SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
Baixar para ler offline
ฉบับที่ 25 
Volume 25/2557 
FREE COPY 
16 
โรงแรม อ่าวนาง ปริ๊นซ์วิลล์ 
รีสอร์ท ใช้ซอฟต์แวร์ โฟร์ลีฟ 
อำ�นวยความสะดวกนักท่องเที่ยว 
08 
บัซซี่บีส์ ส่งซีอาร์เอ็ม 
แพลตฟอร์ม 
บนโมบายน์ช่วยเพิ่มศักยภาพธุรกิจ 
15 
โฟร์ลีฟ ไอบัทเลอร์ 
ซอฟต์แวร์ ที่ช่วยอำTนวย 
ความสะดวกสำTหรับนักท่องเที่ยว 
ซีอาร์เอ็ม 
ช่องทางสร้างความมั่นคงให้กับธุรกิจ
Smart Industry 2 
โซเชียลซีอาร์เอ็ม >> 3 
คำ�ตอบสำ�หรับธุรกิจ 
ยุคดิจิตอล 
ซีอาร์เอ็ม >> 4 
ช่องทางสร้างความมั่นคง 
ให้กับธุรกิจ 
บัซซี่บีส์ ส่งซีอาร์เอ็ม >> 8 
แพลตฟอร์ม 
บนโมบายน์ช่วยเพิ่มศักยภาพธุรกิจ 
อีเอสเซส พัฒนาระบบ >> 9 
Sales Vision 
รองรับธุรกิจขนาดกลาง 
จนถึงขนาดใหญ่ 
อีคาร์ทสตูดิโอ >> 10 
ส่ง Zoclose ช่วยเพิ่มศักยภาพ 
การค้นหา 
ปตท. ใช้บริการ >> 11 
บัซซี่บีส์ 
บริหารงานระบบซีอาร์เอ็ม 
ดาต้าวัน เอเชีย >> 12 
ใช้ SalesVision 
เสริมทัพบริการซ่อมตู้เอทีเอ็ม 
บริหารสต็อกสินค้า 
เอ ไอ ซิสเต็ม >> 13 
ส่งซอฟต์แวร์ Ai-CRM Enterprise 
System ช่วยเสริมทัพเอสเอ็มอี 
กิจกรรมของ >> 14 
ซอฟต์แวร์พาร์ค 
โฟร์ลีฟ ไอบัทเลอร์ >> 15 
ซอฟต์แวร์ 
ที่ช่วยอำ�นวยความสะดวก 
สำ�หรับนักท่องเที่ยว 
โรงแรม อ่าวนาง ปริ๊นซ์วิลล์ >> 16 
รีสอร์ท ใช้ซอฟต์แวร์ โฟร์ลีฟ 
อำ�นวยความสะดวกนักท่องเที่ยว 
การก้าวสู่การแข่งขันของโลกธุรกิจในปัจจุบัน การสร้างความได้เปรียบ 
ในการแข่งขันทางธุรกิจมีบทบาทที่สlำคัญมากในองค์กรและธุรกิจเพื่อให้ 
ธุรกิจสามารถที่จะอยู่รอดในตลาดได้ 
กองบรรณาธิการ Smart Industry จึงขอนlำเสนอการนlำระบบ 
บริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer Relationship 
Management หรือ CRM) มาใช้ในการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า 
สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ตลอดจนถึง การมีบทบาทและมีส่วนร่วม 
ที่สlำคัญของผู้บริหารจะทlำให้ธุรกิจสามารถประสบความสlำเร็จได้ 
นอกจากนี้ทางกองบรรณาธิการยังได้นlำเสนอการใช้ซอฟต์แวร์ซีอาร์เอ็ม 
ของธุรกิจโรงแรม กับความสlำเร็จในการนlำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 
มาช่วยเสริมสร้างการทlำธุรกิจและการสร้างรายได้ให้กับธุรกิจได้มากยิ่งขึ้น 
และยังได้นlำเสนอการใช้ระบบซีอาร์เอ็มของบริษัท ดาต้าวัน เอเชีย 
(ประเทศไทย) จlำกัด กับการนlำระบบซีอาร์เอ็ม มาช่วยเพิ่มความพึงพอใจ 
ในการให้บริการซ่อมบlำรุงเครื่องเอทีเอ็มกับลูกค้าธนาคาร เป็นต้น 
ดังนั้นด้วยรูปแบบการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง 
จากเดิมและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการรับรู้ 
ข่าวสารรวมถึงการซื้อสินค้าที่มีความแตกต่างกันอย่างมากในปัจจุบัน 
จึงจlำเป็นอย่างยิ่งที่ธุรกิจขนาดกลางและเล็กจะต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดี 
กับลูกค้า เพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาดและสามารถยืนหยัดในธุรกิจของ 
ตนเองได้ในอนาคต 
กองบรรณาธิการ 
จุลสารข่าว Smart Industry จัดทlำโดย เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand) 
ภายใต้สlำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เลขที่ 99/31 อาคาร Software Park 
ถนนแจ้งวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2583-9992 โทรสาร 0-2583-2884 
เว็บไซต์: www.swpark.or.th | www.tmc.nstda.or.th | www.nstda.or.th 
Content 
บทบรรณาธิการ 
สารบัญ
นอกจากนี้ ยังช่วยในการลดต้นทุน 
ในการสรรหา โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ 
ที่มีต้นทุนตl่ำ หรือไม่มีค่าบริการในการ 
ประกาศรับสมัครงานช่วยเพิ่มความร่วม 
มือและเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญในองค์กรต่างๆ 
มากขึ้น ธุรกิจต่างๆ สามารถในการปรับ 
เปลี่ยนผลิตภัณฑ์และบริการของตน 
ตลอดจนมีรูปแบบและกระบวนการ 
ทlำงานที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้รับจาก 
การสังเกตพฤติกรรมของลูกค้า 
นับว่าสื่อสังคมออนไลน์เป็นเครื่องมือ 
ในการบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ที่มีผล 
อย่างมากในการดlำเนินธุรกิจ เนื่องจาก 
บริษัทต่างๆ ที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ จะ 
สามารถสื่อสารกับผู้บริโภคได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพ และมีอิทธิพลต่อผู้บริโภค 
มากยิ่งขึ้นซึ่งผลให้ธุรกิจมีรายได้จากการ 
ซื้อของผู้บริโภคได้มากขึ้น 
สื่อสังคมออนไลน์หรือโซเชียล มีเดีย 
ยังทlำให้ธุรกิจสามารถรวบรวมแนวคิดใหม่ๆ 
จากสมาชิกในชุมชนออนไลน์ ซึ่งเป็นทั้ง 
ลูกค้าเดิมและลูกค้าเป้าหมาย สามารถ 
ทlำให้ธุรกิจได้เข้าถึงกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม 
อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มขีดความสามารถ 
ในการใช้ความรู้และเจาะหาและรวบรวม 
สร้างช่องทางใหม่ๆ ทางด้านการตลาด 
และการจัดจlำหน่าย เช่น ทวิตเตอร์ 
เฟซบุ๊ค และอีเบย์ เป็นต้น 
สlำหรับตลาดอีเบย์ ผู้ซื้อผู้ขายบน 
อีเบย์ที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ร่วมด้วย มี 
ระดับการใช้จ่ายมากกว่าผู้ซื้อผู้ขายทั่วไป 
ถึงร้อยละ 54 ขณะที่การจัดแคมเปญแจก 
คูปองส่วนลดบนทวิตเตอร์ทlำให้เดลล์มี 
ยอดขายเพิ่มขึ้น 6.5 ล้านดอลลาร์ นับว่า 
สื่อสังคมออนไลน์มีบทบาทอย่างมาก 
ในการช่วยในการพัฒนาธุรกิจและการมี 
ส่วนร่วมในการเข้าถึงลูกค้าในรูปแบบของ 
โซเชียล ซีอาร์เอ็มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
Smart Industry 3 
โซเชียล 
ซีอาร์เอ็ม 
คำ�ตอบสำ�หรับธุรกิจ 
ยุคดิจิตอล 
การเข้ามาของเทคโนโลยีสารสนเทศไม่เพียงมีบทบาทสlำคัญในการช่วยให้ธุรกิจ 
สามารถดlำเนินงานได้อย่างสะดวกรวดเร็วและมีความคล่องตัวในการดlำเนินงานอย่าง 
ต่อเนื่อง แต่ในปัจจุบันการเข้ามาของโซเชียลมีเดีย (Social Media) หรือสื่อสังคม 
ออนไลน์นับว่ามีส่วนสlำคัญอย่างมากในการช่วยเพิ่มยอดขายและเพิ่มการเข้าถึง 
กลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น และ โซเซียล ซีอาร์เอ็ม (Social customer relationship 
management หรือ Social CRM) ช่วยในการบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สามารถ 
ช่วยเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจในปัจจุบันและต่อยอดธุรกิจในอนาคตได้ 
ร้อยละ 9.1 และกิจกรรมทั่วไป เช่น อีเมล์ 
และเสิร์ช ซึ่งกินเวลาร้อยละ 4.1 ตาม 
ลlำดับ นอกจากนี้ ผลการศึกษาของ 
ดีอีไอ (DEI) ยังรายงานว่า ผู้บริโภค 
ร้อยละ 70 ทั่วโลก ใช้สื่อสังคมออนไลน์ 
รับข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทผลิตภัณฑ์ หรือ 
แบรนด์สินค้า 
“สื่อสังคมออนไลน์ เป็นแพลตฟอร์ม 
ที่มีการพัฒนาต่อยอดมาจากวิธีการแลก 
เปลี่ยนข้อมูล เรื่องราว และสิ่งต่างๆ มา 
เป็นเครือข่ายจlำเป็นในชีวิตประจlำวันของ 
ผู้บริโภค และยังได้เปิดโอกาสใหม่ๆ ที่ 
หลากหลายในการสร้างคุณค่าให้แก่ธุรกิจ” 
นอกจากนี้โซเชียล มีเดีย สามารถ 
ทlำให้ธุรกิจได้เข้าถึงกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม 
อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มขีดความสามารถ 
ในการใช้ความรู้และเจาะหาและรวบรวม 
สร้างช่องทางใหม่ๆ ทางด้าน การตลาด 
และการจัดจlำหน่าย เช่น ทวิตเตอร์ 
เฟซบุ๊ค ฯลฯ 
ขณะเดียวกัน สื่อสังคม ออนไลน์ 
ยังก่อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ตามความ 
ต้องการของลูกค้า สามารถขยายการ 
ปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าได้ทั้งในเชิงลึกและ 
ระดับกว้าง เพิ่มโอกาสในการนlำเสนอ 
ผลิตภัณฑ์ และบริการที่ตรงตามลักษณะ 
เฉพาะ และความเป็นตนเองของผู้บริโภค 
มากขึ้น ทั้งยังเข้าถึงผู้ที่มีคุณสมบัติ 
เหมาะสมได้มากขึ้นด้วย 
การเข้าถึงลูกค้ากลุ่มเป้าหมายโดย 
ใช้ Social CRM คือ หลักการและกลยุทธ์ 
ทางธุรกิจที่ธุรกิจหรือแบรนด์สามารถใช้ 
ดูแลกลุ่มลูกค้าด้วย Social Technology 
โดยมี รูปแบบต่างๆ ของการใช้ Social 
Media สlำหรับซีอาร์เอ็ม คือ 1. ใช้ใน 
การรับ Feedback หรือการเสนอความ 
คิดเห็นต่างๆ 2. ใช้ในการให้บริการลูกค้า 
เชิงรุก หรือ Active Customer Service 
3. ใช้ในการให้บริการแบบ 1 ต่อ 1 หรือ 
Customization and Personalization คือ 
การให้บริการที่ตอบสนองความต้องการ 
ของแต่ละบุคคลสามารถทlำได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพผ่านทางการค้าออนไลน์ 
4. ใช้ใน การสร้าง loyalty program 
สlำหรับลูกค้า เช่น Facebook Group 
เชิญลูกค้าแต่ละคนโดยเฉพาะเจาะจงให้ 
เข้ามาเป็นสมาชิก ทlำให้ลูกค้าเกิดความ 
ภูมิใจในสินค้าหรือแบรนด์นั้น 
โซเชียล เน็ตเวิร์ค ที่กlำลังเข้ามา 
มีบทบาทในโลกของธุรกิจ จากการศึกษา 
วิจัย ที่ศึกษาโดยคอมสกอร์ (ComScore) 
เกี่ยวกับเวลาที่ใช้ในการท่องโลก 
อินเทอร์เน็ตของผู้บริโภคชาวเอเชีย พบว่า 
ชุมชนออนไลน์ยอดนิยมอย่างเฟซบุ๊ค 
ทวิตเตอร์ เฟรนด์สเตอร์ และมายสเปซ 
ติดอันดับสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 9.5 ของ 
เวลาที่ใช้ท่องเน็ตทั้งหมด ตามมาด้วย 
เว็บไซต์กลุ่มรายการบันเทิง คิดเป็น
ซีอาร์เอ็ม 
ช่องทางสร้างความมั่นคงให้กับธุรกิจ 
ในยุคโลกาภิวัฒน์การทlำธุรกิจผ่านหน้าร้านหรือร้านค้าเพียงอย่างเดียวไม่อาจจะ 
เพียงพอในการแข่งขันทางธุรกิจเนื่องจากการเข้ามาของข้อมูลข่าวสารเทคโนโนโลยี 
สารสนเทศ (ไอที) ทlำให้การเขัาถึงข้อมูลข่าวสารของผู้บริโภคทlำได้ง่ายขึ้น ขณะเดียวกัน 
เทคโนโลยีสารสนเทศยังทlำให้ธุรกิจยังสามารถมีช่องทางในการเสนอข้อมูลถึงมือผู้บริโภค 
ได้สะดวกรวดเร็วได้มากขึ้นเช่นกัน 
Smart Industry 4 
อย่างไรที่จะทlำให้สามารถบริการลูกค้า 
ได้ตรงกับความต้องการของลูกค้าหรือ 
การเข้าใจลูกค้าว่าลูกค้าชอบอะไร หรือ 
กลุ่มเป้าหมายนี้ชอบอะไร 
สlำหรับในส่วนของการขาย ระบบ 
ซีอาร์เอ็ม จะเข้ามามีบทบาทในการตอบ 
โจทย์ ทางธุรกิจว่า ทlำอย่างไรที่ลูกค้า 
จะมีการซื้อสินค้าและบริการ ทั้งในรูป 
แบบของ การซื้อต่อเนื่อง (Cross Selling) 
และมีการซื้อสินค้าและบริการแบบต่อยอด 
(Up Selling) เพื่อที่จะทlำให้สามารถจะ 
ขายสินค้าและบริการได้มากขึ้น 
มีการซื้อสินค้าและบริการ ทั้งในรูปแบบ 
ของ การซื้อต่อเนื่อง (Cross Selling) และ 
มีการซื้อสินค้าและบริการแบบต่อยอด 
(Up Selling) ในส่วนขององค์กรขนาดใหญ่ 
อาทิ ธุรกิจค้าปลีก ธนาคาร สายการบิน 
ร้านอาหาร และธุรกิจประกันเริ่มตระหนัก 
และเริ่มลงทุนด้าน ซีอาร์เอ็ม ทั้งซอฟต์แวร์ 
ทั้งด้านไอทีที่เกี่ยวข้อง คน และเจ้าหน้าที่ 
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของธุรกิจ รวมถึง 
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า สร้าง 
ความจงรักภักดีกับลูกค้า (Loyalty) 
อย่างไรก็ตามภายใต้แนวคิดของ 
ซีอาร์เอ็ม สามารถแบ่งเป็น 2 ส่วนที่ 
สlำคัญประกอบด้วย ส่วนบริการ 
(services) และส่วนการขาย (sale) ใน 
ส่วนของการบริการ ธุรกิจจะนlำซีอาร์เอ็ม 
มาช่วยตอบโจทย์ของธุรกิจว่าจะทlำ 
เฉลิมพล ปุณโณทก 
การนlำระบบบริหารจัดการลูกค้า 
สัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer 
Relationship Management หรือ CRM) 
เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ธุรกิจหรือบริษัทนlำมา 
เป็นเครื่องมือทางธรุกิจเพื่อเพิ่มศักษภาพ 
ด้านยอดขาย เพิ่มรายได้และสามารถ 
เข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภคได้ง่ายขึ้น 
เพื่อให้ธุรกิจสามารถผลิตสินค้าและ 
นlำเสนอบริการได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย 
มากที่สุด 
เฉลิมพล ปุณโณทก ประธาน 
เจ้าหน้าที่บริหารบริษัท ซีที เอเชีย จlำกัด 
เล่าว่า ซีอาร์เอ็มเริ่มเข้ามาในประเทศไทย 
กว่า 10 ปีที่ผ่านมา โดยระบบซีอาร์เอ็ม 
เป็นความผูกความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจ 
กับลูกค้า เพื่อให้ธุรกิจเข้าใจลูกค้า รวมถึง 
การขยายผลทางด้านการขาย เพื่อให้ลูกค้า
Smart Industry 5 
ผู้บริหาร กับบทบาทสlำคัญในการใช้ 
ซีอาร์เอ็มในองค์กรธุรกิจ 
เฉลิมพล เล่าว่า การนlำระบบ 
ซีอาร์เอ็มมาใช้ในวงการธุรกิจ จะต้อง 
ได้รับความเอาใจใส่และเอาจริงเอาจัง 
ในการนlำระบบซีอาร์เอ็มมาใช้ในองค์กร 
ธุรกิจ เนื่องจาก การนlำระบบซีอาร์เอ็ม 
มาใช้ไม่ใช่เพียงแค่การนlำระบบซีอาร์เอ็ม 
มาติดตั้ง (Implement) เท่านั้น หากแต่ 
ผู้บริหารจะต้องได้รับความสนใจ ใส่ใจ 
และการเอาจริงเอาจังจากผู้บริหารระดับ 
สูงในการนlำระบบซีอาร์เอ็มมาช่วยในการ 
เพิ่มประสิทธิภาพทางธุรกิจขององค์กรด้วย 
“ผมมองว่า การนlำระบบซีอาร์เอ็ม 
มาติดตั้งในองค์กร เพียงอย่างเดียวไม่ 
สามารถที่จะบอกได้ว่าธุรกิจของคุณสlำเร็จ 
แล้ว แต่ผู้บริหารระดับสูงจะต้องให้ความ 
เอาใจใส่และจริงจังกับการนlำระบบซีอาร์ 
เอ็มมาใช้กับองค์กรและธุรกิจตั้งแต่ระดับ 
บนจนถึงระดับล่างจึงจะทlำให้สามารถ 
เสนอสินค้าและทlำการตลาดในรูปแบบ 
ของ cross sale และ up sale กับลูกค้า 
ได้มากขึ้น เนื่องจาก การเก็บข้อมูลใน 
ฐานข้อมูลลูกค้าซีอาร์เอ็มทlำให้เรียนรู้ 
พฤติกรรมของลูกค้าได้มากขึ้น” เฉลิมพล 
กล่าวและว่า 
ดังนั้นผู้บริหารต้องมีความมุ่งมั่นใน 
การนlำระบบซีอาร์เอ็มมาใช้ในองค์กรและ 
ธุรกิจและมีฝ่ายที่จะสร้างความประทับใจ 
ให้กับลูกค้าในองค์กร มีการกlำหนด 
เป้าหมาย ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 อย่างไร 
และนlำเอาซอฟต์แวร์มาช่วยทlำให้ก้าว 
เข้าสู่เป้าหมายที่วางไว้ เช่น ในปีนี้บริษัท 
มีเป้าหมายว่าจะต้องรักษาฐานลูกค้าของ 
ตนเองไม่ให้เปลี่ยนใจไปใช้สินค้าหรือ 
บริการคู่แข่ง หรือ มีลูกค้า 100 คน 
องค์กรหรือธุรกิจ มีเป้าหมายที่จะสูญเสีย 
ลูกค้าไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ เป็นต้น แล้ว 
ค่อยแต่งตั้งแผนกขึ้นมารับผิดชอบเพื่อ 
ที่จะทlำอย่างไรเพื่อรักษาฐานลูกค้าให้ได้ 
100 เปอร์เซ็นต์ เหมือนเดิม เป็นต้น 
อย่างไรก็ตาม ธุรกิจขนาดกลาง 
และเล็ก หรือเอสเอ็มอี ยังเป็นกลุ่มธุรกิจ 
ที่มีศักยภาพในการนlำระบบซีอาร์เอ็ม 
มาช่วยในการเพิ่มยอดขาย เนื่องจากการ 
เข้ามาของโซเซียลมีเดีย และโมบายน์ 
แอพพลิเคชั่น ทlำให้เอสเอ็มสามารถ 
เข้าถึงลูกค้าได้ง่ายขึ้น ทlำให้ นิยามของ 
ซีอาร์เอ็ม ถูกแปรรูปไปในเรื่องของ 
แฟนเพจ เฟชบุ๊ก ทวิตเตอร์ มากขึ้น 
เอสเอ็มอี หน่วยงานธุรกิจและองค์กร 
มีการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าผ่าน 
โซเชียลมีเดียมากขึ้น ทlำให้เข้าใจลูกค้า 
ผ่านโซเชียลมีเดียมากขึ้นเพื่อการรับรู้ 
และเข้าใจ พฤติกรรมความชอบต่างๆ 
ของลูกค้า 
เฉลิมพล เล่าว่า การที่จะประสบ 
ความสlำเร็จในการนlำระบบซีอาร์เอ็มมา 
ใช้จะต้องมีการใช้งานของ คอล เซ็นเตอร์ 
(Call Center) หรือ คอนแทค เซ็นเตอร์ 
(Contact Center) ซึ่งเปรียบเสมือนระบบ 
ประสาทสัมผัสรับรู้สื่อสารทุกช่องทาง 
ควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้เป็นช่องทางใน 
การเพิ่มศักยภาพในการติดต่อสื่อสารกับ 
ลูกค้า 
“ถ้าทlำแต่ซีอาร์เอ็ม ไม่ทlำประสาท 
สัมผัสรับรู้สื่อสารทุกช่องทาง ก็เหมือนกับ 
ขาดช่องทางในการปฎิสัมพันธ์กับผู้บริโภค 
อย่างมีประสิทธิภาพ ฝั่งคอนแทค 
เซ็นต์เตอร์ อาทิ องค์กรขนาดใหญ่ เช่น 
ธนาคาร บริษัทประกัน ที่มีจุดสัมผัส 
เยอะๆ อีเมล์ ตู้เอทีเอ็ม สาขา ควรจะ 
รวมรูปแบบการติดต่อสื่อสารเข้ามารวม 
กันทั้งหมด (Integrate) กันทั้งหมด เพื่อ
RELATIONSHIP 
นาวิก นlำเสียง 
Smart Industry 6 
จะเป็นการนlำเสนอราคาที่ตl่ำกว่าหรือ 
บริการที่เหนือกว่าแก่ลูกค้า หากองค์กร 
หรือธุรกิจสามารถรักษาฐานลูกค้าเดิมได้ 
ก็จะลดค่าใช้จ่ายในการหาลูกค้าใหม่มา 
ชดเชยได้ ดังนั้นธุรกิจควรจะมีเครื่องมือ 
ในการเตือนให้รู้ตัวก่อนว่าลูกค้ากlำลังจะ 
เปลี่ยนใจไปหาคู่แข่งแล้ว ด้วยความคาด 
หวังของลูกค้าที่สูงขึ้น บ่อยครั้งที่ลูกค้ามี 
ความต้องการมากกว่าที่คาดหวังจากผู้ให้ 
บริการและผู้ให้บริการจะต้องตอบสนอง 
ความต้องการเหล่านั้นได้อย่างรวดเร็ว 
และแม่นยlำ ดังนั้น องค์กรหรือธุรกิจที่ 
ไม่รู้จักลูกค้าของตนเอง ก็มีโอกาสที่จะ 
เสียลูกค้าไปได้ 
นอกจากนี้ความก้าวหน้าทาง 
เทคโนโลยี ทlำให้ธุรกิจสามารถเลือกวิธี 
การตอบสนองลูกค้าแต่ละรายได้อย่าง 
รวดเร็วและถูกต้อง เทคโนโลยียังเพิ่มช่อง 
ทางการติดต่อสื่อสารได้มากขึ้น อีกทั้ง 
สามารถลดค่าใช้จ่ายได้อีกด้วย เช่น 
การใช้เว็บไซต์เพื่อตอบปัญหาลูกค้าแทน 
พนักงานคอลล์เซ็นเตอร์ เป็นต้น 
ซีอาร์เอ็ม กับการเติบโตของตลาดอย่าง 
ต่อเนื่อง 
ในภาพรวมของธุรกิจซีอาร์เอ็ม ใน 
แต่ละปีจะมีการเติบโตอย่างต่อเนื่องปีละ 
การเชื่อมโยงของข้อมูลกันมากขึ้น” 
เฉลิมพล กล่าว 
ซีอาร์เอ็ม กับกลไกสร้างความสัมพันธ์กับ 
ลูกค้า 
นาวิก นlำเสียง กรรมการผู้จัดการ 
บริษัท ซันเด โซลูชันส์ จlำกัด เล่าว่า 
ซีอาร์เอ็ม เป็นกลยุทธ์ทางธุรกิจที่ว่าด้วย 
ขบวนการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า 
เพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้าและ 
ต้องสร้างรายได้และกlำไรสูงสุดให้กับ 
องค์กรด้วย กลยุทธ์การบริหารความ 
สัมพันธ์กับลูกค้านั้นมีมานานแล้ว เพียง 
แต่ว่าด้วยเทคโนโลยีปัจจุบันจึงทlำให้ 
บทบาทของกลยุทธ์การบริหารความ 
สัมพันธ์กับลูกค้ามีความสlำคัญมากขึ้น 
และกลายเป็นสิ่งที่จlำเป็นต่อการดlำเนิน 
ธุรกิจ 
นาวิก เล่าว่า ด้วยการการแข่งขัน 
ทางธุรกิจที่สูงขึ้น ธุรกิจต้องมีความ 
รวดเร็วในการปรับองค์กรและกลยุทธ์ให้ 
ตามและนlำคู่แข่งได้ ต้นทุนที่สูงขึ้นในการ 
หาลูกค้าใหม่ งานวิจัยได้ระบุว่าต้นทุนใน 
การหาลูกค้าใหม่นั้นประมาณห้าเท่าของ 
ต้นทุนในการรักษาไว้ซึ่งลูกค้าเดิม ดังนั้น 
ด้วยการแข่งขันที่รุนแรง คู่แข่งมักจะใช้ 
กลยุทธ์ในการดึงลูกค้าเดิมเสมอ ไม่ว่า 
CRM 
เชื่อมโยงสิ่งเหล่านั้นทั้งหมด เพื่อให้ 
องค์กร หรือธุรกิจเข้าใจว่าลูกค้า มา 
ติดต่อเราที่จุดนี้และสามารถประสานงาน 
ได้ โดยไม่ติดขัด เพื่อประโยชน์ของการ 
ขายเป็นจุดที่เก็บความสนใจของลูกค้า 
ที่ผ่านมาทุกจุดซึ่งจะสลายกlำแพงระหว่าง 
ช่องทางการสื่อสารแต่ละจุดมาเชื่อมโยง 
กัน และยังสลายพรมแดน เพื่อก่อให้เกิด 
จุดสัมผัสมากขึ้น เพื่อสลายกlำแพงในการ 
ติตต่อข้อมูล ทlำให้เข้าถึงลูกค้ามากขึ้น 
ทlำให้เกิดประโยชน์ ลูกค้าพึงพอใจในการ 
บริการมากขึ้น ช่วยเพิ่มยอดขาย ทlำให้ 
ต้นทุนถูกลง เพราะว่า สื่อโซเชียลมีเดีย 
ไม่มีต้นทุน ทlำให้เสียค่าใช้จ่ายในการ 
บริหารงานถูกลง เนื่องจากสามารถใช้ 
สิ่งที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกันมากขึ้นประสาน 
เพื่อบริการลูกค้าได้ดีขึ้น ทlำให้เกิด 
ประสิทธิภาพการทlำงานมากขึ้นกว่า 
2 เท่า เพราะปลดลอ็กการทlำงานเพือ่เพิม่ 
ศักยภาพการทlำงานของธุรกิจที่มี
Smart Industry 7 
ประมาณ 10-15 เปอร์เซ็นต์ สlำหรับใน 
ประเทศไทย คาดว่าตลาดซอฟต์แวร์ 
ซีอาร์เอ็มจะมีมูลค่าประมาณ 3,000 ล้าน 
บาท เนื่องจากตลาดซอฟต์แวร์ซีอาร์เอ็ม 
ในประเทศไทย ยังมีการเติบโตของตลาด 
คอล เซ็นเตอร์ (Call Center) ซึ่งเป็นฐาน 
ของตลาดซีอาร์เอ็ม 
นอกจากนี้โซเชียลมีเดีย และ 
ดิจิตอล มาร์เก็ตติ้ง ที่ธุรกิจนlำมาใช้ร่วม 
กับซอฟต์แวร์ ซีอาร์เอ็ม เพื่อเป็นกลยุทธ์ 
ในการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า 
โดยที่เราจะทlำอย่างไรจะช่วยปรับปรุง 
กระบวนการในองค์กรให้ดีมากขึ้น ไม่ว่า 
จะเป็นเรื่องของการขาย การตลาด และ 
การบริการ โดยมุ่งหวังให้ลูกค้าเกิดความ 
พึงพอใจสูง สุด และองค์กรก็ได้รับกlำไร 
แบบยั่งยืนด้วยเช่นกัน 
นาวิก กล่าวต่อว่า ปัจจุบัน ประเทศ 
ไทยได้ผ่านยุคแรกของซีอาร์เอ็มมาแล้ว 
และปัจจุบันกlำลังเริ่มเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ 
ยุคที่สอง ของซีอาร์เอ็มโดยธุรกิจจะมี 
เครื่องมือที่จะไปเชื่อมต่อกับภายนอกมาก 
ขึ้น เช่น โซเชียลมีเดีย ลูกค้ามีการโพส 
ข้อความ ความคิดเห็นต่างๆ องค์กรและ 
ธุรกิจสามารถที่จะนlำข้อความต่างๆ มา 
เชื่อมต่อกับระบบซีอาร์เอ็ม และสามารถ 
รู้ได้ว่า พฤติกรรมของลูกค้าเป็นอย่างไร 
จะขายสินค้าและบริการอย่างไรที่จะช่วย 
เพิ่มบทบาทและเป็นช่องทางในการติดต่อ 
กับลูกค้าได้มากขึ้น 
“สมัยก่อนซีอาร์เอ็มในช่วงแรก 
องค์กรหรือธุรกิจมีช่องทางในการติดต่อ 
กับลูกค้าผ่าน คอล เซ็นเตอร์ (Call 
Center) อีเมล์ (E-mail) และส่งเอสเอ็ม 
เอส (Short Message Service หรือ SMS) 
เป็นต้น ผมมองว่าซีอาร์เอ็ม มีความ 
สlำคัญในทุกจุด แต่อยู่ที่ว่าธุรกิจไหน 
จะเน้นและให้ความสlำคัญกับอะไร เช่น 
ธุรกิจรีเทล จะมีระบบสมาชิก คะแนน 
สะสมแต้ม มีความต้องการอะไรบ้าง และ 
ยอดขายว่าลูกค้าต้องการซื้อสินค้าและ 
มีพฤติกรรมในการซื้อสินค้าอะไรบ้าง 
เป็นต้น หรือธุรกิจ Manufacturing จะ 
ทlำอย่างไรที่จะไปขายของ ให้กับลูกค้า 
ใหม่และสามารถปิดการขายได้ เน้นการ 
ขายส่ง หรือธุรกิจประกันจะเรียกคอล 
เซ็นเตอร์จะมีการคีย์ข้อมูลเข้าสู่ระบบ 
เช่น การเคลมประกัน” นาวิก กล่าวและว่า 
ซีอาร์เอ็ม เป็นกลยุทธ์ที่มีความสlำคัญ 
ในการทlำธุรกิจ ทlำให้เกิดประสิทธิภาพ 
สูงสุด และมีความพึงพอใจสูงสุด ในด้าน 
การลงทุน เช่น การนlำเสนอสินค้าให้กับ 
ลูกค้า ซีอาร์เอ็ม ก็สามารถช่วยได้ การขาย 
การตลาด ซอีารเ์อม็จะเกบ็ขอ้มลูลกูคา้ 
จะเก็บข้อมูลทรานเซกชั่น พฤติกรรมของ 
ลูกค้า ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ สามารถจะนlำมา 
จัดการแบ่งกลุ่มของลูกค้าได้เมื่อได้กลุ่ม 
ของลูกค้า องค์กรหรือธุรกิจจะสามารถ 
นlำเสนอสินค้าและบริการให้กับลูกค้าได้ 
อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะทlำให้ลงทุน 
การตลาดน้อยลงแต่จะได้ประสิทธิภาพ 
มากยิ่งขึ้น 
และปัจจุบันซอฟต์แวร์ซีอาร์เอ็ม 
สามารถเอื้ออlำนวยให้กับธุรกิจเอสเอ็มอี 
ด้วย โดยการให้บริการ คราวน์ ซีอาร์เอ็ม 
(Cloud CRM) หรือ On demand CRM 
ซึ่งลูกค้า ไม่ต้องลงทุนจlำนวนมาก เพียง 
เสียค่าใช้จ่ายเป็นรายเดือนก็จะสามารถใช้ 
ซอฟต์แวร์ที่มี ประสิทธิภาพในการทlำงาน 
เหมือนกับหน่วยงานขนาดใหญ่ โดยมี 
ราคาเริ่มต้นประมาณ 2,000-3,000 บาท 
ต่อเดือน 
ดังนั้นการนlำซอฟต์แวร์ซีอาร์เอ็มมา 
ใช้ในการทlำธุรกิจจึงไม่ใช่เรื่องที่ไกลตัวอีก 
ต่อไป องค์กรหรือธุรกิจที่ต้องการสร้าง 
ความก้าวหน้าให้กับองค์กร หรือธุรกิจที่ 
ทlำอยู่จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้หากคุณ 
ต้องการอยู่รอดในตลาดท่ามกลางการ 
แข่งขันที่รุนแรงในยุคโลกาภิวัฒน์
บัซซี่บีส์ ส่งซีอาร์เอ็ม 
แพลตฟอร์ม 
บนโมบายน์ช่วยเพิ่มศักยภาพธุรกิจ 
จากแรงบันดาลใจในการคิดค้น 
ต้นแบบในการทlำธุรกิจและการติดต่อ 
สื่อสาร ที่ทlำให้ทุกคนสามารถติดต่อ 
ถึงกันได้อย่างง่าย สะดวกและรวดเร็ว 
บริษัท บัซซี่บีส์ จึงได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 2 ปี 
ที่ผ่านมาเพื่อสานต่อเจตนารมณ์ในการ 
พัฒนาแอพพลิเคชั่นที่ร้านค้าและผู้ใช้ 
มือถือสามารถติดต่อถึงกันแค่ปลายนิ้ว 
สัมผัส บริษัทจึงมุ่งเน้นการพัฒนาโมบาย 
น์แอพพลิเคชั่น ภายใต้ชื่อ BUZZEBEES 
หรือ บัซซี่บีส์ ซึ่งจะสามารถช่วยเพิ่ม 
ศักยภาพทางธุรกิจและเพิ่มศักยภาพใน 
การบริหารงานของธุรกิจได้อย่างคล่องตัว 
Smart Industry 8 
ณัฐธิดา สงวนสิน กรรมการ 
ผู้จัดการ บริษัท บัซซี่บีส์ จlำกัด เล่าว่า 
บัซซี่บีส์ เป็นระบบบริหารจัดการลูกค้า 
อัจฉริยะ ที่ผสมผสานระหว่างโซเชียล 
มีเดีย รอยัลตี้โปรแกรม และระบบ 
อีคอมเมิร์สเข้าด้วยกัน ซึ่งมีจุดเด่นที่ 
สามารถใช้งานได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว 
และคุ้มค่าอย่างครบวงจร เหมาะสlำหรับ 
ทุกธุรกิจกรนับตั้งแต่ลูกค้ารายย่อย 
ผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก 
ตลอดจนถึงองค์กรขนาดใหญ่ บัซซี่บีส์ 
โมบายน์แอพพพลิเคชั่นได้แบ่งบริการ 
ออกเป็น 5 หลักประกอบก้วย ระบบ 
ซีอาร์เอ็ม แพลตฟอร์ม (CRM Platform) 
ระบบเอ็ม คอมเมิร์ส แพลตฟอร์ม 
(M-Commerce platform) ออนไลน์ 
มีเดีย (Online media) ออนไลน์ 
เซอร์เวย์ (Online survey) และ บริการ 
ธุรกิจครบวงจร (Corporate fulfillment) 
“เรามีความเชี่ยวชาญในการให้ 
คlำปรึกษาและบริการสlำหรับธุรกิจทุก 
ประเภท ตั้งแต่การทlำโฆษณา แนะนlำ 
สินค้าใหม่ การเปิดร้านค้าออนไลน์ ไป 
จนถึงการส่งมอบสินค้าและบริการให้ 
ถึงมือลูกค้า โดยเราถือคติว่า หากเรา 
สามารถผลักดันส่งเสริมให้คู่ค้าของเราไป 
ถึงเป้าหมายได้ คือความสlำเร็จของเรา” 
กรรมการผู้จัดการ กล่าว 
นอกจากนี้บัซซี่บีส์ ยังเป็นระบบที่ 
ใช้งานบนโทรศัพท์มือถือที่ช่วยอlำนวย 
ความสะดวกในการสร้างร้านค้าและรับ 
สิทธิประโยชน์จากร้านค้าเพียงปลายนิ้ว 
สัมผัส ร้านค้าและเจ้าของสินค้าสามารถ 
ที่จะสร้างสรรรูปแบบการเปิดร้านค้าและ 
การใช้งานต่างๆ ในรูปแบบของตนเองได้ 
ทันที อาทิ สร้างสิทธิพิเศษให้กับลูกค้า 
สร้างความจงรักภักดีในตัวสินค้าหรือ 
โลยัลตี้โปรแกรม การเพิ่มการมีส่วนร่วม 
ของลูกค้า รวมถึงการเพิ่มขึ้นของการ 
ตระหนักรับรู้สินค้า เป็นต้น 
ณัฐธิดา เล่าว่า ปัจจุบัน บัซซี่บีส์ 
มีผู้เข้าใช้งานมากกว่า 3 ล้านคนและให้ 
บริการใน 5 ประเทศ มีพันธมิตรทาง 
ธุรกิจมากกว่า 10 องค์กร อาทิ ปตท. 
ไลน์ ซิงเทล สิงคโปร์ และ ซัมซุงแอฟริกา 
เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีสินค้าและบริการ 
บนแอพพลิเคชั่นของบัซซี่บีส์มากกว่า 
10,000 แคมเปญ มีผู้เข้าเยี่ยมชมมาก 
กว่า 180,000 คนต่อวัน
ประสิทธิภาพในการบริการหลังการขาย 
ให้กับลูกค้า โดยเจ้าหน้าที่บริการสามารถ 
บันทึกปัญหาและบันทึกวิธีการแก้ปัญหา 
นอกจากนี้ยังสามารถนlำมาจัดรวมเป็น 
องค์ความรู้ คlำถามที่พบบ่อยสุด (FAQ) 
สามารถนlำข้อมูลต่างๆ มาวิเคราะห์ เช่น 
จlำนวนชั่วโมงในการบริการ ปัญหาที่ 
พบบ่อย เพื่อให้การบริการในครั้งต่อไป 
สามารถทlำได้รวดเร็วและถูกต้อง เพื่อ 
สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า 
ปัจจุบันบริษัทให้บริการ SalesVision 
CRM ใน 2 รูปแบบ ประกอบด้วยการขาย 
เป็นโซลูชั่น สlำหรับธุรกิจขนาดใหญ่ อาทิ 
บริษัท ดาต้าวัน เอเชีย (ประเทศไทย) 
จlำกัด และบริษัท การบินไทย เป็นต้น 
และการขายในรูปแบบของบริการเช่าใช้ 
(Software as a Service) ผ่านคลาวน์ 
ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระดับ ประกอบด้วย ระดับ 
เบสิค ระดับโปรเฟสชั่นแนล และระดับ 
เอ็นเตอร์ไพร์ส โดยมีราคาเริ่มต้น ที่ 
1,000 1,500 และ 2,000 บาท ตามลlำดับ 
“บริษัทที่ใช้ระบบซีอาร์เอ็มจะเห็นภาพ 
รวมของลูกค้า ยอดขาย และสามารถหา 
กลยุทธ์ว่าจะทlำอย่างไรที่จะทlำให้มียอด 
ขายมากขึ้น และข้อมูลที่มีอยู่สามารถ 
นlำมาวิเคราะห์ข้อมูลได้ เช่น การเปรียบ 
เทียบ ยอดขายในแต่ละไตรมาส เป็นต้น 
ดังนั้นผู้บริหารจlำเป็นจะต้องมีระบบ 
ซีอาร์เอ็มเพื่อเป็นเครื่องมือในการ 
ตอบโจทย์ของธุรกิจ” ศิวนารถ กล่าว 
Smart Industry 9 
อีแอสเซส พัฒนาระบบ 
SalesVision 
รองรับธุรกิจขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ 
จากแรงบันดาลใจที่จะเป็นบริษัทที่พัฒนาซอฟต์แวร์รองรับความต้องการของ 
ลูกค้าที่มีประสิทธิภาพ ศิวนารถ มาสุรางค์ เริ่มเปิดบริษัท อีแอสแซส เมื่อ 10 ปีที่ผ่าน 
มาหลังจากที่ได้สะสมประสบการณ์จากการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่บริษัทเมโทร ซิสเต็มส์ 
(มหาชน) จlำกัด ด้วยการพัฒนาระบบบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม 
(Customer Relationship Management หรือ CRM) ภายใต้ชื่อ SalesVision จนถึง 
ปัจจุบันบริษัท อีเอสเซส สามารถให้บริการระบบซีอาร์เอ็มที่รองรับธุรกิจขนาดกลาง 
และเล็ก ผ่านระบบคลาวน์คอมพิวติ้ง และองค์กรขนาดใหญ่ ซึ่งช่วยเพิ่มศักยภาพ 
ในการดlำเนินธุรกิจในทุกรูปแบบ 
เป็นแห่งแรก 
จนถึงปัจจุบันบริษัทได้พัฒนาระบบ 
SalesVision CRM ที่สามารถรองรับการ 
บริหารงานลูกค้าสัมพันธ์ของธูรกิจตั้งแต่ 
ขนาดกลางและเล็ก จนถึง ธุรกิจขนาด 
ใหญ่ โดยระบบ SalesVision CRM มี 
คุณสมบัติที่ช่วยในการบริหารงานของ 
บริษัทใน 3 ส่วนหลัก ประกอบด้วย 
ระบบจัดการด้านการขาย (Sales Force 
Automation) ระบบจัดการด้านตลาด 
(Marketing Automation) และ ระบบ 
บริการหลังการขาย (Customer Service) 
โดยในส่วนของระบบจัดการด้านการ 
ขาย เป็นระบบสlำหรับเพิ่มประสิทธิภาพ 
ในการขาย ช่วยให้พนักงานขาย ผู้จัดการ 
ฝ่ายการขายสามารถจัดการข้อมูลของ 
ลูกค้า โอกาสในการขาย ใบเสนอราคา 
การประมาณการยอดขายได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพและนlำข้อมูลเหล่านี้มา 
วิเคราะห์และออกรายงานได้ 
ขณะที่ระบบจัดการด้านการตลาด 
เป็นระบบสlำหรับเพิ่มประสิทธิภาพในการ 
ทlำการตลาด โดยเจ้าหน้าที่การตลาด 
สามารถบริหารจัดการข้อมูลเกี่ยวกับการ 
ส่งเสริมการขาย จัดหากลุ่มลูกค้าใหม่ 
บริหารสินค้า กlำหนดราคาสินค้า และนlำ 
ข้อมูลสถิติต่างๆ มาวิเคราะห์เพื่อประเมิน 
ความคุ้มทุน เช่น ผลจากการลงทุน กลุ่ม 
ลูกค้าใหม่จากการจัดรายการส่งเสริมการ 
ขาย การทlำอีเมล์มาร์เก็ตติ้ง ระบบ 
เทเลเซล เป็นต้น และ ระบบบริการ 
หลังการขาย เป็นระบบสlำหรับเพิ่ม 
ศิวนารถ มาสุรางค์ กรรมการ 
ผู้จัดการ บริษัท อีแอสเซส จlำกัด 
เล่าว่า หลังจากเรียนจบคณะวิศวกรรม 
คอมพิวเตอร์ จากสถาบัน เทคโนโลยี 
พระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 
ตนเองได้ทlำงานเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ 
บริษัท เมโทร ซิสเต็มส์ (มหาชน) 
หลังจากนั้น หนึ่งปีจึงได้ออกมาตั้งบริษัท 
เพื่อที่จะเป็นบริษัทคนไทยที่พัฒนา 
ซอฟต์แวร์ที่สามารถรองรับความต้องการ 
ของธุรกิจและมีจุดเด่นที่การใช้งานที่ง่าย 
และประหยัดค่าใช้จ่าย 
อย่างไรก็ตาม ศิวนารถ ยอมรับว่า 
ในช่วงแรกการหาทิศทางของบริษัทยัง 
ไม่มีแนวทางของตนเองมากนัก ประจวบ 
กับในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา การเข้ามาของ 
ซอฟต์แวร์ระบบบริหารจัดการลูกค้า 
สัมพันธ์ หรือระบบซีอาร์เอ็ม เริ่มเข้ามา 
มีบทบาทมากขึ้นในธุรกิจ บริษัทจึงมุ่ง 
เป้าหมายในการพัฒนาระบบ ซีอาร์เอ็ม 
ภายใต้ชื่อ SalesVision CRM 
“ผมเป็นคนชอบพัฒนาโปรแกรม 
มาตั้งแต่เรียน และผมมีความตั้งใจที่จะ 
พัฒนาซอฟต์แวร์ที่ช่วยให้ธุรกิจสามารถ 
ดlำเนินงานได้อย่างสะดวกและสบายใน 
การบริหารงานโดยมีค่าใช้จ่ายทางด้าน 
ไอทีไม่สูงมากนัก” กรรมการผู้จัดการ 
กล่าว 
เมื่อซอฟต์แวร์ซีอาร์เอ็มเริ่มเข้ามา 
ในเมืองไทย จึงได้พัฒนาซอฟต์แวร์ 
ซีอาร์เอ็มเพื่อรองรับระบบการขายของ 
บริษัท เมโทร ซิสเต็มส์ (มหาชน) จlำกัด
อีคาร์ท สตูดิโอ 
ส่ง Zoclose ช่วยเพิ่มศักยภาพการค้นหา 
บริษัท อีคาร์ทสตูดิโอ จlำกัด ก่อตั้งโดยคนรุ่นใหม่ที่มีความชlำนาญในการพัฒนา 
ซอฟต์แวร์ โซลูชั่น และแอพพลิเคชั่นต่างๆ ที่รองรับความต้องการของธุรกิจที่หลาก 
หลาย อาทิ พัฒนาระบบอีคอมเมิร์ส แพลตฟอร์ม เพื่อรองรับผู้ประกอบการที่ต้องการ 
ขายสินค้าผ่านออนไลน์ โซลูชั่น E-Cart insurance solution for Motor โซลูชั่นที่รองรับ 
ธุรกิจประกันภัย รวมถึงระบบ Zoclose ซึ่งเป็นแอพพลิเคชั่นระบบไดเร็กทรอรี่แผนที่ 
ออนไลน์ ที่สามารถค้นหาข้อมูลที่อยู่ในดาต้าเบสได้แบบเรียลไทม์ และสามารถที่จะ 
ค้นหาข้อมูลเป็นหมวดหมู่ เพื่อช่วยเพิ่มความสะดวกรวดเร็วสร้างความพีงพอใจ 
ในการค้นหาข้อมูลของบริษัทและลูกค้า 
Smart Industry 10 
Relationship Management หรือ CRM) 
ภายใต้ชื่อ Zoclose อีกด้วย 
Zoclose เป็นแอพพลิเคชั่นรูปแบบ 
ใหม่ที่เกิดจากการนlำระบบแผนที่ออนไลน์ 
และข้อมูลไลฟ์สไตล์ของผู้ใช้รวมไว้ด้วย 
กัน ซึ่งช่วยให้ค้นหาสถานที่และโปรโมชั่น 
ต่างๆ ได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว โดย 
ผู้ใช้สามารถเลือกแสดงผลการค้นหาได้ 
ทั้งแบบ แผนที่ (Map Mode) หรือรายการ 
(List Mode) ผ่านสมาร์ทโฟนที่ใช้ระบบ 
ปฎิบัติการไอโอเอส และแอนดรอยด์ และ 
บนเว็บไซต์ www.zoclose.com 
สlำหรับการให้บริการนั้น ผู้ใช้ 
บริการสามารถเลือกค้นหาจุดสถานที่ 
ได้ตามประเภทธุรกิจหรือเลือกเจาะจง 
เฉพาะแบรนด์และกลุ่มธุรกิจที่สนใจได้ 
ผ่านเว็บไซต์และมือถือ โดยสามารถ 
ค้นหาข้อมูลใน 3 รูปแบบหลัก ประกอบ 
ด้วย Best of Zoclose, Biz Group และ 
Shopping Area 
โดยในส่วนของ Best of Zoclose 
เป็นการค้นหาข้อมูลตามประเภทธุรกิจ 
ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาสถานที่ที่ 
วุฒิกร มโนมัยวิบูลย์ กรรมการ 
ผู้จัดการ บริษัท อีคาร์ทสตูดิโอ จlำกัด 
เล่าว่า บริษัท อีคาร์ทสตูดิโอ จlำกัด 
ก่อตั้งเมื่อ 10 ปีที่ผ่านมา โดยใน 
ระยะแรกบริษัทได้พัฒนาอี คอมเมิร์ส 
แพลตฟอร์ม ซึ่งเป็นระบบการขายสินค้า 
ผ่านออนไลน์เพื่อรองรับความต้องการ 
ของผู้ประกอบการและธุรกิจที่ต้องการ 
ขายสินค้าผ่านระบบอออนไลน์ หรือ 
ช็อปปิ้งออนไลน์ บริษัทยังได้พัฒนา 
โซลูชั่นเพื่อรองรับธุรกิจอื่นๆ โดยใช้แผนที่ 
ช่วยในการพัฒนาให้ซอฟต์แวร์และโซลูชั่น 
ต่างๆ เพื่อให้สามารถค้นหาข้อมูลได้ง่าย 
ขึ้น สามารถหาตlำแหน่งของสถานที่ที่ตั้ง 
ผ่านแผนที่ในรูปแบบเรียลไทม์ อาทิระบบ 
E-Cart Insurance solution for Motor 
ซึ่งเป็นระบบประกันภัยรถยนต์ โซลูชั่น 
บริหารงานบนแผนที่ Location base 
information system (LBLS) 
นอกจากนี้บริษัทยังได้พัฒนา 
แอพพลิเคชั่นระบบไดเร็กทรอรี่แผนที่ 
ออนไลน์ เพื่อรองรับระบบบริหารจัดการ 
ลูกค้าสัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer 
สนใจรอบๆ ตัวและทั่วประเทศ ตาม 
ประเภทธุรกิจ รวมทั้งสามารถแชร์สถานที่ 
ที่ชื่นชอบให้กับเพื่อนหรือคนอื่นได้ 
ขณะที่ Biz Group เป็นการค้นหา 
เฉพาะแบรนด์หรือกลุ่มธุรกิจที่สนใจ 
มีการรวบรวมจุดของธุรกิจที่อยู่ในหมวด 
เดียวกันหรืออยู่ภายใต้แบรนด์เดียวกันไว้ 
ด้วยกัน เพื่อตอบโจทย์ตามความต้องการ 
ของผู้ใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่น ร้าน IT City, 
Cold Stone, Karmart, และ Auntie 
Anne เป็นต้น 
และทางด้าน Shopping Area เป็น 
บริการแสดงตlำแหน่งของห้างสรรพ 
สินค้าต่างๆ พร้อม Floor Plan ทุกชั้น 
เพื่อช่วยให้เห็นทุกร้านค้าในห้างได้อย่าง 
รวดเร็ว เช่น MBK Center, Siam Center, 
The Circle และ Siam Paragon เป็นต้น 
นอกจากนี้ผู้ใช้สามารถกดแชร์จุด และ 
ส่งต่อจุดสถานที่ที่ต้องการไปให้เพื่อน 
หรือคนรู้จัก ผ่านทาง Email, Facebook, 
Twitter และ Message ซึ่งสามารถใช้งาน 
ง่ายและสะดวก 
วุฒิกร เล่าว่า การจัดการข้อมูล 
สlำหรับหน่วยงานหรือธุรกิจที่นlำ 
แอพพลิเคชั่น Zoclose ไปใช้งานบริษัท 
มีการออกแบบระบบข้างหลังบ้าน 
(Admin) ที่เข้าใจง่ายและสะดวกรวดเร็ว 
ในการเพิ่มเติมหรือแก้ไขข้อมูลของธุรกิจ 
โดยเจ้าของธุรกิจหรือหน่วยงานต่างๆ 
จะได้รับ Account เพื่อใช้ในการจัดการ 
ข้อมูลธุรกิจของตนเองได้ตามต้องการ 
และการจัดการข้อมูลนั้นจะทlำเพียงบน 
เว็บไซต์เท่านั้น ข้อมูลจะถูกเพิ่มเติมหรือ 
แก้ไขบนมือถือให้อัตโนมัติ
ปตท. ใช้บริการ บัซซี่บีส์ 
บริหารงานระบบซีอาร์เอ็ม 
Smart Industry 11 
ปตท. นับว่าเป็นบริษัททางด้านพลังงานที่ใหญ่ที่สุดใน 
ประเทศ และมีการนlำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการบริหาร 
และสร้างความพึงพอใจของลูกค้าด้วยการใช้โมบายน์แอพพลิ 
เคชั่นของ บัซซี่บีส์ ในการบริหารงานระบบบริหารจัดการลูกค้า 
สัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer Relationship Management 
หรือ CRM) สlำหรับสมาชิกบัตร พีทีที บลู การ์ด (PTT Blue Card) 
ที่ได้รับอย่างต่อเนื่องกับบริษัท ปตท. 
จึงใช้แอพพลิเคชั่น บัซซี่บีส์ มาช่วยใน 
การดูแลรับผิดชอบในส่วนของการให้ 
สิทธิพิเศษกับสมาชิก 
“ผมมองว่า แอพพลิเคชั่น บัซซี่บีส์ 
สามารถตอบโจท์ในการบริหารงาน 
ซีอาร์เอ็มกับสมาชิกให้กับองค์กรได้อย่าง 
ครบวงจร ตั้งแต่ขั้นตอนแรกในการจัดหา 
สิทธิพิเศษ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายที่ส่ง 
มอบสินค้าหรือบริการให้กับกลุ่มสมาชิก 
โดย PTT Blue Card จะเพิ่มความสะดวก 
แก่สมาชิกในการรับสิทธิพิเศษ รวมถึง 
สามารถตรวจสอบสิทธิพิเศษและโปรโมชั่น 
ที่คัดสรรมาโดยเฉพาะซึ่งตรงกับไลต์ 
สไตส์ของสมาชิก และสมาชิกยังสามารถ 
ค้นหาสถานที่ของร้านค้าที่ร่วมมอบสิทธิ 
พิเศษให้กับสมาชิก นอกจากนี้สมาชิก 
นอกจากจะสามารถตรวจสอบคะแนน 
สะสมคงเหลือจากบัตร PTT Blue Card 
แล้วสมาชิกยังสามารถที่จะอัพเดทข้อมูล 
ส่วนตัวได้” ณัฐพล กล่าวและว่า 
ความร่วมมือระหว่าง ปตท. และ 
บริษัท บัซซี่บีส์ เป็นการตอกยl้ำในการ 
มอบสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ให้กับ 
ผู้บริโภคอย่างครบวงจร ทั้งทางด้าน 
ณัฐพล ชูจิตารมย์ ฝ่ายกลยุทธ์ 
ตลาดขายปลีก บริษัท ปตท. จlำกัด 
(มหาชน) เล่าว่า บริษัทได้เล็งเห็นความ 
สlำคัญในการทlำ ซีอาร์เอ็ม กับผู้บริโภค 
จึงได้จัดทlำ Loyalty Program ขึ้นมา 
โดยมีบัตรสะสมคะแนน PTT Blue Card 
เป็นหนึ่งในเครื่องมือการบริหารความ 
สัมพันธ์กับลูกค้า ซึ่งปัจุบันมีสมาชิกว่า 
700,000 ราย โดยนอกจากบัตรจะให้สิทธิ 
ประโยชน์กับลูกค้าสมาชิกแล้ว ยังได้มอบ 
สิทธิพิเศษให้กับลูกค้า ในการใช้บริการ 
ร้านค้าชั้นนlำกว่า 200 แห่งที่เป็นพันธมิตร 
กับ ปตท. ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกบัตรฯ เกิด 
ความพึงพอใจในบริการและประสบการณ์ 
สินค้า การบริการและสิทธิพิเศษต่างๆ 
รวมถึงสามารถตอบสนองความต้องการ 
และไลต์สไตส์ที่แตกต่างกันของกลุ่ม 
สมาชิกเพื่อให้ได้รับความพึงพอใจสูงสุด 
อีกด้วย 
“ผมมองว่า การทlำซีอาร์เอ็มจะทlำให้ 
ลูกค้ากลับมาใช้บริการของบริษัทอีกทlำให้ 
ลูกค้าใช้บริการสะดวก และรวดเร็วมาก 
ขึ้น รู้สึกผูกพันธ์และกลับมาใช้บริการ 
ในระยะยาว นอกจากนี้ระบบ บัซซี่บีส์ 
ยังทlำให้บริษัทมีความสะดวกในการจัด 
ทlำแคมเปญต่างๆ และบริการใหม่ๆ เพื่อ 
รองรับและตรงกับความต้องการของ 
ผู้บริโภคได้มากขึ้นเนื่องจากการทlำ 
ซีอาร์เอ็ม ทlำให้เข้าใจความต้องการของ 
ลูกค้าและเรียนรู้พฤติกรรมของผู้บริโภค 
มากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งทาง 
ตรงและทางอ้อมกับธุรกิจ” ณัฐพล กล่าว 
ณัฐพล ชูจิตารมย์
บริษัท ดาต้าวัน เอเชีย (ประเทศไทย) จlำกัด บริษัทในเครือ บริษัท เอสวีโอเอ 
จlำกัด (มหาชน) ผู้ให้บริการโซลูชั่นและเอสไอ นlำระบบบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ 
หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer Relationship Management หรือ CRM) SalesVision 
มาช่วยเพิ่มความพึงพอใจในการให้บริการซ่อมบlำรุงเครื่องเอทีเอ็มกับลูกค้าธนาคาร 
Smart Industry 12 
ดาต้าวัน 
เสริมทัพบริการซ่อมตู้เอทีเอ็มบริหารสต็อกสินค้า 
โดยบริษัทนlำระบบ SalesVision มาช่วยในการซ่อมและบlำรุงรักษาเครื่องเอทีเอ็ม 
เมื่อลูกค้าธนาคารมีการแจ้งงานซ่อม ข้อมูลเกี่ยวกับการแจ้งงานซ่อม จะส่งข้อมูลไป 
ยังระบบการจัดการหลังบ้าน (Back office) ของบริษัท จากนั้นเจ้าหน้าที่ที่ประจlำศูนย์ 
คอมพิวเตอร์สามารถที่จะแจ้งการซ่อมไปยังเจ้าหน้าที่เทคนิค พร้อมกับข้อมูลการแจ้ง 
การซ่อมและการบlำรุงรักษาเครื่อง และระหว่างการซ่อมเจ้าหน้าที่เทคนิค สามารถแจ้ง 
การสถานะการซ่อมและการบlำรุงรักษาเครื่องเอทีเอ็ม ให้กับลูกค้าธนาคารได้ทันที เพื่อ 
ให้ลูกค้าธนาคารสามารถรับรู้สถานะของเครื่องเอทีเอ็มได้ตลอดเวลา 
รังสิมันต์ อินทรมาศ รองผู้จัดการทั่วไป บริษัท ดาต้าวัน เอเชีย (ประเทศ 
ไทย) จlำกัด เล่าว่า ทlำธุรกิจหลักเป็นซิสเต็มอินทีเกรเตอร์ (System integrator) ซึ่ง 
เป็นผู้ให้บริการ ออกแบบ วางระบบโซลูชั่นคอมพิวเตอร์ และเอทีเอ็ม สวิตชิ่ง เป็น 
หลัก และบริษัทได้แบ่งธุรกิจหลักออกเป็น 3 กลุ่มธุรกิจ ประกอบด้วย ธุรกิจเอสไอ 
(System integration) ธุรกิจเอาท์ซอร์สซิ่ง (Outsourcing) และธุรกิจการจัดจlำหน่าย 
(Distribution) 
ในส่วนของธุรกิจเอสไอ บริษัทจะร่วมกับพันธมิตรธุรกิจ (Business partners) เพื่อ 
นlำเสนอโซลูชั่นครบวงจรให้กับลูกค้า เช่น โซลูชั่นของระบบเอทีเอ็ม ระบบธนาคาร 
(Banking solution) ระบบค้าปลีก (Retail solution) เป็นต้น เพื่อวางระบบให้กับ 
ลูกค้าและมีทีมบริการหลังการขายช่วยให้บริการลูกค้าด้วย 
ทางด้านธุรกิจเอาท์ซอร์สซิ่ง เป็นการให้บริการติดตั้งระบบไอทีครบวงจรให้กับ 
ลูกค้า อาทิ ธนาคารขนาดกลาง เป็นต้น และธุรกิจการจัดจlำหน่าย จะเน้นการเป็น 
ตัวแทนจlำหน่ายสินค้า เช่น จlำหน่ายอุปกรณ์สวิตซิ่ง อุปกรณ์ไฟร์วอลล์ โดยเน้นลูกค้า 
ทั่วไป และกลุ่มลูกค้าคอร์ปอเรท 
นอกจากนี้บริษัทยังพัฒนาเครื่องมือ (Tools) ระบบคอมพิวเตอร์และแอพลิเคชั่น 
เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าโดยเฉพาะด้วย อาทิ ระบบ SalesVision บริษัทนlำ 
มาช่วยในการให้บริการลูกค้าธนาคารมากว่า 3 ปี โดยบริษัทนlำระบบบริการหลังการ 
ขาย (Customer services) ของ SalesVision มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการแจ้ง 
ซ่อมเครื่องเอทีเอ็มให้กับลูกค้า ทlำให้เจ้าหน้าที่สามารถแจ้งปัญหาและแก้ไขปัญหาใน 
การซ่อมตู้เอทีเอ็มให้ตรงกับข้อตกลงการให้บริการซ่อมบlำรุงระหว่างธนาคารกับบริษัท 
(Service-level agreement หรือ SLA) ได้ตามเวลาที่ตกลงกันได้ 
“ปกติข้อตกลงการให้บริการซ่อมบlำรุงตู้เอทีเอ็มเสีย เมื่อเจ้าหน้าที่ธนาคารมา 
แจ้งซ่อม มาที่บริษัทระบบ SalesVison จะรวบรวมปัญหาที่เกิดขึ้นมาที่ระบบหลังบ้าน 
ของบริษัท เจ้าหน้าที่ของบริษัทจะสามารถตรวจเช็คได้ว่าเกิดปัญหาและเหตุการณ์ 
อะไรขึ้นกับเครื่องเอทีเอ็ม ผ่านสมาร์ทโฟน เมื่อเจ้าหน้าที่สามารถทราบเหตุการณ์ที่ 
เกิดขึ้น เจ้าหน้าสามารถที่จะไปซ่อมตู้เอทีเอ็มได้ภายในระยะเวลาที่กlำหนด นับตั้งแต่ 
2-4 ชั่วโมง แล้วแต่สถานที่ให้บริการตามข้อตกลงการให้บริการหลังการขายกับลูกค้า 
ธนาคาร ซึ่งจากเดิมเจ้าหน้าที่เทคนิคจะไม่สามารถได้รับข้อมูลในการแก้ปัญหาได้ครบ 
ถ้วนและไม่สามารถอัพเดทความก้าวหน้าในการซ่อมบlำรุงกับธนาคารได้ทันที ทlำให้ 
ธนาคารสามารถรับรู้สถานะการซ่อมได้จากเจ้าหน้าที่เทคนิคด้วย นอกจากนี้ระบบ 
รังสิมันต์ อินทรมาศ 
SalesVision ยังมีฟังก์ชั่นช่วยแจ้งการ 
บlำรุงรักษาเครื่องตามรอบ เพื่อป้องกัน 
การเกิดปัญหาของเครื่องเอทีเอ็มได้ด้วย” 
รังสิมันต์ กล่าวและว่า 
ระบบ SalesVision สามารถใช้งาน 
ง่าย และผู้ใช้งานสามารถนlำระบบซีอาร์ 
เอ็มมาช่วยในการบริหารจัดการงานได้ 
ด้วยตัวเอง ตามความต้องการของผู้ใช้ 
งานและยังมีความยืดหยุ่นในการใช้งาน 
ที่ง่าย ทlำให้สามารถทlำงานได้สะดวก 
รวดเร็วมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้สามารถ 
รับรู้ปัญหาที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า ซึ่งทlำให้ 
สามารถแก้ไขล่วงหน้าหรือจะช่วยป้องกัน 
ก่อนที่ปัญหาจะเกิดขึ้นล่วงหน้า (Proactive 
service) ให้กับลูกค้าด้วยเพื่อทlำให้ลูกค้า 
เกิดความพึงพอใจในการใช้บริการมากยิ่ง 
ขึ้น เพราะสามารถที่จะต่อยอดในการทlำ 
ธุรกิจในอนาคตด้วย 
“ผมมองว่า ซีอาร์เอ็ม เริ่มเข้าไปถึง 
ตัวของลูกค้ามากขึ้น ในภาพรวมของการ 
ให้บริการซีอาร์เอ็มเริ่มเข้าไปใกล้ตัวของ 
พนักงานที่เป็นพนักงานของลูกค้า ให้ได้ 
รับความพึงพอใจจากเราโดยตรง และ 
การนlำไอทีมาช่วยในการทlำธุรกิจ ยังช่วย 
สร้างมูลค่าเพิ่มในการทlำธุรกิจ ช่วย 
ประหยัดค่าใช้ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการ 
เดินทาง ซึ่งสามารถเพิ่มความพึงพอใจ 
ให้กับลูกค้าได้ อาทิ การเพิ่มความ 
รวดเร็วในการให้บริการกับลูกค้า เป็นต้น” 
รังสิมันต์ กล่าว
เอ ไอ ซิสเต็ม 
ส่งซอฟต์แวร์ Ai-CRM Enterprise System ช่วยเสริมทัพเอสเอ็มอี 
Smart Industry 13 
จากความตั้งใจในการพัฒนาระบบงาน เอ็นเตอร์ไพร์ส ซิสเต็ม (Enterprise 
System) สlำหรับองค์กรที่สามารถแข่งขันในตลาดต่างประเทศ เกรียงไกร สุทธินราธร 
จึงได้ก่อตั้งบริษัท เอ ไอ ซิสเต็ม จlำกัด ขึ้น เมื่อปี 2546 โดยเน้นการพัฒนาซอฟต์แวร์ 
ในรูปแบบแพคเกจออกสู่ตลาด 
เกรียงไกร สุทธินราธร กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ ไอ ซิสเต็ม จlำกัด เล่าว่า 
จากความมุ่งหวังและมีแนวทางทีม่งุ่พฒันาซอฟตแ์วร์ในระดบัเอน็เตอร์ไพรส์ ซิสเต็ม 
มาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งบริษัท จนถึงปัจจุบัน บริษัทได้พัฒนาซอฟต์แวร์ระบบ Enterprise 
Resource Planning (ERP) ซึ่งเป็นระบบการวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร 
โดยรวม เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ได้อย่างสูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร 
ภายใต้ชื่อ Ai-fac ERP System สlำหรับอุตสาหกรรมการผลิต นอกจากนี้ยังได้พัฒนา 
ซอฟต์แวร์ Ai-CRM Enterprise System ซึ่งเป็นระบบบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ หรือ 
ซีอาร์เอ็ม (Customer Relationship Management หรือ CRM) ระบบบริหาร 
แพลนท์อุตสาหกรรมอัตโนมัติ PIAs System และ ระบบบริหารคลังสินค้า 
ภายใต้ชื่อ Ai-WMS System เป็นต้น 
ในส่วนของระบบ Ai-CRM Enterprise System ซึ่งเป็นระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์ 
ครบวงจรที่สามารถดูแลลูกค้าได้ครบ 360 องศานั้น บริษัทได้พัฒนาซอฟต์แวร์ที่ 
สามารถรองรับเว็บเทคโนโลยี โมบายเวอร์ชั่นเพื่อรองรับการใช้งานบนมือถือ รวมทั้ง 
ระบบ Call Center เวอร์ชั่นที่สามารถทlำงานเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์ Voice over IP 
(VoIP) และระบบหลังบ้าน (Back Office) ของลูกค้าได้เป็นข้อมูลเดียวกัน 
“ระบบงาน Ai-CRM Enterprise System เป็นระบบงานบริหารลูกค้าสัมพันธ์ 
สlำหรับองค์กรขนาดกลางถึงใหญ่ ที่มีข้อมูลของลูกค้าเป็นจlำนวนมาก และต้องการให้ 
ข้อมูลทั้งหมดอยู่บนระบบเดียวกัน เชื่อมต่อกับทุกช่องทางที่ลูกค้าสามารถติดต่อมาได้ 
เพื่อช่วยให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้สะดวกและมีความรวดเร็วมากขึ้น” กรรมการ 
ผู้จัดการกล่าว 
เกรียงไกร เล่าว่า ระบบ Ai-CRM Enterprise System สามารถเพิ่มศักยภาพของ 
ธุรกิจได้ในหลายด้าน อาทิ ด้านการขาย ด้านการบริการละด้านการตลาด 
โดยด้านการขายนั้น ซอฟต์แวร์ Ai-CRM Enterprise System สามารถช่วยเก็บ 
ข้อมูลโอกาสและการขายตั้งแต่เริ่มต้นให้กับธุรกิจ จนถึงการปิดการขาย ทั้งการขาย 
ในลักษณะ โครงการ, การขายสินค้า บริหารจัดการ Price List และ Target ของทีม 
ขายอย่างเป็นระบบ จนถึงการขายเชิงรุกผ่าน Outbound Call Center และบริหาร 
Customer Visit Rate ทlำให้ทีมบริหารของลูกค้าสามารถ monitoring การขายได้อย่าง 
เป็นระบบ คาดการณ์ (Forecast) และรับรู้ถึงปัญหาหรือสัญญาณของปัญหาได้อย่าง 
ทันท่วงที 
ในส่วนของด้านการบริการนั้น ระบบซอฟต์แวร์ ซีอาร์เอ็ม จะช่วยเก็บข้อมูลการ 
ขอรับบริการและการตอบสนองการบริการต่างๆขององค์กร เป็นไปตามความคาดหวัง 
ของลูกค้า ภายใต้มาตรฐานเดียวกันและพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทlำให้ทีมบริหารของ 
ลูกค้าสามารถตรวจสอบการให้บริการของทีมบริการหลังการขายได้ทันที 
ทางด้านการตลาด บริษัทนับว่าเป็นส่วนงานที่เป็นจุดเด่นที่สุดของซอฟต์แวร์ 
Ai-CRM Enterprise System โดยระบบสามารถรวมระบบการติดต่อสื่อสารในทุก 
ช่องทางทั้ง อีเมล์ (e-Mail) เอสเอ็มเอส (Short Message Service หรือ SMS) และ 
คอล เซ็นเตอร์ (Call Center) เข้ามาอยู่บนระบบสมาชิกร่วมกัน อีกทั้งมีคุณสมบัติ 
(Features) ในส่วนของการทlำ Loyalty Program ต่างๆที่มีการอ้างอิง (Site Reference) 
จากองค์กรขนาดใหญ่เป็นจlำนวนมาก ทlำให้ทีมบริหารไว้ใจได้ถึงการมี One-Stop 
Solution สlำหรับติดต่อสื่อสารกับลูกค้า 
ครบวงจร รองรับลูกค้าจlำนวนมากและ 
การเติบโตไปยังตลาดต่างประเทศ ทั้งใน 
เรื่องของภาษาและโครงสร้างของระบบที่ 
ยืดหยุ่นพร้อมสlำหรับการเติบโต 
“ผมมองว่าระบบ ซีอาร์เอ็มเป็น 
ระบบที่ชัดเจนมากว่ามีความสlำคัญใน 
ระดับต้นๆ ไปแล้วกับองค์กร โดยเฉพาะ 
องค์กรที่ข้อมูลของลูกค้าไม่อยู่เพียงบน 
ระบบบัญชีหรือ ERP เท่านั้น เนื่องจาก 
การจะดูแลให้บริการลูกค้าอย่างรวดเร็ว 
ตรงกับความคาดหวังในบริการที่ลูกค้า 
ต้องการนั้น ต้องการระบบกลางที่ดึง 
ข้อมูลของทุกส่วนของ ลูกค้ามาและ 
มีกระบวนการในการบริหารจัดการ ทั้ง 
งานที่เร่งด่วนและคงค้างให้เป็นไปตาม 
มาตรฐานการบริการที่ตรงกับความ 
ต้องการของลูกค้าได้อย่างแท้จริง เพื่อ 
สร้างความพึงพอใจสูงสุด และส่งผล 
ต่อการเป็นลูกค้าต่อเนื่องได้โดยตรง” 
เกรียงไกร กล่าวและว่า 
ปัจจุบันบริษัทสามารถนlำเสนอ 
ซอฟต์แวร์ ระบบงาน Ai-CRM Enterprise 
System ครอบคลุมความต้องการของ 
ลูกค้าหลากหลายอุตสาหกรรม อาทิ 
ลูกค้าที่เป็นห้างสรรพสินค้า หรือศูนย์ขาย 
ส่ง/ปลีกสินค้าอุปโภคบริโภค อุปกรณ์ 
ก่อสร้าง กลุ่มลูกค้าที่เป็นศูนย์ขายอุปกรณ์ 
ไอที หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้ง 
ศูนย์บริการกลุ่มลูกค้าที่ขายสินค้าอุปโภค 
บริโภคที่มีช่องทางขายตรงถึงลูกค้า 
(Direct Marketing Channel) กลุ่มลูกค้า 
ที่เป็นร้านอาหาร ที่มีสาขาจlำนวนมาก 
และ กลุ่มลูกค้าที่ขายและให้บริการด้าน 
เครื่องจักรอุตสาหกรรม เป็นต้น
Smart Industry Newsletter Vol.25
Smart Industry Newsletter Vol.25
Smart Industry Newsletter Vol.25

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Smart Industry Newsletter Vol.25

digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketingAew Zhiitzu
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetRachabodin Suwannakanthi
 
consumer behaviour
consumer behaviourconsumer behaviour
consumer behaviourdaruneejim
 
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนอบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนJirang Kumnuanta
 
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลงการตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลงKai Janghoo
 
Factors affecting shopping satisfaction through the instagram application
Factors affecting shopping satisfaction through the instagram applicationFactors affecting shopping satisfaction through the instagram application
Factors affecting shopping satisfaction through the instagram applicationChutipaSunantaporn
 
เครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกลเครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกลDarunee Ongmin
 
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558IMC Institute
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28Chanpen Thawornsak
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องBeeiiz Gubee
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้วIt’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้วmaruay songtanin
 

Semelhante a Smart Industry Newsletter Vol.25 (20)

digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketing
 
Smart industry vol32
Smart industry vol32 Smart industry vol32
Smart industry vol32
 
Profile cio world
Profile cio worldProfile cio world
Profile cio world
 
E commerce
E  commerceE  commerce
E commerce
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
consumer behaviour
consumer behaviourconsumer behaviour
consumer behaviour
 
SMY2012
SMY2012SMY2012
SMY2012
 
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนอบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
 
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลงการตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
 
Factors affecting shopping satisfaction through the instagram application
Factors affecting shopping satisfaction through the instagram applicationFactors affecting shopping satisfaction through the instagram application
Factors affecting shopping satisfaction through the instagram application
 
O2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEs
O2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEsO2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEs
O2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEs
 
เครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกลเครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกล
 
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้วIt’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว
 

Mais de Chanpen Thawornsak

Software park Newsletter vol 2
Software park Newsletter vol 2Software park Newsletter vol 2
Software park Newsletter vol 2Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559Chanpen Thawornsak
 
Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559Chanpen Thawornsak
 
Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014Chanpen Thawornsak
 

Mais de Chanpen Thawornsak (18)

Software Newsletter Vol.9
Software Newsletter Vol.9Software Newsletter Vol.9
Software Newsletter Vol.9
 
Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562
 
Software park Newsletter vol 2
Software park Newsletter vol 2Software park Newsletter vol 2
Software park Newsletter vol 2
 
Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560
 
Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560
 
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
 
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
 
Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559
 
Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
 
Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
 
Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014
 
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
 
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
 
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
 

Smart Industry Newsletter Vol.25

  • 1. ฉบับที่ 25 Volume 25/2557 FREE COPY 16 โรงแรม อ่าวนาง ปริ๊นซ์วิลล์ รีสอร์ท ใช้ซอฟต์แวร์ โฟร์ลีฟ อำ�นวยความสะดวกนักท่องเที่ยว 08 บัซซี่บีส์ ส่งซีอาร์เอ็ม แพลตฟอร์ม บนโมบายน์ช่วยเพิ่มศักยภาพธุรกิจ 15 โฟร์ลีฟ ไอบัทเลอร์ ซอฟต์แวร์ ที่ช่วยอำTนวย ความสะดวกสำTหรับนักท่องเที่ยว ซีอาร์เอ็ม ช่องทางสร้างความมั่นคงให้กับธุรกิจ
  • 2. Smart Industry 2 โซเชียลซีอาร์เอ็ม >> 3 คำ�ตอบสำ�หรับธุรกิจ ยุคดิจิตอล ซีอาร์เอ็ม >> 4 ช่องทางสร้างความมั่นคง ให้กับธุรกิจ บัซซี่บีส์ ส่งซีอาร์เอ็ม >> 8 แพลตฟอร์ม บนโมบายน์ช่วยเพิ่มศักยภาพธุรกิจ อีเอสเซส พัฒนาระบบ >> 9 Sales Vision รองรับธุรกิจขนาดกลาง จนถึงขนาดใหญ่ อีคาร์ทสตูดิโอ >> 10 ส่ง Zoclose ช่วยเพิ่มศักยภาพ การค้นหา ปตท. ใช้บริการ >> 11 บัซซี่บีส์ บริหารงานระบบซีอาร์เอ็ม ดาต้าวัน เอเชีย >> 12 ใช้ SalesVision เสริมทัพบริการซ่อมตู้เอทีเอ็ม บริหารสต็อกสินค้า เอ ไอ ซิสเต็ม >> 13 ส่งซอฟต์แวร์ Ai-CRM Enterprise System ช่วยเสริมทัพเอสเอ็มอี กิจกรรมของ >> 14 ซอฟต์แวร์พาร์ค โฟร์ลีฟ ไอบัทเลอร์ >> 15 ซอฟต์แวร์ ที่ช่วยอำ�นวยความสะดวก สำ�หรับนักท่องเที่ยว โรงแรม อ่าวนาง ปริ๊นซ์วิลล์ >> 16 รีสอร์ท ใช้ซอฟต์แวร์ โฟร์ลีฟ อำ�นวยความสะดวกนักท่องเที่ยว การก้าวสู่การแข่งขันของโลกธุรกิจในปัจจุบัน การสร้างความได้เปรียบ ในการแข่งขันทางธุรกิจมีบทบาทที่สlำคัญมากในองค์กรและธุรกิจเพื่อให้ ธุรกิจสามารถที่จะอยู่รอดในตลาดได้ กองบรรณาธิการ Smart Industry จึงขอนlำเสนอการนlำระบบ บริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer Relationship Management หรือ CRM) มาใช้ในการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ตลอดจนถึง การมีบทบาทและมีส่วนร่วม ที่สlำคัญของผู้บริหารจะทlำให้ธุรกิจสามารถประสบความสlำเร็จได้ นอกจากนี้ทางกองบรรณาธิการยังได้นlำเสนอการใช้ซอฟต์แวร์ซีอาร์เอ็ม ของธุรกิจโรงแรม กับความสlำเร็จในการนlำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาช่วยเสริมสร้างการทlำธุรกิจและการสร้างรายได้ให้กับธุรกิจได้มากยิ่งขึ้น และยังได้นlำเสนอการใช้ระบบซีอาร์เอ็มของบริษัท ดาต้าวัน เอเชีย (ประเทศไทย) จlำกัด กับการนlำระบบซีอาร์เอ็ม มาช่วยเพิ่มความพึงพอใจ ในการให้บริการซ่อมบlำรุงเครื่องเอทีเอ็มกับลูกค้าธนาคาร เป็นต้น ดังนั้นด้วยรูปแบบการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง จากเดิมและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการรับรู้ ข่าวสารรวมถึงการซื้อสินค้าที่มีความแตกต่างกันอย่างมากในปัจจุบัน จึงจlำเป็นอย่างยิ่งที่ธุรกิจขนาดกลางและเล็กจะต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดี กับลูกค้า เพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาดและสามารถยืนหยัดในธุรกิจของ ตนเองได้ในอนาคต กองบรรณาธิการ จุลสารข่าว Smart Industry จัดทlำโดย เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand) ภายใต้สlำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เลขที่ 99/31 อาคาร Software Park ถนนแจ้งวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2583-9992 โทรสาร 0-2583-2884 เว็บไซต์: www.swpark.or.th | www.tmc.nstda.or.th | www.nstda.or.th Content บทบรรณาธิการ สารบัญ
  • 3. นอกจากนี้ ยังช่วยในการลดต้นทุน ในการสรรหา โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ ที่มีต้นทุนตl่ำ หรือไม่มีค่าบริการในการ ประกาศรับสมัครงานช่วยเพิ่มความร่วม มือและเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญในองค์กรต่างๆ มากขึ้น ธุรกิจต่างๆ สามารถในการปรับ เปลี่ยนผลิตภัณฑ์และบริการของตน ตลอดจนมีรูปแบบและกระบวนการ ทlำงานที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้รับจาก การสังเกตพฤติกรรมของลูกค้า นับว่าสื่อสังคมออนไลน์เป็นเครื่องมือ ในการบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ที่มีผล อย่างมากในการดlำเนินธุรกิจ เนื่องจาก บริษัทต่างๆ ที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ จะ สามารถสื่อสารกับผู้บริโภคได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และมีอิทธิพลต่อผู้บริโภค มากยิ่งขึ้นซึ่งผลให้ธุรกิจมีรายได้จากการ ซื้อของผู้บริโภคได้มากขึ้น สื่อสังคมออนไลน์หรือโซเชียล มีเดีย ยังทlำให้ธุรกิจสามารถรวบรวมแนวคิดใหม่ๆ จากสมาชิกในชุมชนออนไลน์ ซึ่งเป็นทั้ง ลูกค้าเดิมและลูกค้าเป้าหมาย สามารถ ทlำให้ธุรกิจได้เข้าถึงกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มขีดความสามารถ ในการใช้ความรู้และเจาะหาและรวบรวม สร้างช่องทางใหม่ๆ ทางด้านการตลาด และการจัดจlำหน่าย เช่น ทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ค และอีเบย์ เป็นต้น สlำหรับตลาดอีเบย์ ผู้ซื้อผู้ขายบน อีเบย์ที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ร่วมด้วย มี ระดับการใช้จ่ายมากกว่าผู้ซื้อผู้ขายทั่วไป ถึงร้อยละ 54 ขณะที่การจัดแคมเปญแจก คูปองส่วนลดบนทวิตเตอร์ทlำให้เดลล์มี ยอดขายเพิ่มขึ้น 6.5 ล้านดอลลาร์ นับว่า สื่อสังคมออนไลน์มีบทบาทอย่างมาก ในการช่วยในการพัฒนาธุรกิจและการมี ส่วนร่วมในการเข้าถึงลูกค้าในรูปแบบของ โซเชียล ซีอาร์เอ็มได้อย่างมีประสิทธิภาพ Smart Industry 3 โซเชียล ซีอาร์เอ็ม คำ�ตอบสำ�หรับธุรกิจ ยุคดิจิตอล การเข้ามาของเทคโนโลยีสารสนเทศไม่เพียงมีบทบาทสlำคัญในการช่วยให้ธุรกิจ สามารถดlำเนินงานได้อย่างสะดวกรวดเร็วและมีความคล่องตัวในการดlำเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง แต่ในปัจจุบันการเข้ามาของโซเชียลมีเดีย (Social Media) หรือสื่อสังคม ออนไลน์นับว่ามีส่วนสlำคัญอย่างมากในการช่วยเพิ่มยอดขายและเพิ่มการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น และ โซเซียล ซีอาร์เอ็ม (Social customer relationship management หรือ Social CRM) ช่วยในการบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สามารถ ช่วยเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจในปัจจุบันและต่อยอดธุรกิจในอนาคตได้ ร้อยละ 9.1 และกิจกรรมทั่วไป เช่น อีเมล์ และเสิร์ช ซึ่งกินเวลาร้อยละ 4.1 ตาม ลlำดับ นอกจากนี้ ผลการศึกษาของ ดีอีไอ (DEI) ยังรายงานว่า ผู้บริโภค ร้อยละ 70 ทั่วโลก ใช้สื่อสังคมออนไลน์ รับข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทผลิตภัณฑ์ หรือ แบรนด์สินค้า “สื่อสังคมออนไลน์ เป็นแพลตฟอร์ม ที่มีการพัฒนาต่อยอดมาจากวิธีการแลก เปลี่ยนข้อมูล เรื่องราว และสิ่งต่างๆ มา เป็นเครือข่ายจlำเป็นในชีวิตประจlำวันของ ผู้บริโภค และยังได้เปิดโอกาสใหม่ๆ ที่ หลากหลายในการสร้างคุณค่าให้แก่ธุรกิจ” นอกจากนี้โซเชียล มีเดีย สามารถ ทlำให้ธุรกิจได้เข้าถึงกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มขีดความสามารถ ในการใช้ความรู้และเจาะหาและรวบรวม สร้างช่องทางใหม่ๆ ทางด้าน การตลาด และการจัดจlำหน่าย เช่น ทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ค ฯลฯ ขณะเดียวกัน สื่อสังคม ออนไลน์ ยังก่อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ตามความ ต้องการของลูกค้า สามารถขยายการ ปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าได้ทั้งในเชิงลึกและ ระดับกว้าง เพิ่มโอกาสในการนlำเสนอ ผลิตภัณฑ์ และบริการที่ตรงตามลักษณะ เฉพาะ และความเป็นตนเองของผู้บริโภค มากขึ้น ทั้งยังเข้าถึงผู้ที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมได้มากขึ้นด้วย การเข้าถึงลูกค้ากลุ่มเป้าหมายโดย ใช้ Social CRM คือ หลักการและกลยุทธ์ ทางธุรกิจที่ธุรกิจหรือแบรนด์สามารถใช้ ดูแลกลุ่มลูกค้าด้วย Social Technology โดยมี รูปแบบต่างๆ ของการใช้ Social Media สlำหรับซีอาร์เอ็ม คือ 1. ใช้ใน การรับ Feedback หรือการเสนอความ คิดเห็นต่างๆ 2. ใช้ในการให้บริการลูกค้า เชิงรุก หรือ Active Customer Service 3. ใช้ในการให้บริการแบบ 1 ต่อ 1 หรือ Customization and Personalization คือ การให้บริการที่ตอบสนองความต้องการ ของแต่ละบุคคลสามารถทlำได้อย่างมี ประสิทธิภาพผ่านทางการค้าออนไลน์ 4. ใช้ใน การสร้าง loyalty program สlำหรับลูกค้า เช่น Facebook Group เชิญลูกค้าแต่ละคนโดยเฉพาะเจาะจงให้ เข้ามาเป็นสมาชิก ทlำให้ลูกค้าเกิดความ ภูมิใจในสินค้าหรือแบรนด์นั้น โซเชียล เน็ตเวิร์ค ที่กlำลังเข้ามา มีบทบาทในโลกของธุรกิจ จากการศึกษา วิจัย ที่ศึกษาโดยคอมสกอร์ (ComScore) เกี่ยวกับเวลาที่ใช้ในการท่องโลก อินเทอร์เน็ตของผู้บริโภคชาวเอเชีย พบว่า ชุมชนออนไลน์ยอดนิยมอย่างเฟซบุ๊ค ทวิตเตอร์ เฟรนด์สเตอร์ และมายสเปซ ติดอันดับสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 9.5 ของ เวลาที่ใช้ท่องเน็ตทั้งหมด ตามมาด้วย เว็บไซต์กลุ่มรายการบันเทิง คิดเป็น
  • 4. ซีอาร์เอ็ม ช่องทางสร้างความมั่นคงให้กับธุรกิจ ในยุคโลกาภิวัฒน์การทlำธุรกิจผ่านหน้าร้านหรือร้านค้าเพียงอย่างเดียวไม่อาจจะ เพียงพอในการแข่งขันทางธุรกิจเนื่องจากการเข้ามาของข้อมูลข่าวสารเทคโนโนโลยี สารสนเทศ (ไอที) ทlำให้การเขัาถึงข้อมูลข่าวสารของผู้บริโภคทlำได้ง่ายขึ้น ขณะเดียวกัน เทคโนโลยีสารสนเทศยังทlำให้ธุรกิจยังสามารถมีช่องทางในการเสนอข้อมูลถึงมือผู้บริโภค ได้สะดวกรวดเร็วได้มากขึ้นเช่นกัน Smart Industry 4 อย่างไรที่จะทlำให้สามารถบริการลูกค้า ได้ตรงกับความต้องการของลูกค้าหรือ การเข้าใจลูกค้าว่าลูกค้าชอบอะไร หรือ กลุ่มเป้าหมายนี้ชอบอะไร สlำหรับในส่วนของการขาย ระบบ ซีอาร์เอ็ม จะเข้ามามีบทบาทในการตอบ โจทย์ ทางธุรกิจว่า ทlำอย่างไรที่ลูกค้า จะมีการซื้อสินค้าและบริการ ทั้งในรูป แบบของ การซื้อต่อเนื่อง (Cross Selling) และมีการซื้อสินค้าและบริการแบบต่อยอด (Up Selling) เพื่อที่จะทlำให้สามารถจะ ขายสินค้าและบริการได้มากขึ้น มีการซื้อสินค้าและบริการ ทั้งในรูปแบบ ของ การซื้อต่อเนื่อง (Cross Selling) และ มีการซื้อสินค้าและบริการแบบต่อยอด (Up Selling) ในส่วนขององค์กรขนาดใหญ่ อาทิ ธุรกิจค้าปลีก ธนาคาร สายการบิน ร้านอาหาร และธุรกิจประกันเริ่มตระหนัก และเริ่มลงทุนด้าน ซีอาร์เอ็ม ทั้งซอฟต์แวร์ ทั้งด้านไอทีที่เกี่ยวข้อง คน และเจ้าหน้าที่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของธุรกิจ รวมถึง สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า สร้าง ความจงรักภักดีกับลูกค้า (Loyalty) อย่างไรก็ตามภายใต้แนวคิดของ ซีอาร์เอ็ม สามารถแบ่งเป็น 2 ส่วนที่ สlำคัญประกอบด้วย ส่วนบริการ (services) และส่วนการขาย (sale) ใน ส่วนของการบริการ ธุรกิจจะนlำซีอาร์เอ็ม มาช่วยตอบโจทย์ของธุรกิจว่าจะทlำ เฉลิมพล ปุณโณทก การนlำระบบบริหารจัดการลูกค้า สัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer Relationship Management หรือ CRM) เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ธุรกิจหรือบริษัทนlำมา เป็นเครื่องมือทางธรุกิจเพื่อเพิ่มศักษภาพ ด้านยอดขาย เพิ่มรายได้และสามารถ เข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภคได้ง่ายขึ้น เพื่อให้ธุรกิจสามารถผลิตสินค้าและ นlำเสนอบริการได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย มากที่สุด เฉลิมพล ปุณโณทก ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารบริษัท ซีที เอเชีย จlำกัด เล่าว่า ซีอาร์เอ็มเริ่มเข้ามาในประเทศไทย กว่า 10 ปีที่ผ่านมา โดยระบบซีอาร์เอ็ม เป็นความผูกความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจ กับลูกค้า เพื่อให้ธุรกิจเข้าใจลูกค้า รวมถึง การขยายผลทางด้านการขาย เพื่อให้ลูกค้า
  • 5. Smart Industry 5 ผู้บริหาร กับบทบาทสlำคัญในการใช้ ซีอาร์เอ็มในองค์กรธุรกิจ เฉลิมพล เล่าว่า การนlำระบบ ซีอาร์เอ็มมาใช้ในวงการธุรกิจ จะต้อง ได้รับความเอาใจใส่และเอาจริงเอาจัง ในการนlำระบบซีอาร์เอ็มมาใช้ในองค์กร ธุรกิจ เนื่องจาก การนlำระบบซีอาร์เอ็ม มาใช้ไม่ใช่เพียงแค่การนlำระบบซีอาร์เอ็ม มาติดตั้ง (Implement) เท่านั้น หากแต่ ผู้บริหารจะต้องได้รับความสนใจ ใส่ใจ และการเอาจริงเอาจังจากผู้บริหารระดับ สูงในการนlำระบบซีอาร์เอ็มมาช่วยในการ เพิ่มประสิทธิภาพทางธุรกิจขององค์กรด้วย “ผมมองว่า การนlำระบบซีอาร์เอ็ม มาติดตั้งในองค์กร เพียงอย่างเดียวไม่ สามารถที่จะบอกได้ว่าธุรกิจของคุณสlำเร็จ แล้ว แต่ผู้บริหารระดับสูงจะต้องให้ความ เอาใจใส่และจริงจังกับการนlำระบบซีอาร์ เอ็มมาใช้กับองค์กรและธุรกิจตั้งแต่ระดับ บนจนถึงระดับล่างจึงจะทlำให้สามารถ เสนอสินค้าและทlำการตลาดในรูปแบบ ของ cross sale และ up sale กับลูกค้า ได้มากขึ้น เนื่องจาก การเก็บข้อมูลใน ฐานข้อมูลลูกค้าซีอาร์เอ็มทlำให้เรียนรู้ พฤติกรรมของลูกค้าได้มากขึ้น” เฉลิมพล กล่าวและว่า ดังนั้นผู้บริหารต้องมีความมุ่งมั่นใน การนlำระบบซีอาร์เอ็มมาใช้ในองค์กรและ ธุรกิจและมีฝ่ายที่จะสร้างความประทับใจ ให้กับลูกค้าในองค์กร มีการกlำหนด เป้าหมาย ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 อย่างไร และนlำเอาซอฟต์แวร์มาช่วยทlำให้ก้าว เข้าสู่เป้าหมายที่วางไว้ เช่น ในปีนี้บริษัท มีเป้าหมายว่าจะต้องรักษาฐานลูกค้าของ ตนเองไม่ให้เปลี่ยนใจไปใช้สินค้าหรือ บริการคู่แข่ง หรือ มีลูกค้า 100 คน องค์กรหรือธุรกิจ มีเป้าหมายที่จะสูญเสีย ลูกค้าไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ เป็นต้น แล้ว ค่อยแต่งตั้งแผนกขึ้นมารับผิดชอบเพื่อ ที่จะทlำอย่างไรเพื่อรักษาฐานลูกค้าให้ได้ 100 เปอร์เซ็นต์ เหมือนเดิม เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ธุรกิจขนาดกลาง และเล็ก หรือเอสเอ็มอี ยังเป็นกลุ่มธุรกิจ ที่มีศักยภาพในการนlำระบบซีอาร์เอ็ม มาช่วยในการเพิ่มยอดขาย เนื่องจากการ เข้ามาของโซเซียลมีเดีย และโมบายน์ แอพพลิเคชั่น ทlำให้เอสเอ็มสามารถ เข้าถึงลูกค้าได้ง่ายขึ้น ทlำให้ นิยามของ ซีอาร์เอ็ม ถูกแปรรูปไปในเรื่องของ แฟนเพจ เฟชบุ๊ก ทวิตเตอร์ มากขึ้น เอสเอ็มอี หน่วยงานธุรกิจและองค์กร มีการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าผ่าน โซเชียลมีเดียมากขึ้น ทlำให้เข้าใจลูกค้า ผ่านโซเชียลมีเดียมากขึ้นเพื่อการรับรู้ และเข้าใจ พฤติกรรมความชอบต่างๆ ของลูกค้า เฉลิมพล เล่าว่า การที่จะประสบ ความสlำเร็จในการนlำระบบซีอาร์เอ็มมา ใช้จะต้องมีการใช้งานของ คอล เซ็นเตอร์ (Call Center) หรือ คอนแทค เซ็นเตอร์ (Contact Center) ซึ่งเปรียบเสมือนระบบ ประสาทสัมผัสรับรู้สื่อสารทุกช่องทาง ควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้เป็นช่องทางใน การเพิ่มศักยภาพในการติดต่อสื่อสารกับ ลูกค้า “ถ้าทlำแต่ซีอาร์เอ็ม ไม่ทlำประสาท สัมผัสรับรู้สื่อสารทุกช่องทาง ก็เหมือนกับ ขาดช่องทางในการปฎิสัมพันธ์กับผู้บริโภค อย่างมีประสิทธิภาพ ฝั่งคอนแทค เซ็นต์เตอร์ อาทิ องค์กรขนาดใหญ่ เช่น ธนาคาร บริษัทประกัน ที่มีจุดสัมผัส เยอะๆ อีเมล์ ตู้เอทีเอ็ม สาขา ควรจะ รวมรูปแบบการติดต่อสื่อสารเข้ามารวม กันทั้งหมด (Integrate) กันทั้งหมด เพื่อ
  • 6. RELATIONSHIP นาวิก นlำเสียง Smart Industry 6 จะเป็นการนlำเสนอราคาที่ตl่ำกว่าหรือ บริการที่เหนือกว่าแก่ลูกค้า หากองค์กร หรือธุรกิจสามารถรักษาฐานลูกค้าเดิมได้ ก็จะลดค่าใช้จ่ายในการหาลูกค้าใหม่มา ชดเชยได้ ดังนั้นธุรกิจควรจะมีเครื่องมือ ในการเตือนให้รู้ตัวก่อนว่าลูกค้ากlำลังจะ เปลี่ยนใจไปหาคู่แข่งแล้ว ด้วยความคาด หวังของลูกค้าที่สูงขึ้น บ่อยครั้งที่ลูกค้ามี ความต้องการมากกว่าที่คาดหวังจากผู้ให้ บริการและผู้ให้บริการจะต้องตอบสนอง ความต้องการเหล่านั้นได้อย่างรวดเร็ว และแม่นยlำ ดังนั้น องค์กรหรือธุรกิจที่ ไม่รู้จักลูกค้าของตนเอง ก็มีโอกาสที่จะ เสียลูกค้าไปได้ นอกจากนี้ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี ทlำให้ธุรกิจสามารถเลือกวิธี การตอบสนองลูกค้าแต่ละรายได้อย่าง รวดเร็วและถูกต้อง เทคโนโลยียังเพิ่มช่อง ทางการติดต่อสื่อสารได้มากขึ้น อีกทั้ง สามารถลดค่าใช้จ่ายได้อีกด้วย เช่น การใช้เว็บไซต์เพื่อตอบปัญหาลูกค้าแทน พนักงานคอลล์เซ็นเตอร์ เป็นต้น ซีอาร์เอ็ม กับการเติบโตของตลาดอย่าง ต่อเนื่อง ในภาพรวมของธุรกิจซีอาร์เอ็ม ใน แต่ละปีจะมีการเติบโตอย่างต่อเนื่องปีละ การเชื่อมโยงของข้อมูลกันมากขึ้น” เฉลิมพล กล่าว ซีอาร์เอ็ม กับกลไกสร้างความสัมพันธ์กับ ลูกค้า นาวิก นlำเสียง กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซันเด โซลูชันส์ จlำกัด เล่าว่า ซีอาร์เอ็ม เป็นกลยุทธ์ทางธุรกิจที่ว่าด้วย ขบวนการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า เพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้าและ ต้องสร้างรายได้และกlำไรสูงสุดให้กับ องค์กรด้วย กลยุทธ์การบริหารความ สัมพันธ์กับลูกค้านั้นมีมานานแล้ว เพียง แต่ว่าด้วยเทคโนโลยีปัจจุบันจึงทlำให้ บทบาทของกลยุทธ์การบริหารความ สัมพันธ์กับลูกค้ามีความสlำคัญมากขึ้น และกลายเป็นสิ่งที่จlำเป็นต่อการดlำเนิน ธุรกิจ นาวิก เล่าว่า ด้วยการการแข่งขัน ทางธุรกิจที่สูงขึ้น ธุรกิจต้องมีความ รวดเร็วในการปรับองค์กรและกลยุทธ์ให้ ตามและนlำคู่แข่งได้ ต้นทุนที่สูงขึ้นในการ หาลูกค้าใหม่ งานวิจัยได้ระบุว่าต้นทุนใน การหาลูกค้าใหม่นั้นประมาณห้าเท่าของ ต้นทุนในการรักษาไว้ซึ่งลูกค้าเดิม ดังนั้น ด้วยการแข่งขันที่รุนแรง คู่แข่งมักจะใช้ กลยุทธ์ในการดึงลูกค้าเดิมเสมอ ไม่ว่า CRM เชื่อมโยงสิ่งเหล่านั้นทั้งหมด เพื่อให้ องค์กร หรือธุรกิจเข้าใจว่าลูกค้า มา ติดต่อเราที่จุดนี้และสามารถประสานงาน ได้ โดยไม่ติดขัด เพื่อประโยชน์ของการ ขายเป็นจุดที่เก็บความสนใจของลูกค้า ที่ผ่านมาทุกจุดซึ่งจะสลายกlำแพงระหว่าง ช่องทางการสื่อสารแต่ละจุดมาเชื่อมโยง กัน และยังสลายพรมแดน เพื่อก่อให้เกิด จุดสัมผัสมากขึ้น เพื่อสลายกlำแพงในการ ติตต่อข้อมูล ทlำให้เข้าถึงลูกค้ามากขึ้น ทlำให้เกิดประโยชน์ ลูกค้าพึงพอใจในการ บริการมากขึ้น ช่วยเพิ่มยอดขาย ทlำให้ ต้นทุนถูกลง เพราะว่า สื่อโซเชียลมีเดีย ไม่มีต้นทุน ทlำให้เสียค่าใช้จ่ายในการ บริหารงานถูกลง เนื่องจากสามารถใช้ สิ่งที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกันมากขึ้นประสาน เพื่อบริการลูกค้าได้ดีขึ้น ทlำให้เกิด ประสิทธิภาพการทlำงานมากขึ้นกว่า 2 เท่า เพราะปลดลอ็กการทlำงานเพือ่เพิม่ ศักยภาพการทlำงานของธุรกิจที่มี
  • 7. Smart Industry 7 ประมาณ 10-15 เปอร์เซ็นต์ สlำหรับใน ประเทศไทย คาดว่าตลาดซอฟต์แวร์ ซีอาร์เอ็มจะมีมูลค่าประมาณ 3,000 ล้าน บาท เนื่องจากตลาดซอฟต์แวร์ซีอาร์เอ็ม ในประเทศไทย ยังมีการเติบโตของตลาด คอล เซ็นเตอร์ (Call Center) ซึ่งเป็นฐาน ของตลาดซีอาร์เอ็ม นอกจากนี้โซเชียลมีเดีย และ ดิจิตอล มาร์เก็ตติ้ง ที่ธุรกิจนlำมาใช้ร่วม กับซอฟต์แวร์ ซีอาร์เอ็ม เพื่อเป็นกลยุทธ์ ในการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า โดยที่เราจะทlำอย่างไรจะช่วยปรับปรุง กระบวนการในองค์กรให้ดีมากขึ้น ไม่ว่า จะเป็นเรื่องของการขาย การตลาด และ การบริการ โดยมุ่งหวังให้ลูกค้าเกิดความ พึงพอใจสูง สุด และองค์กรก็ได้รับกlำไร แบบยั่งยืนด้วยเช่นกัน นาวิก กล่าวต่อว่า ปัจจุบัน ประเทศ ไทยได้ผ่านยุคแรกของซีอาร์เอ็มมาแล้ว และปัจจุบันกlำลังเริ่มเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ ยุคที่สอง ของซีอาร์เอ็มโดยธุรกิจจะมี เครื่องมือที่จะไปเชื่อมต่อกับภายนอกมาก ขึ้น เช่น โซเชียลมีเดีย ลูกค้ามีการโพส ข้อความ ความคิดเห็นต่างๆ องค์กรและ ธุรกิจสามารถที่จะนlำข้อความต่างๆ มา เชื่อมต่อกับระบบซีอาร์เอ็ม และสามารถ รู้ได้ว่า พฤติกรรมของลูกค้าเป็นอย่างไร จะขายสินค้าและบริการอย่างไรที่จะช่วย เพิ่มบทบาทและเป็นช่องทางในการติดต่อ กับลูกค้าได้มากขึ้น “สมัยก่อนซีอาร์เอ็มในช่วงแรก องค์กรหรือธุรกิจมีช่องทางในการติดต่อ กับลูกค้าผ่าน คอล เซ็นเตอร์ (Call Center) อีเมล์ (E-mail) และส่งเอสเอ็ม เอส (Short Message Service หรือ SMS) เป็นต้น ผมมองว่าซีอาร์เอ็ม มีความ สlำคัญในทุกจุด แต่อยู่ที่ว่าธุรกิจไหน จะเน้นและให้ความสlำคัญกับอะไร เช่น ธุรกิจรีเทล จะมีระบบสมาชิก คะแนน สะสมแต้ม มีความต้องการอะไรบ้าง และ ยอดขายว่าลูกค้าต้องการซื้อสินค้าและ มีพฤติกรรมในการซื้อสินค้าอะไรบ้าง เป็นต้น หรือธุรกิจ Manufacturing จะ ทlำอย่างไรที่จะไปขายของ ให้กับลูกค้า ใหม่และสามารถปิดการขายได้ เน้นการ ขายส่ง หรือธุรกิจประกันจะเรียกคอล เซ็นเตอร์จะมีการคีย์ข้อมูลเข้าสู่ระบบ เช่น การเคลมประกัน” นาวิก กล่าวและว่า ซีอาร์เอ็ม เป็นกลยุทธ์ที่มีความสlำคัญ ในการทlำธุรกิจ ทlำให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด และมีความพึงพอใจสูงสุด ในด้าน การลงทุน เช่น การนlำเสนอสินค้าให้กับ ลูกค้า ซีอาร์เอ็ม ก็สามารถช่วยได้ การขาย การตลาด ซอีารเ์อม็จะเกบ็ขอ้มลูลกูคา้ จะเก็บข้อมูลทรานเซกชั่น พฤติกรรมของ ลูกค้า ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ สามารถจะนlำมา จัดการแบ่งกลุ่มของลูกค้าได้เมื่อได้กลุ่ม ของลูกค้า องค์กรหรือธุรกิจจะสามารถ นlำเสนอสินค้าและบริการให้กับลูกค้าได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะทlำให้ลงทุน การตลาดน้อยลงแต่จะได้ประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น และปัจจุบันซอฟต์แวร์ซีอาร์เอ็ม สามารถเอื้ออlำนวยให้กับธุรกิจเอสเอ็มอี ด้วย โดยการให้บริการ คราวน์ ซีอาร์เอ็ม (Cloud CRM) หรือ On demand CRM ซึ่งลูกค้า ไม่ต้องลงทุนจlำนวนมาก เพียง เสียค่าใช้จ่ายเป็นรายเดือนก็จะสามารถใช้ ซอฟต์แวร์ที่มี ประสิทธิภาพในการทlำงาน เหมือนกับหน่วยงานขนาดใหญ่ โดยมี ราคาเริ่มต้นประมาณ 2,000-3,000 บาท ต่อเดือน ดังนั้นการนlำซอฟต์แวร์ซีอาร์เอ็มมา ใช้ในการทlำธุรกิจจึงไม่ใช่เรื่องที่ไกลตัวอีก ต่อไป องค์กรหรือธุรกิจที่ต้องการสร้าง ความก้าวหน้าให้กับองค์กร หรือธุรกิจที่ ทlำอยู่จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้หากคุณ ต้องการอยู่รอดในตลาดท่ามกลางการ แข่งขันที่รุนแรงในยุคโลกาภิวัฒน์
  • 8. บัซซี่บีส์ ส่งซีอาร์เอ็ม แพลตฟอร์ม บนโมบายน์ช่วยเพิ่มศักยภาพธุรกิจ จากแรงบันดาลใจในการคิดค้น ต้นแบบในการทlำธุรกิจและการติดต่อ สื่อสาร ที่ทlำให้ทุกคนสามารถติดต่อ ถึงกันได้อย่างง่าย สะดวกและรวดเร็ว บริษัท บัซซี่บีส์ จึงได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 2 ปี ที่ผ่านมาเพื่อสานต่อเจตนารมณ์ในการ พัฒนาแอพพลิเคชั่นที่ร้านค้าและผู้ใช้ มือถือสามารถติดต่อถึงกันแค่ปลายนิ้ว สัมผัส บริษัทจึงมุ่งเน้นการพัฒนาโมบาย น์แอพพลิเคชั่น ภายใต้ชื่อ BUZZEBEES หรือ บัซซี่บีส์ ซึ่งจะสามารถช่วยเพิ่ม ศักยภาพทางธุรกิจและเพิ่มศักยภาพใน การบริหารงานของธุรกิจได้อย่างคล่องตัว Smart Industry 8 ณัฐธิดา สงวนสิน กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท บัซซี่บีส์ จlำกัด เล่าว่า บัซซี่บีส์ เป็นระบบบริหารจัดการลูกค้า อัจฉริยะ ที่ผสมผสานระหว่างโซเชียล มีเดีย รอยัลตี้โปรแกรม และระบบ อีคอมเมิร์สเข้าด้วยกัน ซึ่งมีจุดเด่นที่ สามารถใช้งานได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว และคุ้มค่าอย่างครบวงจร เหมาะสlำหรับ ทุกธุรกิจกรนับตั้งแต่ลูกค้ารายย่อย ผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก ตลอดจนถึงองค์กรขนาดใหญ่ บัซซี่บีส์ โมบายน์แอพพพลิเคชั่นได้แบ่งบริการ ออกเป็น 5 หลักประกอบก้วย ระบบ ซีอาร์เอ็ม แพลตฟอร์ม (CRM Platform) ระบบเอ็ม คอมเมิร์ส แพลตฟอร์ม (M-Commerce platform) ออนไลน์ มีเดีย (Online media) ออนไลน์ เซอร์เวย์ (Online survey) และ บริการ ธุรกิจครบวงจร (Corporate fulfillment) “เรามีความเชี่ยวชาญในการให้ คlำปรึกษาและบริการสlำหรับธุรกิจทุก ประเภท ตั้งแต่การทlำโฆษณา แนะนlำ สินค้าใหม่ การเปิดร้านค้าออนไลน์ ไป จนถึงการส่งมอบสินค้าและบริการให้ ถึงมือลูกค้า โดยเราถือคติว่า หากเรา สามารถผลักดันส่งเสริมให้คู่ค้าของเราไป ถึงเป้าหมายได้ คือความสlำเร็จของเรา” กรรมการผู้จัดการ กล่าว นอกจากนี้บัซซี่บีส์ ยังเป็นระบบที่ ใช้งานบนโทรศัพท์มือถือที่ช่วยอlำนวย ความสะดวกในการสร้างร้านค้าและรับ สิทธิประโยชน์จากร้านค้าเพียงปลายนิ้ว สัมผัส ร้านค้าและเจ้าของสินค้าสามารถ ที่จะสร้างสรรรูปแบบการเปิดร้านค้าและ การใช้งานต่างๆ ในรูปแบบของตนเองได้ ทันที อาทิ สร้างสิทธิพิเศษให้กับลูกค้า สร้างความจงรักภักดีในตัวสินค้าหรือ โลยัลตี้โปรแกรม การเพิ่มการมีส่วนร่วม ของลูกค้า รวมถึงการเพิ่มขึ้นของการ ตระหนักรับรู้สินค้า เป็นต้น ณัฐธิดา เล่าว่า ปัจจุบัน บัซซี่บีส์ มีผู้เข้าใช้งานมากกว่า 3 ล้านคนและให้ บริการใน 5 ประเทศ มีพันธมิตรทาง ธุรกิจมากกว่า 10 องค์กร อาทิ ปตท. ไลน์ ซิงเทล สิงคโปร์ และ ซัมซุงแอฟริกา เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีสินค้าและบริการ บนแอพพลิเคชั่นของบัซซี่บีส์มากกว่า 10,000 แคมเปญ มีผู้เข้าเยี่ยมชมมาก กว่า 180,000 คนต่อวัน
  • 9. ประสิทธิภาพในการบริการหลังการขาย ให้กับลูกค้า โดยเจ้าหน้าที่บริการสามารถ บันทึกปัญหาและบันทึกวิธีการแก้ปัญหา นอกจากนี้ยังสามารถนlำมาจัดรวมเป็น องค์ความรู้ คlำถามที่พบบ่อยสุด (FAQ) สามารถนlำข้อมูลต่างๆ มาวิเคราะห์ เช่น จlำนวนชั่วโมงในการบริการ ปัญหาที่ พบบ่อย เพื่อให้การบริการในครั้งต่อไป สามารถทlำได้รวดเร็วและถูกต้อง เพื่อ สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ปัจจุบันบริษัทให้บริการ SalesVision CRM ใน 2 รูปแบบ ประกอบด้วยการขาย เป็นโซลูชั่น สlำหรับธุรกิจขนาดใหญ่ อาทิ บริษัท ดาต้าวัน เอเชีย (ประเทศไทย) จlำกัด และบริษัท การบินไทย เป็นต้น และการขายในรูปแบบของบริการเช่าใช้ (Software as a Service) ผ่านคลาวน์ ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระดับ ประกอบด้วย ระดับ เบสิค ระดับโปรเฟสชั่นแนล และระดับ เอ็นเตอร์ไพร์ส โดยมีราคาเริ่มต้น ที่ 1,000 1,500 และ 2,000 บาท ตามลlำดับ “บริษัทที่ใช้ระบบซีอาร์เอ็มจะเห็นภาพ รวมของลูกค้า ยอดขาย และสามารถหา กลยุทธ์ว่าจะทlำอย่างไรที่จะทlำให้มียอด ขายมากขึ้น และข้อมูลที่มีอยู่สามารถ นlำมาวิเคราะห์ข้อมูลได้ เช่น การเปรียบ เทียบ ยอดขายในแต่ละไตรมาส เป็นต้น ดังนั้นผู้บริหารจlำเป็นจะต้องมีระบบ ซีอาร์เอ็มเพื่อเป็นเครื่องมือในการ ตอบโจทย์ของธุรกิจ” ศิวนารถ กล่าว Smart Industry 9 อีแอสเซส พัฒนาระบบ SalesVision รองรับธุรกิจขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ จากแรงบันดาลใจที่จะเป็นบริษัทที่พัฒนาซอฟต์แวร์รองรับความต้องการของ ลูกค้าที่มีประสิทธิภาพ ศิวนารถ มาสุรางค์ เริ่มเปิดบริษัท อีแอสแซส เมื่อ 10 ปีที่ผ่าน มาหลังจากที่ได้สะสมประสบการณ์จากการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่บริษัทเมโทร ซิสเต็มส์ (มหาชน) จlำกัด ด้วยการพัฒนาระบบบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer Relationship Management หรือ CRM) ภายใต้ชื่อ SalesVision จนถึง ปัจจุบันบริษัท อีเอสเซส สามารถให้บริการระบบซีอาร์เอ็มที่รองรับธุรกิจขนาดกลาง และเล็ก ผ่านระบบคลาวน์คอมพิวติ้ง และองค์กรขนาดใหญ่ ซึ่งช่วยเพิ่มศักยภาพ ในการดlำเนินธุรกิจในทุกรูปแบบ เป็นแห่งแรก จนถึงปัจจุบันบริษัทได้พัฒนาระบบ SalesVision CRM ที่สามารถรองรับการ บริหารงานลูกค้าสัมพันธ์ของธูรกิจตั้งแต่ ขนาดกลางและเล็ก จนถึง ธุรกิจขนาด ใหญ่ โดยระบบ SalesVision CRM มี คุณสมบัติที่ช่วยในการบริหารงานของ บริษัทใน 3 ส่วนหลัก ประกอบด้วย ระบบจัดการด้านการขาย (Sales Force Automation) ระบบจัดการด้านตลาด (Marketing Automation) และ ระบบ บริการหลังการขาย (Customer Service) โดยในส่วนของระบบจัดการด้านการ ขาย เป็นระบบสlำหรับเพิ่มประสิทธิภาพ ในการขาย ช่วยให้พนักงานขาย ผู้จัดการ ฝ่ายการขายสามารถจัดการข้อมูลของ ลูกค้า โอกาสในการขาย ใบเสนอราคา การประมาณการยอดขายได้อย่างมี ประสิทธิภาพและนlำข้อมูลเหล่านี้มา วิเคราะห์และออกรายงานได้ ขณะที่ระบบจัดการด้านการตลาด เป็นระบบสlำหรับเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทlำการตลาด โดยเจ้าหน้าที่การตลาด สามารถบริหารจัดการข้อมูลเกี่ยวกับการ ส่งเสริมการขาย จัดหากลุ่มลูกค้าใหม่ บริหารสินค้า กlำหนดราคาสินค้า และนlำ ข้อมูลสถิติต่างๆ มาวิเคราะห์เพื่อประเมิน ความคุ้มทุน เช่น ผลจากการลงทุน กลุ่ม ลูกค้าใหม่จากการจัดรายการส่งเสริมการ ขาย การทlำอีเมล์มาร์เก็ตติ้ง ระบบ เทเลเซล เป็นต้น และ ระบบบริการ หลังการขาย เป็นระบบสlำหรับเพิ่ม ศิวนารถ มาสุรางค์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท อีแอสเซส จlำกัด เล่าว่า หลังจากเรียนจบคณะวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ จากสถาบัน เทคโนโลยี พระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ตนเองได้ทlำงานเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ บริษัท เมโทร ซิสเต็มส์ (มหาชน) หลังจากนั้น หนึ่งปีจึงได้ออกมาตั้งบริษัท เพื่อที่จะเป็นบริษัทคนไทยที่พัฒนา ซอฟต์แวร์ที่สามารถรองรับความต้องการ ของธุรกิจและมีจุดเด่นที่การใช้งานที่ง่าย และประหยัดค่าใช้จ่าย อย่างไรก็ตาม ศิวนารถ ยอมรับว่า ในช่วงแรกการหาทิศทางของบริษัทยัง ไม่มีแนวทางของตนเองมากนัก ประจวบ กับในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา การเข้ามาของ ซอฟต์แวร์ระบบบริหารจัดการลูกค้า สัมพันธ์ หรือระบบซีอาร์เอ็ม เริ่มเข้ามา มีบทบาทมากขึ้นในธุรกิจ บริษัทจึงมุ่ง เป้าหมายในการพัฒนาระบบ ซีอาร์เอ็ม ภายใต้ชื่อ SalesVision CRM “ผมเป็นคนชอบพัฒนาโปรแกรม มาตั้งแต่เรียน และผมมีความตั้งใจที่จะ พัฒนาซอฟต์แวร์ที่ช่วยให้ธุรกิจสามารถ ดlำเนินงานได้อย่างสะดวกและสบายใน การบริหารงานโดยมีค่าใช้จ่ายทางด้าน ไอทีไม่สูงมากนัก” กรรมการผู้จัดการ กล่าว เมื่อซอฟต์แวร์ซีอาร์เอ็มเริ่มเข้ามา ในเมืองไทย จึงได้พัฒนาซอฟต์แวร์ ซีอาร์เอ็มเพื่อรองรับระบบการขายของ บริษัท เมโทร ซิสเต็มส์ (มหาชน) จlำกัด
  • 10. อีคาร์ท สตูดิโอ ส่ง Zoclose ช่วยเพิ่มศักยภาพการค้นหา บริษัท อีคาร์ทสตูดิโอ จlำกัด ก่อตั้งโดยคนรุ่นใหม่ที่มีความชlำนาญในการพัฒนา ซอฟต์แวร์ โซลูชั่น และแอพพลิเคชั่นต่างๆ ที่รองรับความต้องการของธุรกิจที่หลาก หลาย อาทิ พัฒนาระบบอีคอมเมิร์ส แพลตฟอร์ม เพื่อรองรับผู้ประกอบการที่ต้องการ ขายสินค้าผ่านออนไลน์ โซลูชั่น E-Cart insurance solution for Motor โซลูชั่นที่รองรับ ธุรกิจประกันภัย รวมถึงระบบ Zoclose ซึ่งเป็นแอพพลิเคชั่นระบบไดเร็กทรอรี่แผนที่ ออนไลน์ ที่สามารถค้นหาข้อมูลที่อยู่ในดาต้าเบสได้แบบเรียลไทม์ และสามารถที่จะ ค้นหาข้อมูลเป็นหมวดหมู่ เพื่อช่วยเพิ่มความสะดวกรวดเร็วสร้างความพีงพอใจ ในการค้นหาข้อมูลของบริษัทและลูกค้า Smart Industry 10 Relationship Management หรือ CRM) ภายใต้ชื่อ Zoclose อีกด้วย Zoclose เป็นแอพพลิเคชั่นรูปแบบ ใหม่ที่เกิดจากการนlำระบบแผนที่ออนไลน์ และข้อมูลไลฟ์สไตล์ของผู้ใช้รวมไว้ด้วย กัน ซึ่งช่วยให้ค้นหาสถานที่และโปรโมชั่น ต่างๆ ได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว โดย ผู้ใช้สามารถเลือกแสดงผลการค้นหาได้ ทั้งแบบ แผนที่ (Map Mode) หรือรายการ (List Mode) ผ่านสมาร์ทโฟนที่ใช้ระบบ ปฎิบัติการไอโอเอส และแอนดรอยด์ และ บนเว็บไซต์ www.zoclose.com สlำหรับการให้บริการนั้น ผู้ใช้ บริการสามารถเลือกค้นหาจุดสถานที่ ได้ตามประเภทธุรกิจหรือเลือกเจาะจง เฉพาะแบรนด์และกลุ่มธุรกิจที่สนใจได้ ผ่านเว็บไซต์และมือถือ โดยสามารถ ค้นหาข้อมูลใน 3 รูปแบบหลัก ประกอบ ด้วย Best of Zoclose, Biz Group และ Shopping Area โดยในส่วนของ Best of Zoclose เป็นการค้นหาข้อมูลตามประเภทธุรกิจ ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาสถานที่ที่ วุฒิกร มโนมัยวิบูลย์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท อีคาร์ทสตูดิโอ จlำกัด เล่าว่า บริษัท อีคาร์ทสตูดิโอ จlำกัด ก่อตั้งเมื่อ 10 ปีที่ผ่านมา โดยใน ระยะแรกบริษัทได้พัฒนาอี คอมเมิร์ส แพลตฟอร์ม ซึ่งเป็นระบบการขายสินค้า ผ่านออนไลน์เพื่อรองรับความต้องการ ของผู้ประกอบการและธุรกิจที่ต้องการ ขายสินค้าผ่านระบบอออนไลน์ หรือ ช็อปปิ้งออนไลน์ บริษัทยังได้พัฒนา โซลูชั่นเพื่อรองรับธุรกิจอื่นๆ โดยใช้แผนที่ ช่วยในการพัฒนาให้ซอฟต์แวร์และโซลูชั่น ต่างๆ เพื่อให้สามารถค้นหาข้อมูลได้ง่าย ขึ้น สามารถหาตlำแหน่งของสถานที่ที่ตั้ง ผ่านแผนที่ในรูปแบบเรียลไทม์ อาทิระบบ E-Cart Insurance solution for Motor ซึ่งเป็นระบบประกันภัยรถยนต์ โซลูชั่น บริหารงานบนแผนที่ Location base information system (LBLS) นอกจากนี้บริษัทยังได้พัฒนา แอพพลิเคชั่นระบบไดเร็กทรอรี่แผนที่ ออนไลน์ เพื่อรองรับระบบบริหารจัดการ ลูกค้าสัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer สนใจรอบๆ ตัวและทั่วประเทศ ตาม ประเภทธุรกิจ รวมทั้งสามารถแชร์สถานที่ ที่ชื่นชอบให้กับเพื่อนหรือคนอื่นได้ ขณะที่ Biz Group เป็นการค้นหา เฉพาะแบรนด์หรือกลุ่มธุรกิจที่สนใจ มีการรวบรวมจุดของธุรกิจที่อยู่ในหมวด เดียวกันหรืออยู่ภายใต้แบรนด์เดียวกันไว้ ด้วยกัน เพื่อตอบโจทย์ตามความต้องการ ของผู้ใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่น ร้าน IT City, Cold Stone, Karmart, และ Auntie Anne เป็นต้น และทางด้าน Shopping Area เป็น บริการแสดงตlำแหน่งของห้างสรรพ สินค้าต่างๆ พร้อม Floor Plan ทุกชั้น เพื่อช่วยให้เห็นทุกร้านค้าในห้างได้อย่าง รวดเร็ว เช่น MBK Center, Siam Center, The Circle และ Siam Paragon เป็นต้น นอกจากนี้ผู้ใช้สามารถกดแชร์จุด และ ส่งต่อจุดสถานที่ที่ต้องการไปให้เพื่อน หรือคนรู้จัก ผ่านทาง Email, Facebook, Twitter และ Message ซึ่งสามารถใช้งาน ง่ายและสะดวก วุฒิกร เล่าว่า การจัดการข้อมูล สlำหรับหน่วยงานหรือธุรกิจที่นlำ แอพพลิเคชั่น Zoclose ไปใช้งานบริษัท มีการออกแบบระบบข้างหลังบ้าน (Admin) ที่เข้าใจง่ายและสะดวกรวดเร็ว ในการเพิ่มเติมหรือแก้ไขข้อมูลของธุรกิจ โดยเจ้าของธุรกิจหรือหน่วยงานต่างๆ จะได้รับ Account เพื่อใช้ในการจัดการ ข้อมูลธุรกิจของตนเองได้ตามต้องการ และการจัดการข้อมูลนั้นจะทlำเพียงบน เว็บไซต์เท่านั้น ข้อมูลจะถูกเพิ่มเติมหรือ แก้ไขบนมือถือให้อัตโนมัติ
  • 11. ปตท. ใช้บริการ บัซซี่บีส์ บริหารงานระบบซีอาร์เอ็ม Smart Industry 11 ปตท. นับว่าเป็นบริษัททางด้านพลังงานที่ใหญ่ที่สุดใน ประเทศ และมีการนlำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการบริหาร และสร้างความพึงพอใจของลูกค้าด้วยการใช้โมบายน์แอพพลิ เคชั่นของ บัซซี่บีส์ ในการบริหารงานระบบบริหารจัดการลูกค้า สัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer Relationship Management หรือ CRM) สlำหรับสมาชิกบัตร พีทีที บลู การ์ด (PTT Blue Card) ที่ได้รับอย่างต่อเนื่องกับบริษัท ปตท. จึงใช้แอพพลิเคชั่น บัซซี่บีส์ มาช่วยใน การดูแลรับผิดชอบในส่วนของการให้ สิทธิพิเศษกับสมาชิก “ผมมองว่า แอพพลิเคชั่น บัซซี่บีส์ สามารถตอบโจท์ในการบริหารงาน ซีอาร์เอ็มกับสมาชิกให้กับองค์กรได้อย่าง ครบวงจร ตั้งแต่ขั้นตอนแรกในการจัดหา สิทธิพิเศษ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายที่ส่ง มอบสินค้าหรือบริการให้กับกลุ่มสมาชิก โดย PTT Blue Card จะเพิ่มความสะดวก แก่สมาชิกในการรับสิทธิพิเศษ รวมถึง สามารถตรวจสอบสิทธิพิเศษและโปรโมชั่น ที่คัดสรรมาโดยเฉพาะซึ่งตรงกับไลต์ สไตส์ของสมาชิก และสมาชิกยังสามารถ ค้นหาสถานที่ของร้านค้าที่ร่วมมอบสิทธิ พิเศษให้กับสมาชิก นอกจากนี้สมาชิก นอกจากจะสามารถตรวจสอบคะแนน สะสมคงเหลือจากบัตร PTT Blue Card แล้วสมาชิกยังสามารถที่จะอัพเดทข้อมูล ส่วนตัวได้” ณัฐพล กล่าวและว่า ความร่วมมือระหว่าง ปตท. และ บริษัท บัซซี่บีส์ เป็นการตอกยl้ำในการ มอบสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ให้กับ ผู้บริโภคอย่างครบวงจร ทั้งทางด้าน ณัฐพล ชูจิตารมย์ ฝ่ายกลยุทธ์ ตลาดขายปลีก บริษัท ปตท. จlำกัด (มหาชน) เล่าว่า บริษัทได้เล็งเห็นความ สlำคัญในการทlำ ซีอาร์เอ็ม กับผู้บริโภค จึงได้จัดทlำ Loyalty Program ขึ้นมา โดยมีบัตรสะสมคะแนน PTT Blue Card เป็นหนึ่งในเครื่องมือการบริหารความ สัมพันธ์กับลูกค้า ซึ่งปัจุบันมีสมาชิกว่า 700,000 ราย โดยนอกจากบัตรจะให้สิทธิ ประโยชน์กับลูกค้าสมาชิกแล้ว ยังได้มอบ สิทธิพิเศษให้กับลูกค้า ในการใช้บริการ ร้านค้าชั้นนlำกว่า 200 แห่งที่เป็นพันธมิตร กับ ปตท. ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกบัตรฯ เกิด ความพึงพอใจในบริการและประสบการณ์ สินค้า การบริการและสิทธิพิเศษต่างๆ รวมถึงสามารถตอบสนองความต้องการ และไลต์สไตส์ที่แตกต่างกันของกลุ่ม สมาชิกเพื่อให้ได้รับความพึงพอใจสูงสุด อีกด้วย “ผมมองว่า การทlำซีอาร์เอ็มจะทlำให้ ลูกค้ากลับมาใช้บริการของบริษัทอีกทlำให้ ลูกค้าใช้บริการสะดวก และรวดเร็วมาก ขึ้น รู้สึกผูกพันธ์และกลับมาใช้บริการ ในระยะยาว นอกจากนี้ระบบ บัซซี่บีส์ ยังทlำให้บริษัทมีความสะดวกในการจัด ทlำแคมเปญต่างๆ และบริการใหม่ๆ เพื่อ รองรับและตรงกับความต้องการของ ผู้บริโภคได้มากขึ้นเนื่องจากการทlำ ซีอาร์เอ็ม ทlำให้เข้าใจความต้องการของ ลูกค้าและเรียนรู้พฤติกรรมของผู้บริโภค มากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งทาง ตรงและทางอ้อมกับธุรกิจ” ณัฐพล กล่าว ณัฐพล ชูจิตารมย์
  • 12. บริษัท ดาต้าวัน เอเชีย (ประเทศไทย) จlำกัด บริษัทในเครือ บริษัท เอสวีโอเอ จlำกัด (มหาชน) ผู้ให้บริการโซลูชั่นและเอสไอ นlำระบบบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer Relationship Management หรือ CRM) SalesVision มาช่วยเพิ่มความพึงพอใจในการให้บริการซ่อมบlำรุงเครื่องเอทีเอ็มกับลูกค้าธนาคาร Smart Industry 12 ดาต้าวัน เสริมทัพบริการซ่อมตู้เอทีเอ็มบริหารสต็อกสินค้า โดยบริษัทนlำระบบ SalesVision มาช่วยในการซ่อมและบlำรุงรักษาเครื่องเอทีเอ็ม เมื่อลูกค้าธนาคารมีการแจ้งงานซ่อม ข้อมูลเกี่ยวกับการแจ้งงานซ่อม จะส่งข้อมูลไป ยังระบบการจัดการหลังบ้าน (Back office) ของบริษัท จากนั้นเจ้าหน้าที่ที่ประจlำศูนย์ คอมพิวเตอร์สามารถที่จะแจ้งการซ่อมไปยังเจ้าหน้าที่เทคนิค พร้อมกับข้อมูลการแจ้ง การซ่อมและการบlำรุงรักษาเครื่อง และระหว่างการซ่อมเจ้าหน้าที่เทคนิค สามารถแจ้ง การสถานะการซ่อมและการบlำรุงรักษาเครื่องเอทีเอ็ม ให้กับลูกค้าธนาคารได้ทันที เพื่อ ให้ลูกค้าธนาคารสามารถรับรู้สถานะของเครื่องเอทีเอ็มได้ตลอดเวลา รังสิมันต์ อินทรมาศ รองผู้จัดการทั่วไป บริษัท ดาต้าวัน เอเชีย (ประเทศ ไทย) จlำกัด เล่าว่า ทlำธุรกิจหลักเป็นซิสเต็มอินทีเกรเตอร์ (System integrator) ซึ่ง เป็นผู้ให้บริการ ออกแบบ วางระบบโซลูชั่นคอมพิวเตอร์ และเอทีเอ็ม สวิตชิ่ง เป็น หลัก และบริษัทได้แบ่งธุรกิจหลักออกเป็น 3 กลุ่มธุรกิจ ประกอบด้วย ธุรกิจเอสไอ (System integration) ธุรกิจเอาท์ซอร์สซิ่ง (Outsourcing) และธุรกิจการจัดจlำหน่าย (Distribution) ในส่วนของธุรกิจเอสไอ บริษัทจะร่วมกับพันธมิตรธุรกิจ (Business partners) เพื่อ นlำเสนอโซลูชั่นครบวงจรให้กับลูกค้า เช่น โซลูชั่นของระบบเอทีเอ็ม ระบบธนาคาร (Banking solution) ระบบค้าปลีก (Retail solution) เป็นต้น เพื่อวางระบบให้กับ ลูกค้าและมีทีมบริการหลังการขายช่วยให้บริการลูกค้าด้วย ทางด้านธุรกิจเอาท์ซอร์สซิ่ง เป็นการให้บริการติดตั้งระบบไอทีครบวงจรให้กับ ลูกค้า อาทิ ธนาคารขนาดกลาง เป็นต้น และธุรกิจการจัดจlำหน่าย จะเน้นการเป็น ตัวแทนจlำหน่ายสินค้า เช่น จlำหน่ายอุปกรณ์สวิตซิ่ง อุปกรณ์ไฟร์วอลล์ โดยเน้นลูกค้า ทั่วไป และกลุ่มลูกค้าคอร์ปอเรท นอกจากนี้บริษัทยังพัฒนาเครื่องมือ (Tools) ระบบคอมพิวเตอร์และแอพลิเคชั่น เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าโดยเฉพาะด้วย อาทิ ระบบ SalesVision บริษัทนlำ มาช่วยในการให้บริการลูกค้าธนาคารมากว่า 3 ปี โดยบริษัทนlำระบบบริการหลังการ ขาย (Customer services) ของ SalesVision มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการแจ้ง ซ่อมเครื่องเอทีเอ็มให้กับลูกค้า ทlำให้เจ้าหน้าที่สามารถแจ้งปัญหาและแก้ไขปัญหาใน การซ่อมตู้เอทีเอ็มให้ตรงกับข้อตกลงการให้บริการซ่อมบlำรุงระหว่างธนาคารกับบริษัท (Service-level agreement หรือ SLA) ได้ตามเวลาที่ตกลงกันได้ “ปกติข้อตกลงการให้บริการซ่อมบlำรุงตู้เอทีเอ็มเสีย เมื่อเจ้าหน้าที่ธนาคารมา แจ้งซ่อม มาที่บริษัทระบบ SalesVison จะรวบรวมปัญหาที่เกิดขึ้นมาที่ระบบหลังบ้าน ของบริษัท เจ้าหน้าที่ของบริษัทจะสามารถตรวจเช็คได้ว่าเกิดปัญหาและเหตุการณ์ อะไรขึ้นกับเครื่องเอทีเอ็ม ผ่านสมาร์ทโฟน เมื่อเจ้าหน้าที่สามารถทราบเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้น เจ้าหน้าสามารถที่จะไปซ่อมตู้เอทีเอ็มได้ภายในระยะเวลาที่กlำหนด นับตั้งแต่ 2-4 ชั่วโมง แล้วแต่สถานที่ให้บริการตามข้อตกลงการให้บริการหลังการขายกับลูกค้า ธนาคาร ซึ่งจากเดิมเจ้าหน้าที่เทคนิคจะไม่สามารถได้รับข้อมูลในการแก้ปัญหาได้ครบ ถ้วนและไม่สามารถอัพเดทความก้าวหน้าในการซ่อมบlำรุงกับธนาคารได้ทันที ทlำให้ ธนาคารสามารถรับรู้สถานะการซ่อมได้จากเจ้าหน้าที่เทคนิคด้วย นอกจากนี้ระบบ รังสิมันต์ อินทรมาศ SalesVision ยังมีฟังก์ชั่นช่วยแจ้งการ บlำรุงรักษาเครื่องตามรอบ เพื่อป้องกัน การเกิดปัญหาของเครื่องเอทีเอ็มได้ด้วย” รังสิมันต์ กล่าวและว่า ระบบ SalesVision สามารถใช้งาน ง่าย และผู้ใช้งานสามารถนlำระบบซีอาร์ เอ็มมาช่วยในการบริหารจัดการงานได้ ด้วยตัวเอง ตามความต้องการของผู้ใช้ งานและยังมีความยืดหยุ่นในการใช้งาน ที่ง่าย ทlำให้สามารถทlำงานได้สะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้สามารถ รับรู้ปัญหาที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า ซึ่งทlำให้ สามารถแก้ไขล่วงหน้าหรือจะช่วยป้องกัน ก่อนที่ปัญหาจะเกิดขึ้นล่วงหน้า (Proactive service) ให้กับลูกค้าด้วยเพื่อทlำให้ลูกค้า เกิดความพึงพอใจในการใช้บริการมากยิ่ง ขึ้น เพราะสามารถที่จะต่อยอดในการทlำ ธุรกิจในอนาคตด้วย “ผมมองว่า ซีอาร์เอ็ม เริ่มเข้าไปถึง ตัวของลูกค้ามากขึ้น ในภาพรวมของการ ให้บริการซีอาร์เอ็มเริ่มเข้าไปใกล้ตัวของ พนักงานที่เป็นพนักงานของลูกค้า ให้ได้ รับความพึงพอใจจากเราโดยตรง และ การนlำไอทีมาช่วยในการทlำธุรกิจ ยังช่วย สร้างมูลค่าเพิ่มในการทlำธุรกิจ ช่วย ประหยัดค่าใช้ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการ เดินทาง ซึ่งสามารถเพิ่มความพึงพอใจ ให้กับลูกค้าได้ อาทิ การเพิ่มความ รวดเร็วในการให้บริการกับลูกค้า เป็นต้น” รังสิมันต์ กล่าว
  • 13. เอ ไอ ซิสเต็ม ส่งซอฟต์แวร์ Ai-CRM Enterprise System ช่วยเสริมทัพเอสเอ็มอี Smart Industry 13 จากความตั้งใจในการพัฒนาระบบงาน เอ็นเตอร์ไพร์ส ซิสเต็ม (Enterprise System) สlำหรับองค์กรที่สามารถแข่งขันในตลาดต่างประเทศ เกรียงไกร สุทธินราธร จึงได้ก่อตั้งบริษัท เอ ไอ ซิสเต็ม จlำกัด ขึ้น เมื่อปี 2546 โดยเน้นการพัฒนาซอฟต์แวร์ ในรูปแบบแพคเกจออกสู่ตลาด เกรียงไกร สุทธินราธร กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ ไอ ซิสเต็ม จlำกัด เล่าว่า จากความมุ่งหวังและมีแนวทางทีม่งุ่พฒันาซอฟตแ์วร์ในระดบัเอน็เตอร์ไพรส์ ซิสเต็ม มาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งบริษัท จนถึงปัจจุบัน บริษัทได้พัฒนาซอฟต์แวร์ระบบ Enterprise Resource Planning (ERP) ซึ่งเป็นระบบการวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร โดยรวม เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ได้อย่างสูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร ภายใต้ชื่อ Ai-fac ERP System สlำหรับอุตสาหกรรมการผลิต นอกจากนี้ยังได้พัฒนา ซอฟต์แวร์ Ai-CRM Enterprise System ซึ่งเป็นระบบบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ หรือ ซีอาร์เอ็ม (Customer Relationship Management หรือ CRM) ระบบบริหาร แพลนท์อุตสาหกรรมอัตโนมัติ PIAs System และ ระบบบริหารคลังสินค้า ภายใต้ชื่อ Ai-WMS System เป็นต้น ในส่วนของระบบ Ai-CRM Enterprise System ซึ่งเป็นระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ครบวงจรที่สามารถดูแลลูกค้าได้ครบ 360 องศานั้น บริษัทได้พัฒนาซอฟต์แวร์ที่ สามารถรองรับเว็บเทคโนโลยี โมบายเวอร์ชั่นเพื่อรองรับการใช้งานบนมือถือ รวมทั้ง ระบบ Call Center เวอร์ชั่นที่สามารถทlำงานเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์ Voice over IP (VoIP) และระบบหลังบ้าน (Back Office) ของลูกค้าได้เป็นข้อมูลเดียวกัน “ระบบงาน Ai-CRM Enterprise System เป็นระบบงานบริหารลูกค้าสัมพันธ์ สlำหรับองค์กรขนาดกลางถึงใหญ่ ที่มีข้อมูลของลูกค้าเป็นจlำนวนมาก และต้องการให้ ข้อมูลทั้งหมดอยู่บนระบบเดียวกัน เชื่อมต่อกับทุกช่องทางที่ลูกค้าสามารถติดต่อมาได้ เพื่อช่วยให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้สะดวกและมีความรวดเร็วมากขึ้น” กรรมการ ผู้จัดการกล่าว เกรียงไกร เล่าว่า ระบบ Ai-CRM Enterprise System สามารถเพิ่มศักยภาพของ ธุรกิจได้ในหลายด้าน อาทิ ด้านการขาย ด้านการบริการละด้านการตลาด โดยด้านการขายนั้น ซอฟต์แวร์ Ai-CRM Enterprise System สามารถช่วยเก็บ ข้อมูลโอกาสและการขายตั้งแต่เริ่มต้นให้กับธุรกิจ จนถึงการปิดการขาย ทั้งการขาย ในลักษณะ โครงการ, การขายสินค้า บริหารจัดการ Price List และ Target ของทีม ขายอย่างเป็นระบบ จนถึงการขายเชิงรุกผ่าน Outbound Call Center และบริหาร Customer Visit Rate ทlำให้ทีมบริหารของลูกค้าสามารถ monitoring การขายได้อย่าง เป็นระบบ คาดการณ์ (Forecast) และรับรู้ถึงปัญหาหรือสัญญาณของปัญหาได้อย่าง ทันท่วงที ในส่วนของด้านการบริการนั้น ระบบซอฟต์แวร์ ซีอาร์เอ็ม จะช่วยเก็บข้อมูลการ ขอรับบริการและการตอบสนองการบริการต่างๆขององค์กร เป็นไปตามความคาดหวัง ของลูกค้า ภายใต้มาตรฐานเดียวกันและพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทlำให้ทีมบริหารของ ลูกค้าสามารถตรวจสอบการให้บริการของทีมบริการหลังการขายได้ทันที ทางด้านการตลาด บริษัทนับว่าเป็นส่วนงานที่เป็นจุดเด่นที่สุดของซอฟต์แวร์ Ai-CRM Enterprise System โดยระบบสามารถรวมระบบการติดต่อสื่อสารในทุก ช่องทางทั้ง อีเมล์ (e-Mail) เอสเอ็มเอส (Short Message Service หรือ SMS) และ คอล เซ็นเตอร์ (Call Center) เข้ามาอยู่บนระบบสมาชิกร่วมกัน อีกทั้งมีคุณสมบัติ (Features) ในส่วนของการทlำ Loyalty Program ต่างๆที่มีการอ้างอิง (Site Reference) จากองค์กรขนาดใหญ่เป็นจlำนวนมาก ทlำให้ทีมบริหารไว้ใจได้ถึงการมี One-Stop Solution สlำหรับติดต่อสื่อสารกับลูกค้า ครบวงจร รองรับลูกค้าจlำนวนมากและ การเติบโตไปยังตลาดต่างประเทศ ทั้งใน เรื่องของภาษาและโครงสร้างของระบบที่ ยืดหยุ่นพร้อมสlำหรับการเติบโต “ผมมองว่าระบบ ซีอาร์เอ็มเป็น ระบบที่ชัดเจนมากว่ามีความสlำคัญใน ระดับต้นๆ ไปแล้วกับองค์กร โดยเฉพาะ องค์กรที่ข้อมูลของลูกค้าไม่อยู่เพียงบน ระบบบัญชีหรือ ERP เท่านั้น เนื่องจาก การจะดูแลให้บริการลูกค้าอย่างรวดเร็ว ตรงกับความคาดหวังในบริการที่ลูกค้า ต้องการนั้น ต้องการระบบกลางที่ดึง ข้อมูลของทุกส่วนของ ลูกค้ามาและ มีกระบวนการในการบริหารจัดการ ทั้ง งานที่เร่งด่วนและคงค้างให้เป็นไปตาม มาตรฐานการบริการที่ตรงกับความ ต้องการของลูกค้าได้อย่างแท้จริง เพื่อ สร้างความพึงพอใจสูงสุด และส่งผล ต่อการเป็นลูกค้าต่อเนื่องได้โดยตรง” เกรียงไกร กล่าวและว่า ปัจจุบันบริษัทสามารถนlำเสนอ ซอฟต์แวร์ ระบบงาน Ai-CRM Enterprise System ครอบคลุมความต้องการของ ลูกค้าหลากหลายอุตสาหกรรม อาทิ ลูกค้าที่เป็นห้างสรรพสินค้า หรือศูนย์ขาย ส่ง/ปลีกสินค้าอุปโภคบริโภค อุปกรณ์ ก่อสร้าง กลุ่มลูกค้าที่เป็นศูนย์ขายอุปกรณ์ ไอที หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้ง ศูนย์บริการกลุ่มลูกค้าที่ขายสินค้าอุปโภค บริโภคที่มีช่องทางขายตรงถึงลูกค้า (Direct Marketing Channel) กลุ่มลูกค้า ที่เป็นร้านอาหาร ที่มีสาขาจlำนวนมาก และ กลุ่มลูกค้าที่ขายและให้บริการด้าน เครื่องจักรอุตสาหกรรม เป็นต้น