการสั่งสินค้าด้วย “เราไม่ใช่แค่ตัวกลางให้ธุรกิจสอง กลุ่มมาเจอกัน แต่เรามีการต่อระบบการ ท�างานหลังบ้าน เพื่อให้สองฝ่ายซื้อขาย กันสะดวกมากยิ่งขึ้น มีการพัฒนาระบบ การท�างานหลังบ้าน (Workflow) และ ออกแบบเพื่อธุรกิจซัพพลายเออร์และร้าน อาหารโดยเฉพาะ นับตั้งแต่การส่งใบสั่ง ซื้อ ใบเสนอราคา การตรวจเช็คสินค้า ไปจนถึง การออกใบอินวอยน์ รวมไปถึง การจ่ายเงินผ่านระบบจนเสร็จสิ้น ทุก อย่างออกมาในรูปแบบของอีบิลลิ่ง เก็บ บนคราวน์และสามารถเอาไปท�าบัญชี ได้เลย ข้อมูลทุกอย่างเราเก็บให้และท�า รายงานให้ ซัพพลายเออร์สามารถรู้ว่าย อดขาย ต่อวัน ต่อสัปดาห์ ต่อเดือน ขาย ได้เท่าไหร่ ผักตัวไหนขายดีที่สุด ร้าน อาหารไหนซื้อเรามากที่สุด ร้านอาหาร สามารถรู้ได้ว่าซื้อสินค้า และวัตถุดิบ จากร้านไหนมากที่สุด และในอนาคตเรา อยากจะน�าข้อมูลทุกอย่างที่เก็บไว้ เอามา วิเคราะห์และแชร์ให้กับทางร้านอาหาร และซัพพลายเออร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจ ต่อไป” พงษ์ลดา กล่าวและว่า จากความต้องการผักสวนครัวสด และวัตถุดิบที่มีคุณภาพส�าหรับร้านอาหาร บริษัทจึงได้พัฒนาระบบตลาดออนไลน์ ของสดส�าหรับร้านอาหาร และเกษตรกร หรือซัพพลายเออร์ เพื่อให้ซัพพลายเออร์ สามารถพบกับร้านอาหารโดยตรงผ่าน ระบบซื้อขายสินค้าออนไลน์หรือ อีมาร์เก็ต เพลส ที่ http://freshket.co/ พงษ์ลดา เล่าว่า Freshket เป็น ตัวกลางที่เชื่อมให้คนสองกลุ่มคือ ซัพพลายเออร์และร้านอาหารได้เจอกัน ง่ายขึ้น โดยซัพพลายเออร์และร้านอาหาร ที่ต้องการซื้อขายสินค้าผ่าน Freshket จะต้องสมัครสมาชิกเพื่อลงทะเบียนกับ ระบบการซื้อขายออนไลน์ โดยระบบของ Freshket นอกจาก เป็นระบบซื้อขายสินค้าเกษตรออนไลน์ ระหว่างร้านอาหารกับซัพพลายเออร์ แล้ว ยังมีระบบหลังบ้านที่ซัพพลายเออร์ สามารถรับออร์เดอร์ ส่งใบน�าเสนอสินค้า เช็คสต็อกสินค้า เป็นต้น ซึ่งจะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการท�างานของซัพพลายเออร์ Freshket ตลาดออนไลน์สำาหรับ ร้านอาหารและซัพพลายเออร์ จากพื้นฐานครอบครัวที่คลุกคลีกับ ชาวสวน และเกษตรกรกับธุรกิจจ�าหน่าย เมล็ดพันธุ์ผักสวนครัวทั้งในและต่าง ประเทศ พงษ์ลดา พะเนียงเวช ซีอีโอ ตลาดสดออนไลน์ ภายใต้ชื่อ Freshket จึงวางแผนที่จะต่อยอดธุรกิจครอบครัว และร่วมกับเพื่อนก่อตั้งบริษัท เฟรซเก็ต จ�ากัด เพื่อเป็นตัวกลางในการน�าเสนอพืช ผักสวนครัวทุกชนิด อาทิ พริก ผักบุ้ง ผัก คะน้า ให้กับร้านอาหารขนาดกลาง ปัจจุบันมีร้านอาหารที่สมัครสมาชิก 50 ร้าน มีซัพพลายเออร์ 20 ราย ที่ส่ง สินค้าเกษตรและวัตถุดิบส�าหรับร้าน อาหารที่การันตรีคุณภาพ กับสินค้ากว่า 20 หมวดสินค้า อาทิ ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ เครื่องปรุง อาหารแห้ง และน�้าตาล และ มีสินค้ามากกว่า 2,000 รายการส�าหรับ ร้านอาหารในการเลือกซื้อวัตถุดิบ “เราเป็นตลาดออนไลน์ของสดที่มี คุณภาพ มีซัพพลายเออร์ที่มีคุณภาพ ที่ตอบโจทย์ ให้บริการด้วยความสะดวก ลดเวลา ลดค่าใช้จ่าย ข้อมูลติดตามได้ หมด” กล่าวและว่า ในอนาคตบริษัทมี แผนที่จะร่วมกับพันธมิตรในการท�าโกดัง สินค้า (Warehouse) เพื่อรองรับซัพพลาย เออร์ที่ไม่สามารถสต็อกสินค้าและจัดส่ง สินค้าได้ยังร้านอาหารได้โดยตรง คาดว่า จะสามารถด�าเนินงานได้ภายใน 6 เดือน เพื่อรองรับเกษตรกรที่ต้องการขายสินค้า ในช่องทางออนไลน์ อย่างไรก็ตามบริษัท คาดว่าภายในสิ้นปีนี้จะมีร้านอาหารที่เป็น สมาชิกประมาณ 800 ร้านและมีซัพพลาย เออร์มากกว่า 300 ราย พงษ์ลดา พะเนียงเวช 10Smart Industry
  • 11. เข้าไปจัดอบรมให้ความรู้กับเกษตรกร เกี่ยวกับเทคนิคในการผลิตข้าวที่มี คุณภาพอย่างต่อเนื่องแล้ว บริษัทยังรับ ซื้อผลผลิตข้าวจากเกษตรกรเพื่อรวบรวม ผลผลิตก่อนน�าออกจ�าหน่ายสู่ตลาดทั้งใน และต่างประเทศด้วย บริษัทในปัจจุบันให้การสนับสนุน ชาวนาในการปลูกข้าว แจสเบอร์รี่ ประมาณ 1,000 ครัวเรือน ที่จังหวัด ร้อยเอ็ด และยโสธร มีผลผลิตมากกว่า 1,000 ตันต่อปี โดยจะส่งออก 20 เปอร์เซ็นต์ ปัจจุบันบริษัทส่งออกข้าวไป ยังตลาดอเมริกา ฮ่องกง สิงคโปร์ และ นิวซีแลนด์ “เราได้รับการตอบรับที่ดีจากลูกค้า ทั้งในและตลาดต่างประเทศ คาดว่าจะ สามารถมีก�าลังการผลิตถึง 2 หมื่นตันใน อนาคต นอกจากนี้บริษัทยังได้น�าข้าวแจส เบอร์รี่ไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น อาทิ แป้ง และ ชา เป็นต้น” ปิตาชัย กล่าว และว่า นอกจากนี้บริษัทยังน�าช่องทางการ ตลาด ดิจิตอลมาร์เก็ตในการขยายตลาด และรองรับลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ ด้วย สยามออร์แกนิค เพิ่มคุณภาพชีวิตชาวนา ด้วยข้าวแจสเบอร์รี่ นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ อีกมากมาย เช่น ใยอาหาร วิตามินบี โอเมก้า 3 เบต้า-แคโรธีน และ แกมมาโอรีซานอล ข้าวแจสเบอร์รี่ ถือว่าเป็นข้าวที่มีคุณค่า ทางสารอาหารสูงที่สุด และมีคุณสมบัติ ที่โดดเด่นกว่าคือแข็งนอกนุ่มใน ทั้งยัง มีกลิ่นหอม รสชาติดี และมีสารอาหาร ปีตาชัย เดชไกรศักดิ์ ประธานเจ้า หน้าที่บริหารบริษัท สยามออร์แกนิค เล่าว่า บริษัทได้ก่อตั้งเมื่อ 6 ปีที่ผ่านมา ในรูปแบบโซเชียล เอ็นเตอร์ไพร์ส โดย มีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของ ชาวนา ด้วยการสนับสนุนให้ชาวนาได้มี รายได้จากการขายข้าวได้มากขึ้น และ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการโดย ใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการในการ ปลูกข้าว โดยบริษัทได้ส่งเสริมให้ชาวนา ปลูกข้าวแจสเบอร์รี่เป็นข้าวสายพันธุ์ใหม่ ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสุขภาพที่ดีที่สุด โดย มีคุณสมบัติเด่นที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidants) สูงกว่าข้าวไรซ์เบอร์รี่ 5 เท่า สูงกว่าชาเขียวถึง 10 เท่า 11Smart Industry ปีตาชัย เดชไกรศักดิ์ ที่มีประโยชน์ต่อผู้บริโภคโดยเฉพาะสาร ต้านอนุมูลอิสระที่มีมากกว่าข้าวสายพันธุ์ อื่น เนื่องจากเป็นสายพันธุ์ที่ผสมระหว่าง ข้าวหอมมะลิ (Thai Jasmine Rice) และ ข้าวด�า (Thai Black Rice) เพียงแค่ทาน ข้าวแจสเบอร์รี่วันละ 1 มื้อก็จะได้สาร ต้านอนุมูลอิสระเพียงพอตามที่ร่างกาย ต้องการซึ่งจะช่วยในการต้านโรคมะเร็ง ความดันโลหิตสูง และอัลไซเมอร์ นอกจากนี้ข้าวแจสเบอร์รี่ ยังมี ความนุ่ม อร่อย ไม่แข็งเหมือนข้าวกล้อง ทั่วไป โดยมีการปลูกแบบออร์แกนิคที่ได้ ใบรับรองมาตรฐานสากล USDA, EU และ IFOAM ปีตาชัย เล่าว่า บริษัทได้สนับสนุน ให้เกษตรกรหรือชาวนารายย่อยจากภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ในจังหวัดร้อยเอ็ด และยโสธร ปลูกข้าวแจสเบอร์รี่ และ บริษัทมีเป้าหมายให้ชาวนาประมาณ 1,000 ครัวเรือนในภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ปลูกข้าวแจสเบอร์รี่ และ ชาวนา สามารถได้รับผลตอบแทนเพิ่มขึ้น 14 เท่า เมื่อเทียบกับการท�านาปรกติ ปีตาชัย เล่าต่อว่า การปลูกข้าว ออร์แกนิค บริษัทนอกจากจะส่งทีมงาน
  • 12. การรดน�้าต้นไม้ให้กับพืชแต่ละชนิด และ ระบบยังสามารถสร้างแผนงานการรดน�้า ต้นไม้ได้ไม่จ�ากัด โดยมีจุดเด่น ที่ช่วย ในการจัดการน�้าได้และช่วยเพิ่มความ สะดวกมากขึ้น นอกจากนี้ระบบยังช่วย ในการวางแผนงานการปลูกพืชด้วย โดย เกษตรกรสามารถเลือกช่วงเวลาการรดน�้า ตามต้องการ เลือกโซนรดน�้าและตั้งวันที่ ไว้ล่วงหน้า รวมถึง ควบคุมการเปิด-ปิด วาล์วน�้าตามเวลาที่ตั้งไว้ในแต่ละโซน โดยตั้งเวลาที่ต้องการหยุด Timer ก็จะ ท�างานให้อัตโนมัติ นอกจากนี้ยังมีระบบ เซ็นเซอร์ที่ช่วยวิเคราะห์ความชื้นในดิน ปริมาณการใช้น�้าของพืช และค�านวณหา ระยะเวลาการปล่อยน�้าที่เหมาะสม และ ยังแสดงรายงานการรดน�้าจากฐานข้อมูล ให้ผู้ใช้ทราบ เพื่อช่วยในการวางแผน ส�ารองน�้าในอนาคต และเพื่อเป็นการยกระดับการพัฒนา ความรู้ของเกษตรกร SP smartplamts ยังอยู่ระหว่างการพัฒนาองค์ความรู้ ทางการเกษตรเพื่อให้เกษตรกรรุ่นใหม่ สามารถค้นหาข้อมูล ความรู้ทางการ “ผมได้รับแรงบันดาลใจในการ พัฒนาระบบการรดน�้าต้นไม้มาจาก เกมส์ปลูกผักเกมส์หนึ่ง ซึ่งในเกมส์เรา สามารถควบคุมการปลูกพืช เก็บเกี่ยว ผลผลิตและส่งขายได้ด้วยตัวเราเอง ทั้งหมด ผมว่ามันน่าจะดีถ้าในชีวิตจริง เราสามารถควบคุมอะไรได้ง่ายเหมือน ในเกมส์ ประกอบกับป้ามีสวนและป้า ให้ไปรดน�้า ผมจึงเกิดแนวคิดที่พัฒนา ระบบรดน�้าต้นไม้ผ่านมือถือ ที่สามารถ น�ามาประยุกต์และใช้งานได้จริง ระบบ รดน�้าต้นไม้มีเซ็นเซอร์ที่สามารถตรวจได้ ว่า น�้าละเหยไปจากพืชมากน้อยแค่ไหน สามารถค�านวณการเพิ่มหรือลดการรดน�้า ต้นไม้ ท�าให้ช่วยประหยัดน�้า การบริหาร จัดการน�้าอย่างเป็นระบบจะช่วยลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการเพาะปลูกให้ ดียิ่งขึ้นด้วย” พิสิฐชัย กล่าวและว่า ระบบ SP smartplants ไม่เพียงช่วย รดน�้าต้นไม้ผ่านอินเทอร์เน็ตและมือถือ แต่ยังมีระบบเซ็นเซอร์ที่ช่วยวัดความชื้น อุณหภูมิ มีข้อมูลพืชกับการใช้น�้า ปัจจัย ที่พืชคลายน�้า ปริมาณน�้าที่เหมาะสมใน SP smartplants ระบบควบคุมการปลูกพืชผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต พิสิฐไชย สุวรรณเรือง ผู้ก่อตั้งและพัฒนาระบบ SPsmartplants เล่าว่า ผลิตภัณฑ์ เอสพีสมาร์ทแพลนท์ (SP smartplants) เป็นระบบควบคุมการปลูกพืชหรือระบบการ รดน�้าต้นไม้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถควบคลุมการจ่ายน�้าให้กับพืชผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เกษตรเพื่อช่วยเพิ่มคุณภาพสินค้าและ ผลผลิตที่มากขึ้นด้วยผ่านโครงการ SP Academy ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่จะ มาถ่ายทอดเกษตรกรและเพื่อเพิ่ม ประสิทธิผลของพืชผลไม้ให้มีมูลค่า เพิ่มขึ้นต่อไปในอนาคต 12Smart Industry พิสิฐไชย สุวรรณเรืองพิสิฐไชย สุวรรณเรือง
  • 13. ทุกอย่าง สามารถเก็บข้อมูลต้นไม้ได้ด้วย นอกจากนี้สมาร์ทฟาร์ม ยังช่วยประหยัด แรงงาน ประหยัดเวลา และในระยะยาว จะท�าให้การปลูกพืชมีความแม่นย�ามาก ขึ้น ข้อมูลที่เก็บไว้สามารถน�ามาช่วย วางแผนการผลิต และสามารถเรียกข้อมูล กลับมาเพื่อช่วยในการวางแผนได้ตลอด เวลา และ ดีว่า ฟาร์มเองในอนาคตจะ เอาข้อมูลมาประมวลผลในแต่ละช่วงของ การปลูกพืช เช่น ช่วงเจอแมลง ควรจะ ต้องท�าอะไรเพื่อช่วยในการแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นให้ทันท่วงที นอกจากนี้ ดีว่า ฟาร์ม ยังมีแผนที่จะปลูกฮอปส์เพิ่มเป็น 1,400 ต้น คาดว่าจะมีผลผลิตต้นละ 1 กิโลกรัม และสามารถให้ผลผลิต 3 รอบ ต่อต้นต่อปี และ ดีว่า ฟาร์มมีแผนที่จะ ส่งผลผลิตขายทั้งในและต่างประเทศใน ภูมิภาคแถบเอเชียนี้ด้วยในอนาคต “เดือน ตุลาคม 2558 ผมเริ่มที่จะ ท�าฟาร์มฮอปส์จริงจัง และเป็นฟาร์ม ฮอปส์แห่งแรกในประเทศไทย ที่มีการ พัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์มมาช่วยในการ เพิ่มประสิทธิภาพในการปลูกมากยิ่งขึ้น เพื่อช่วยในการควบคุมปุ๋ยไปตามท่อ ส่ง ความชื้นตามท่อ ฉีดหมอกเพื่อระบาย ความร้อน วัดความร้อนแสงแดด วัดแรง ลม และวัดอุณหภูมิ ด้วยระบบ Weather station” ณัฐชัย กล่าวและว่า ในตอนแรกดีว่า ฟาร์ม ได้เริ่มปลูก ฟาร์มฮอปส์ (Hops) ที่ 10 ต้น จนถึง ปัจจุบันฟาร์ม ฮอปส์ มีจ�านวนกว่า 200 ต้นใน 5 โรงเรือน มีผลผลิตต้นละ 1 กิโลกรัม “การปลูกพืช ปลูกปรกติถ้าไม่ใช้ สมาร์ทฟาร์ม พืชจะโตช้า เมื่อมีระบบ สมาร์ทฟาร์มมาช่วยจะท�าให้สามารถช่วย ให้พืชมีการเติบโตที่ดีขึ้น ช่วยลดการท�า งานซ�้าๆ เช่นการรดน�้าต้นไม้ ท�าให้มีเวลา แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้เร็วขึ้น เช่น โรคพืช แมลง ซึ่งต้องดูทุกวัน และจะ เก็บข้อมูลทั้งหมดทุกวัน เพื่อให้สามารถ รับมือกับปัญหาได้แม่นย�ามากขึ้น เทคโนโลยี ยังช่วยให้เราโฟกัส ในส่วนที่ ท�าออโตเมติกได้มากขึ้น” ณัฐชัย กล่าว เขาเล่าว่า เทคโนโลยีมีความจ�าเป็น อีกหลายอย่าง เนื่องจากเทคโนโลยีช่วย ในการหาข้อมูล เมื่อก่อนข้อมูลอาจจะ น้อย พอปัจจุบันเขาสามารถหาข้อมูลได้ ดีว่า ฟาร์ม พัฒนาระบบ สมาร์ทฟาร์มมอร์นิเตอร์ริ่งรองรับ การผลิตฟาร์มฮอปส์ แห่งแรกของไทย “เมื่อ 14 ปีที่ผ่านมา หลังจากจบ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ก็มีเพื่อนชวนเปิดบริษัท โดยในช่วงแรกพัฒนาซอฟต์แวร์และ แออลิเคชั่นระบบภาษาไทยส�าหรับมือถือ ให้โนเกีย และพัฒนาระบบภาษาไทยให้ เอชพี รวมถึงพัฒนาโปรแกรมส่งข้อความ (Short messaging system หรือ SMS) และเมื่อ 3 ปีที่ผ่านมาผมสนใจการปลูก ผักไฮโดรโปนิกส์ จึงได้พัฒนาระบบ สมาร์ทฟาร์ม มอร์นิเตอร์ริ่งขึ้นมารองรับ การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์และผักสวน ครัว” ณัฐชัย กล่าว ระบบสมาร์ทฟาร์ม มอร์นิเตอร์ริ่ง (Smart farm monitoring) เป็นระบบ ที่ช่วยวัดปริมาณน�้า วัดค่าความเข้มข้น ของปุ๋ย ค่า PH ของน�้า วัดอุณหภูมิน�้า ความเร็วลม พยากรณ์อากาศ ความร้อน และความชื้น ซึ่งมีผลต่อการเติบโตของ พืช จากการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์และ พืชผักสวนครัวโดยใช้ ระบบสมาร์ฟาร์ม มอร์นิเตอร์ริ่งมาช่วยในการบริหารงาน ล่าสุดเมื่อ 1 ปีกว่าที่ผ่านมา ดีว่า ฟาร์ม ได้น�าระบบดังกล่าวมาช่วยในการปลูก ฟาร์มฮอปส์ (Hops) ซึ่งเป็นพันธุ์ไม้เลื้อย เมืองหนาวชนิดหนึ่งมีใบและดอก ซึ่งดอก ฮอปส์มีคุณสมบัติเป็นเสมือนสารกันบูด จากธรรมชาติ ให้รสขมและกลิ่นที่เฉพาะ ตัว นิยมน�าไปใส่ในคราฟท์เบียร์ ช่วยให้ รสชาติและกลิ่นมีเสน่ห์มากขึ้น จากนักพัฒนาซอฟต์แวร์และแอพพลิเคชั่นระบบภาษาไทยส�าหรับโทรศัพท์มือถือ โนเกีย เมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา ณัฐชัย อึ้งศรีวงศ์ กรรมการผู้จัดการ ดีว่า ฟาร์ม (Deva Farm) ได้ปรับรูปแบบการด�าเนินชีวิตอีกครั้งกับการพัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์ม มอร์นิเตอร์ริ่งส�าหรับปลูกพืช ไฮโดรโปนิกส์และผักสวนครัว อาทิ แตงกวาญี่ปุ่น มะเขือเทศ และเมล่อน เป็นต้น 13Smart Industry ณัฐชัย อึ้งศรีวงศ์ (ขวามือ)
  • 14. 14Smart Industry กิจกรรมสัมมนา “Next Gen Mobile & Mobile World Congress Shanghai 2017” พร้อมประชาสัมพันธ์โครงการสำารวจตลาดไอซีทีจีน ครั้งที่ 3 (Mobile World Congress Shanghai 2017) เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี ส�านักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ โครงการศูนย์ถ่ายทอด เทคโนโลยีไทย-จีน (TCTTC) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดท�าโครงการ ส�ารวจตลาดไอซีทีจีน Exploring China ICT Market ปี 3 ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยจัดสัมมนา “Next Gen Mobile & Mobile World Congress Shanghai 2017” ขึ้นเพื่อ ประชาสัมพันธ์โครงการ ในวันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ นี้ ณ ส�านักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ชั้น 14 อาคารจัตุรัสจามจุรี โดยในงานนี้มี Mr.Leland Lai กรรมการผู้จัดการจาก GSMA Asia มาให้ความรู้และ ข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับงาน Mobile World Congress Shanghai 2017 ซึ่งเป็นงานแสดง สินค้าเกี่ยวกับ Mobile และนวัตกรรมต่างๆ ในระดับโลกที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย คุณวรมน ด�ารงศิลป์สกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านอุตสาหกรรม ICT จีน ที่จะมาให้ข้อมูล overview สตาร์ทอัพจีน แนะน�าบริษัทเป็นกรณีศึกษา การเปลี่ยนผ่านจากแอปสู่ฮาร์ดแวร์ และนโยบาย made in china 2025 พร้อมกับการแชร์ประสบการณ์ส�าหรับผู้ที่เคยเข้าร่วม งานในปีที่ผ่านมาและสิ่งที่ภาครัฐสนันสนุนการออกบูธแสดงสินค้าในงาน Mobile World Congress Shanghai 2017 ซึ่งมีผู้สนใจเข้าร่วมงาน 27 คน 8 กุมภาพันธ์ 2560 ค่ายอาสาพัฒนา Digital Media Challenge เพื่อการท่องเที่ยว วันที่ 9-12 กุมภาพันธ์ 2560 โรงแรมแกรนด์ วิสต้า จังหวัดเชียงราย เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ด�าเนินโครงการส่งเสริมการใช้วิทยาศาสตร์และนวัตกรรม ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยจัดกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา Digital Media Challenge เพื่อการท่องเที่ยว วันที่ 9-12 กุมภาพันธ์ 2560 ณ โรงแรมแกรนด์ วิสต้า จ.เชียงราย 9-12 กุมภาพันธ์ 2560 7 มหาวิทยาลัย 10 ทีม 46 คน หน่วยงานพันธมิตร กิจกรรมโครงการฝึกอบรมผู้ประกอบการสินค้าผ้าฝ้าย ตำาบลแม่แรงสนับสนุน โดยโครงการนำาร่องพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการท้องถิ่นไทยด้วยเทคโนโลยี 4.0 ทางเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ เทศบาล ต�าบลแม่แรง อ�าเภอป่าซาง จังหวัดล�าพูน ได้จัดท�าโครงการน�าร่องพัฒนา ศักยภาพผู้ประกอบการท้องถิ่นไทยด้วยเทคโนโลยี 4.0 วันที่ 23-24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 9.00-17.30 น. ณ วิทยาลัยการอาชีพป่าซาง อ�าเภอป่าซาง จังหวัด ล�าพูน โดยในวันแรกมีกิจกรรมสัมมนาให้ความรู้กับผู้ประกอบการท้องถิ่นเกี่ยวกับ การท�า e-catalogue โดยมีผู้เข้าร่วม 29 คน จากตัวแทนกลุ่มหมู่บ้าน 11 หมู่ เกิดผลงานการท�า e-catalogue ที่สมบูรณ์ จ�านวน 17 ชุด 23 กุมภาพันธ์ 2560 โดยกิจกรรมวันที่สองในช่วงเช้าจะเป็นการให้ความรู้ในเรื่องการวางแผนสินค้า Branding และในช่วงบ่ายจะเป็น การท�าการตลาดออนไลน์โดยใช้ Social Media และให้ค�าปรึกษาเป็น case by case โดยมีผู้เข้าร่วม 29 คน จากตัวแทน กลุ่มหมู่บ้าน 11 หมู่ 24 กุมภาพันธ์ 2560