SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 77
วัฒนธรรมองค์การ
ความหมายและความสาคัญของวัฒนธรรมในองค์การ 
วัฒนธรรมองค์การ เป็นวิถีชีวิตที่คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา ซึ่งจะ 
กลายเป็นนิสัยและความเคยชิน และกลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีประพฤติปฏิบัติ 
ความเชื่อ ค่านิยม รวมทั้งภาษาวัตถุสิ่งของต่าง ๆ วัฒนธรรมทาให้คนรวมตัวกันเป็นสังคม 
มีการอยู่ร่วมกันอย่างมีระเบียบ ผลของวัฒนธรรมจะออกมาในรูปจริยธรรม ตลอดจน 
ค่านิยมที่ใช้ในการตัดสินใจหรือวินิจฉัยสั่งการ จริยธรรมองค์การถือเป็นส่วนสาคัญที่จะทา 
ให้การดาเนินงานขององค์การก้าวหน้าและส่งผลให้องค์การได้รับความเชื่อถือจากสังคม 
ดังนั้นองค์การทุกประเภทจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนาจริยธรรมมาใช้ในการบริหารและ 
แก้ไขปัญหาองค์การอย่างถูกวิธีเพื่อให้ได้รับความเชื่อถือ ภาพพจน์ที่ดี อันนามาซึ่งชื่อเสียง 
เกียรติยศและความก้าวหน้าในระยะยาวขององค์การ
ความหมายและความสาคัญของวัฒนธรรมในองค์การ 
ในองค์การทั้งหลายซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มของคนอย่างมีระเบียบนั้น ถ้าเรามองท่ปี ัจเจกบุคคลจะเห็นว่า 
บุคคลจะกระทาการไปสู่เป้าหมายใด ๆ ได้นั้น เขาอาศัยศูนย์รวมของใจหรือจิตใจเป็นตัวนาดังท่มี กั กล่าวกัน 
ว่า “สาเร็จด้วยใจ” เมื่อปัจเจกบุคคลมารวมกันในองค์การมีจิตใจมากมายแตกต่างกันไป สิ่งที่จะผูกความ 
แตกต่างของจิตใจเหล่าน้ใี ห้อยู่ด้วยกันไดแ้ ละทางานไปในทิศทางเดยี วกนั ได้ หรือมคี ่านิยมในเรอื่ งต่าง ๆ 
โดยเฉพาะค่านิยมทเี่ ก่ยี วกบั งานในหน่วยงานทตี่ นเองมวีิถีชีวิตอยู่สอดคล้องกันได้ สิ่ง ๆ นั้นก็คือ 
“วัฒนธรรม” ในองค์การ การศึกษาวัฒนธรรมในองค์การได้รับความสนใจมากขึ้นในปัจจุบัน เมื่อการ 
เปลี่ยนแปลงของสังคมมีผลกระทบต่อองค์การ โดยเฉพาะในด้านเทคโนโลยี เทคโนโลยีสามารถทาให้งาน 
ง่ายขึ้นและทาให้การทางานในยุคข้อมูลข่าวสารหรือยุคโลกาภิวัฒน์สามารถจัดขนาดองค์การให้เล็กลง มีการ 
กระจายอานาจออกไปให้บริการอย่างกว้างขวางเฉพาะพื้นที่ เฉพาะราย เฉพาะด้าน จนกลุ่มคนเหล่านี้มี 
เป้าหมายเฉพาะของกลุ่ม เช่น กลุ่มนิติกร กลมุ่ บัญชี กลุ่มบริหารงานบุคคล และกลุ่มอื่น ๆ กลุ่มเหล่าน้อี าจ 
มีชื่อเป็นแผนก ฝ่าย กอง กรม หรือกระทรวงก็ได้ อย่างไรก็ดีจะมีสายโยงใยคือ วัฒนธรรมในการทางาน 
เป็นศูนย์รวมของจิตใจจากองค์การต่าง ๆ เพื่อให้องค์การสามารถทางานมุ่งไปสู่ทิศทางเดียวกันได้
ความหมายของวัฒนธรรมในองค์การ 
กอร์ดอน (Gordon. 1999: 342) กล่าวว่าวัฒนธรรมองค์การคือสิ่งที่อธิบาย 
สภาพแวดล้อมภายในองค์การที่รวมเอาข้อสมมุติ ความเชื่อ และค่านิยมที่สมาชิกของ 
องค์การมีร่วมกันและใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อมีปฏิสัมพันธ์กับโครงสร้างอย่าง 
เป็นทางการในการกาหนดรูปแบบพฤติกรรม 
วิรัช สงวนวงศ์วาน (2547: 20) กล่าวว่า วัฒนธรรมองค์การคือค่านิยมและความเชื่อที่มี 
ร่วมกันอย่างเป็นระบบที่เกิดขึ้นในองค์การ และใช้เป็นแนวทางในการกาหนดพฤติกรรมของ 
คนในองค์การนั้น วัฒนธรรมองค์การจึงเป็นเสมือน “บุคลิกภาพ” หรือ “จิตวิญญาณ” ของ 
องค์การ
วัฒนธรรมองค์การ (Moorherad & Griffin 1995: 440) หมายถึง การแสดงให้เห็นถึงค่านิยม 
ความรู้ ความคิด ศีลธรรม ประเพณี เทคโนโลยีตลอดจนสิ่งต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นมา ความเชื่อถือศรัทธา 
ร่วมกันของบรรดาสมาชิกภายในองค์การนั้น ๆ และทั้งแสดงให้เห็นถึงสัญลักษณ์ต่าง ๆ 
เช่น ปรัชญา ตานาน นิยาย เรื่องราว และภาษาพิเศษ ฯลฯ 
โดยสรุป วัฒนธรรมองค์การหมายถึง 
ฐานคติพื้นฐานทมีี่แบบแผนซึ่งถูกประดิษฐ์ค้นพบจากการเรยี นร้โู ดยกลุ่ม 
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาการปรับตัวและถูกถ่ายทอดไปยังสมาชิกในองค์การ
ความสาคัญของ 
วัฒนธรรมองค์การ
อาจกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมเป็นรากฐานที่กาหนดทัศนคติและพฤติกรรมของมนุษย์ 
ในสังคม องค์การซึ่งจัดว่าเป็นสังคมย่อยย่อมมีวัฒนธรรมเป็นหลักในการดารงชีวิต หรือวิถี 
ชีวิต หรือเป็นแบบแผนสาหรับพฤติกรรมในการทางานของมนุษย์ โดยที่สมาชิกในสังคม 
หรือมนุษย์ไม่รู้ตัว ซึ่งคลัคคอน และเคลลี (Kluckhohn and Kelly) เรียกวัฒนธรรม 
ในองค์การว่า เป็นแบบหรือวิถีการดารงชีวิตที่ทาให้องค์การมีเอกลักษณ์ของตนเองต่างไป 
จากองค์การอื่น และแบบการดารงชีวิตนี้สามารถแลกเปลี่ยนกันและกันหรือแพร่กระจาย 
ออกไปได้ในหมู่สมาชิกของสังคม โดยมีการเรียนรู้ผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสังคม 
วัฒนธรรมนี้เปรียบเสมือนเป็นกาวหรือหลักที่ยึดองค์การหรือหน่วยงานให้กลมเกลียวไม่แตก 
สลายลงไปความสาคัญของวัฒนธรรมต่อองค์การ 
มีหลักฐานการศึกษาวิจัยไว้ 3 ประการคือ
วัฒนธรรมองค์การสามารถกาหนดรูปแบบพฤติกรรมขององค์การได้ 
เช่น วัฒนธรรมองค์การที่คนส่วนมากมักวางเฉยต่อปัญหาที่เกิดขึ้นใน 
1 
องค์การ เมื่อวิถีชีวิตทั่วไปสร้างแบบแผนการวางเฉยต่อปัญหา พฤติกรรมการปฏิบัติของ 
มนุษย์ในองค์การก็จะซึมซับเรียนรู้แพร่กระจายในเรื่องการวางเฉย นานเข้าก็จะเป็น 
วัฒนธรรมการวางเฉย และกลายเป็นแบบแผนสาหรับพฤติกรรมมนุษย์ในองค์การนั้น ๆ 
ต่อไป
รูปแบบพฤติกรรมองค์การที่เกิดขึ้นจากวัฒนธรรมองค์การอาจเป็นได้ทั้ง 
ปัจจัยเกื้อกูลหรืออุปสรรคต่อการดาเนินงานขององค์การ โดยเฉพาะอย่าง 
ยิ่งการตัดสินในแก้ไขปัญหาในการบริหารงาน กล่าวคือ วัฒนธรรมจะ 
2 
ส่งผลต่อรูปแบบและเนื้อหาความสัมพันธ์ของบุคคลทั่วไปในองค์การ เช่น ในกรณีที่องค์การมี 
ปัญหาที่เกี่ยวกับงานหรือพฤติกรรมของคน และจาเป็นต้องแก้ไขปัญหาเหลา่ นี้ แต่เมื่อพฤติกรรม 
ของคนที่เกิดจากการยอมรับอานาจของผู้นา และไม่มีความกล้าหาญในการริเริ่มแก้ไขปัญหา ถ้า 
ผู้นาไม่เป็นผู้เริ่มต้นก่อนคือมีวัฒนธรรมยอมตามอย่างไม่ยั้งคิด (Subordination culture)
พฤติกรรมเช่นนี้ก็จะเป็นอุปสรรคในการแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ตนประสบอยู่ร่วมกันอย่างมีความคิดและ 
ริเริ่มสร้างสรรค์ซึ่งความคิดริเริ่มเป็นสิ่งจาเป็น เมื่อแบบแผนการประพฤติถูกปิดกั้นก็จะเกิดการวางแนวปฏิบัติ 
ขึ้นมากันเอง ว่าวิธีการแบบใดในการแก้ไขปัญหาเป็นที่ยอมรับได้ในกลุ่ม (เพราะสอดคล้องกับแบบแผน 
วัฒนธรรมที่กลุ่มมีอยู่ในใจ คือความกลัว) หรือวิธีการแบบใดในการแก้ไขปัญหาเป็นที่ยอมรับไม่ได้ (เพราะขัด 
กับวัฒนธรรมกลุ่มที่มีอยู่ในใจ หรือกลุ่มไม่มีวัฒนธรรมนี้อยู่ คือความกล้าหาญในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์) ใน 
การปฏิบัติงาน หรือในการมีความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในองค์การด้วยกัน วัฒนธรรมจึงเป็นเงื่อนไขสาคัญ 
ควรแก่การระลึกถึงในการศึกษาปัญหาขององค์การทั้งโครงสร้าง กระบวนการ พฤติกรรม และสิ่งแวดล้อมใน 
องค์การ
จากผลงานการศึกษาของ พอล เบท และ เอ็มอีพี สลิกแมน 
(Paul Bate and M.E.P. Seligman) พบว่าวัฒนธรรมจะมีอานาจชักนาให้เกิด 
ภาวการณ์เรียนรู้ต่าง ๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่มี คี วามสาคัญกับองค์การ คือ การ 
3 
เรียนรู้ภาวะช่วยตัวเองไม่ได้ (Learned helplessness) ซึ่งเป็นสถานภาพทางจิตท่คี นจะมีเมื่อเขารับรวู้ ่า 
เขาไม่สามารถควบคุมเป้าหมายในชีวิตของเขาเองได้ และถ้าการรับร้เู ชน่ นี้ได้รบั การยืนยันโดยผู้นั้นมี 
ประสบการณ์ตรง โดยเขาผู้นั้นพบกับตัวเองว่าเป็นเช่นนั้นจริง ๆ ก็จะทาให้การจูงใจในการตอบโต้กับปัญหา 
หายไป กลายเป็นคนย่อท้อต่ออุปสรรคหรือไม่ต่อสู้ให้เป้าหมายขององค์การบรรลุผล วัฒนธรรมการยอมตาม 
ผู้บังคับบัญชาโดยไม่ยั้งคิดจึงก่อให้เกิดพฤติกรรมสิ้นหวังในองค์การ
สภาพแว้ดลอมในของอ้งคการจะมีพลังที้่มีอานาจอย่างหนึ่งคือ 
วัฒนธรรมอ้งคการ : ค่านิยมและบรรทัดฐานที่ยึดถือร่วมกันโดยสมาชิกของ 
อ้งคการที้่ไดกลาย้เปนรากฐานของระบบการบริหารและวิธีการปฏิบัติของ 
พนักงานแล้ะผบูริหารภายในบริษัท พลังนี้จะถูกเรียกว่าวัฒนธรรมอ้งคการ 
ค่านิยมร่วมของวัฒนธรรมอ้งคการจะเรีย้กรองความสนใจต่อสิ้่งสาคัญ 
และระบุแผนของพฤติกรรมที่กลาย้เปนบรรทัดฐาน้นาทางการกร้ะทาสิ่งต่าง ๆ 
ภายในอ้งคการ
วัฒนธรรมอ้งคการจะถูกหยั่งรากลึกในอดีตแต่จะถูกกระทบจาก้ปจจุบันและความคาดหวังในอนาคต 
แนวความคิดของวัฒนธรรมอ้งคการจะมีรากฐานมาจากมานุษยวิทยา วัฒนธรรม วัฒนธรรมอ้งคการจะ้เปน 
การสะสมของความเชื่อ ค่านิยม งานพิธี เรื่องราว้ ตานาน และภาษาพิเศษ ที่กร้ะตุนควา้มรูสึก ความผูกพัน 
ภายในบรรดาสมาชิกของอ้งคการ บุคคลบางคนจะเรียกวัฒนธรรมอ้งคการว่า้เปน “กาวทางสังคม” ที่ผูก 
สมาชิกของอ้งคการ้เข้าดวยกัน วัฒนธรรมอ้งคการจะส้ะทอน้ใหเห็นถึงมุมมองร่วมของ “วิถีทางที่เรากร้ะทากัน 
อยู่ ณ ที่นี่” บางครั้งวัฒนธรรมอ้งคการจะหมายถึงวัฒนธรรมบริษัทเนื่องจากแนวความคิดของวัฒนธรรม 
สามารถ้ใชอธิบายสภาพแว้ดลอมภายในของบริษัท แต่แนวความคิดของวัฒนธรรมสามารถ้ใชอธิบาย 
สภาพแว้ดลอมภายในของอ้งคการที่ไม่มุ้่งกาไ้รดวย เช่น หน่วยงานราชการ อ้งคการการกุศล และพิพิธภัณ้ฑ 
้เปน้ตน วัฒนธรรมจะมีควา้มสาคัญต่ออ้งคการเนื่องจากบุคคลจะการ้ะทาบนพื้นฐานของค่านิยมร่วมและ 
คุณลักษณะอย่างอื่นของวัฒนธรรมอ้งคการ พฤติกรรมของพวกเขาจะมีผลกระทบอย่างมากต่ออ้งคการ
วัฒนธรรมอ้งคการจะถูกพัฒนาขึ้นมาจากหลายแหล่ง เมื่ออ้งคการใหม่ถูกก่อตั้งขึ้นมา วัฒนธรรมมักจะถูก 
พัฒนาขึ้นมาที่ส้ะทอน้ใหเห็นถึงแรงจูงใจและจินตนาการของบุคคลที่เกี่ย้วของ้ ผกู่อตั้งมักจะมีผลกระทบที้่สาคัญ 
ต่อวัฒนธรรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมา ตัวอย่างเช่น เ้รย ครอค้ผกู่อตั้งแมคโดนั้ลด้ไดปลู้กฝงค่านิยมร่วม คุณภาพ 
บริการ ความสะอาด และคุณค่า กับพนักงานทุกคน้ไวอย่า้งเขมแข็งที่ยังคง้เปนความเชื่อของบริษัทอยู่ใน 
้ปจจุบันนี้ “วัฒนธรรมอ้งคการ”้ไดกลาย้เปน้คาที่นิยมแพร่หลายของหารบริหารใน้ปจจุบัน เอ็ดก้าร ไ้ชน 
นักวิชาการและที่ปรึกษา้ได้ใหความหมายของวัฒนธรรมอ้งคการว่า้เปนระบบความเชื่อและค่านิยมร่วมที่ถูก 
พัฒนาขึ้นมาภายในอ้งคการแล้ะนาทางพฤติกรรมของสมาชิกของอ้งคการ และ้เปนพลังเบื้องหลังที่จ้ะกาหนด 
พฤติกรรม เสริมแรงความเชื่อร่วมกัน และกร้ะตุน้ใหสมาชิก้ใชความพยายามอย่างเต็มที่เพื่อที่จะบรรลุ้เปาหมาย 
ของอ้งคการ
องค์ประกอบของวัฒนธรรมองค์การ
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ บริษัทแต่ละบริษัทจะดาเนินงานอยู่ภายในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่เจาะจงที่จะกาหนดประเภทของ 
องค์การที่ต้องการเจริญเติบโต 
ค่านิยม ค่านิยมที่ยึดถือร่วมกันโดยพนักงานทุกคนจะมีคุณลักษณะพื้นฐานขององค์การค่านิยมคือสิ่งที่ผลักดันความ 
พยายามร่วมกันของสมาชิกขององค์การ ค่านิยมจะถูกระบุไว้ภายในเป้าหมายคือคาขวัญของบริษัท 
วีรบุรุษ บุคคลบางคนจะถูกระบุไว้อย่างใกล้ชิดกับวัฒนธรรมองค์การ ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมองค์การของไมโครซอฟท์จะ 
ถูกเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับวีรบุรุษของพวกเขาคือ บิลล์ เกตส์พนักงานสามารถเข้าหาเกตส์โดยตรงผ่านทางระบบ 
อิเล็กทรอนิกส์เมลของบริษัท เกตส์จะพยายามตอบคาถามแต่ละข้อภายในวันที่เขาได้รับ 
ธรรมเนียมปฏิบัติ กิจกรรมและเหตุการณ์ปกติจะเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์การด้วย 
เครือข่ายทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมองค์การจะถูกถ่ายทอดผ่านเครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ เรื่องราวของอุดมคติและวีรบุรุษ 
ของบริษัทก่อนหน้านี้จะถูกถ่ายทอดผ่านเครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ เรื่องราวของอุดมคติและวีรบุรุษของบริษัทก่อนหน้านี้จะ 
ถูกรับรู้ร่วมกันทั่วทั้งองค์การและระหว่างรุ่นของพนักงานที่ต่อเนื่องกัน
เนื่องจากวัฒนธรรมองค์การมีขอบเขตที่กว้าง และมีลักษณะคล้าย ๆ ภูเขา 
น้าแข็ง (Iceberg) คือมีส่วนที่อยู่ข้างบนน้าส่วนหนึ่ง และอยู่ใต้น้าอีกส่วนหนึ่ง 
จึงอาจแบ่งวัฒนธรรมออกได้เป็น 2 ส่วน คือ 
2. ส่วนที่อยลูึ่กลงไป จะมองไม่เห็น (Invisible) แต่เป็นสิ่งที่สมาชิกรับรู้และเข้าใจร่วมกัน เช่น ค่านิยมของ 
องค์การที่สมาชิกรับรู้ เช่น ค่านิยมของ Mcdonald ที่เน้น คุณภาพ บริการความสะอาด และคุณค่าของ 
สินค้าและบริการ หรือความมุ่งมั่น คุณค่าและความเชื่อของบริษัทหรือองค์การ
เนื่องจากวัฒนธรรมองค์การมีขอบเขตที่กว้าง และมีลักษณะคล้าย ๆ ภูเขา 
น้าแข็ง (Iceberg) คือมีส่วนที่อยู่ข้างบนน้าส่วนหนึ่ง และอยู่ใต้น้าอีกส่วนหนึ่ง 
จึงอาจแบ่งวัฒนธรรมออกได้เป็น 2 ส่วน คือ 
1. ส่วนที่มองเห็นได้ (Visible) จะเป็นสิ่งที่สมาชิกองค์การสร้างหรือประดิษฐ์ขึ้นมา เช่น สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ 
(Artifacts) อาทิเช่น รูปปั้นของผู้ก่อตั้งกิจการ และถาวรวัตถุต่าง ๆ เช่น โดมของธรรมศาสตร์ หรือการ 
ตบแต่งอาคารสถานที่ ป้าย สัญลักษณ์ คาขวัญ (Slogan) และพิธีกรรมต่างๆ และการแต่งกาย เป็นต้น
เนื่องจากวัฒนธรรมองค์การมีขอบเขตที่กว้าง และมีลักษณะคล้าย ๆ ภูเขา 
น้าแข็ง (Iceberg) คือมีส่วนที่อยู่ข้างบนน้าส่วนหนึ่ง และอยู่ใต้น้าอีกส่วนหนึ่ง 
จึงอาจแบ่งวัฒนธรรมออกได้เป็น 2 ส่วน คือ
ที่มาของวัฒนธรรมอ้งคการ 1. วัฒนธรรมของสังคมในระดับต่าง ๆ โดยค่านิยม 
ความคิด ความเชื่อ บรรทัดฐานในการประพฤติ 
ปฏิบัติของบุคคลทุกระดับ้ไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรม 
ของสังคมระดับต่าง ๆ ซึ่งแบ่งออก้ได 5 ระดับ คือ 
1)วัฒนธรรมของสังคมระดับนานาชาติ 2)วัฒนธรรม 
ของสังคมระดับชาติ 3)วัฒนธรรมของสังคมระดับ 
ภูมิภาคแล้ะทองถิ่น 4)วัฒนธรรมของธุรกิจ 
อุตสาหกรรม 5)วัฒนธรรมของสาขาอาชีพ
ที่มาของวัฒนธรรมอ้งคการ 2. ลักษณะงานและสภาพแว้ดลอมในกา้รดาเนินงาน 
กล่าวคือในหน่วยงานที่มีลักษณะงานใ้กลเคียงกัน จะ 
มีวัฒนธรรมอ้งคการเหมือนกัน แล้ะถาลักษณะงาน 
ต่างกัน จะมีวัฒนธรรมอ้งคการต่างกัน้ดวย
ที่มาของวัฒนธรรมอ้งคการ 3. ค่านิยม ความเชื่อ และวิสัยทัศ้นขอ้งผกู่อตั้งและ 
้ผ้นูารุ่นแรก ๆ คื้อถามองว่าวัฒนธรรมอ้งคการ้เปน 
พฤติกรรมและการแปลความพฤติกรรมต่าง ๆ ภายใน 
อ้งคการ ตั้วผูก่อตั้ง้ ผ้นูาอ้งคการก็จะมีส่วนในการ 
้สรางแล้ะกาหนดวัฒนธรรมอ้งคการ
ที่มาของวัฒนธรรมอ้งคการ 4. ประสบการ้ณจากกา้รทางานร่วมกันของสมาชิก 
อ้งคการ กล่าวคือเมื่อปฏิบัติตามความเชื่อและ 
วิสัยทัศ้นขอ้งผกู่อตั้งในช่วงเริ่ม้ตน ต่อมาอา้จตอง 
ปรับเปลี่ยนตามการเรีย้นรูที้่ไดจากการปฏิบัติงาน 
ร่วมกัน
ที่มาของวัฒนธรรมอ้งคการ 5. ค่านิยม ความเชื่อ และวิสัยทัศ้นขอ้งผ้นูารุ่นใหม่ 
กล่าวคือในหน่วยงานมักจะ้มีผูมีความคิดริเริ่ม ที่ 
อาจจะ้ไดแสดงบทบาทอยู่ในกลุ้่มผ้นูา จน้เปนที่ 
ยอมรับ โดยมีเงื่อนไข คือเวลา แล้ะปจจัยเกื้อหนุน 
อื่นๆ
ลักษณะของวัฒนธรรม 
ที่จะทาให้องค์การบรรลุประสิทธิผล
จากการศึกษาของ Daniel R. Denison (1990) ในปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การและ 
ประสิทธิผลขององค์การ พบว่าวัฒนธรรมองค์การจะส่งผลต่อประสิทธิผล 
(Effectiveness) ขององค์การเป็นอย่างมาก เมื่อวัฒนธรรมนั้นก่อให้เกิด 
1. การผูกพัน (Involvement) และการมีส่วนร่วมในองค์การ 
2. การปรบั ตวั (Adaptability) ทเี่ หมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทั้งภายในและ 
ภายนอกองค์การ 
3. การประพฤติปฏิบตัิไดส้ มา่ เสมอ (Consistency) ซึ่งจะทาใหเ้ กิดการทางานทปี่ ระสานกันและสามารถ 
คาดหมายพฤติกรรมต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นได้ 
4. มีวิสัยทัศน์และภารกิจขององค์การที่เหมาะสม ทาให้องค์การมีกรอบและทิศทางการดาเนินงานที่ชัดเจน
จากการศึกษาของ Daniel R. Denison (1990) ในปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การและ 
ประสิทธิผลขององค์การ พบว่าวัฒนธรรมองค์การจะส่งผลต่อประสิทธิผล 
(Effectiveness) ขององค์การเป็นอย่างมาก เมื่อวัฒนธรรมนั้นก่อให้เกิด 
ปัจจัยทั้ง 4 ส่วนนี้ จะทาให้องค์การสามารถบรรลุสู่ประสิทธิผล (Effectiveness) ตามที่ 
ต้องการได้ ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การจึงมีความสาคัญที่จะสนับสนุนให้องค์การบรรลุสู่ 
วิสัยทัศน์ และภารกิจที่กาหนดอย่างเหมาะสมได้
ลักษณะของวัฒนธรรมองค์การ
มิติที่ 1 แบ่งเป็น 
1. วัฒนธรรมเด่น (Dominant Culture) จะเป็นลักษณะของคนในองค์การโดยรวม 
ซึ่งจะเห็นได้จากค่านิยมหลักขององค์การนั้น วัฒนธรรมประเภทนี้จะเป็นวัฒนธรรมของคน 
ส่วนใหญ่ที่รับรู้และยอมรับ ตลอดจนเข้าใจร่วมกัน เช่น 
วัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คือ ส่งเสริมประชาธิปไตยและความเสมอภาค 
ตลอดจนมุ่งรับใช้สังคม
มิติที่ 1 แบ่งเป็น 
2. วัฒนธรรมย่อย (Subculture) จะเป็นวัฒนธรรมของกลุ่มงาน แผนกงาน หรือพื้นที่ 
งาน ซึ่งในองค์การหนึ่ง ๆ ที่มีหลายกลุ่มงานหรือแผนกงานก็จะมีวัฒนธรรมย่อย ๆ หลาย 
แบบได้ เช่น ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์แต่ละคณะก็อาจมีวัฒนธรรมย่อยของตนเอง เช่น 
วัฒนธรรมของคณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี ที่เน้นการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ และ 
การมุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้า ซึ่งจะแตกต่างจากวัฒนธรรมของคณะวารสาร 
ศาสตร์และสื่อสารมวลชนที่เน้นความเป็นอิสระของวิชาชีพของสื่อต่าง ๆ เป็นต้น
มิติที่ 2 แบ่งเป็น
วัฒนธรรมที่เข้มแข็ง (Strong Culture) หมายถึง วัฒนธรรมที่มีน้าหนักมาก 
คนเห็นพ้องต้องกันและยอมรับมากจึงเปลี่ยนแปลงยาก วัฒนธรรมที่เข้มแข็งจะมี 
1 
ผลต่อการควบคุมพฤติกรรมได้มาก และทาให้สมาชิกขององค์การมีแรงยึดเหนี่ยวกันสูง มี 
ความจงรักภักดีและผูกพันต่อองค์การมาก ในองค์การทางการทหารหรือในองค์การของชาว 
เกาหลีและญี่ปุ่น จะมีวัฒนธรรมองค์การที่มีน้าหนักและมีความเข้มแข็งมากกว่าองค์การแบบ 
ตะวันตก อันเป็นผลมาจากการได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมประจาชาตินั่นเอง
Deal และ Kennedy (1982) ได้เสนอว่าองค์การที่มีวัฒนธรรมองค์การที่เข้มแข็ง 
จะมีส่วนประกอบของวัฒนธรรมที่สาคัญคือ 
1. มีค่านิยม ซึ่งสะท้อนวิสัยทัศน์ และความเชื่อขององค์การที่ชัดเจน ดังเช่นที่ 3 เอ็มที่มีความเชื่อใน 
การมุ่งสร้างสรรค์นวัตกรรม 
2. มีวีรบุรุษ ซึ่งจะปรากฏอยู่ในเรื่องเล่าขององค์การ เช่น บิลเกตต์จะมีวีรบุรุษที่สาคัญในการสร้าง 
วัฒนธรรมการมุ่งคิดไปข้างหน้าให้เกิดขึ้นแก่ไมโครซอฟท์ 
3. มีพิธีกรรมและพิธีการ เพื่อเป็นการเน้นย้าค่านิยมขององค์การ เช่น พิธีมอบรางวัลดีเด่นให้แก่ 
พนักงานที่มีความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ แก่องค์การ 
4. มีเครือข่ายของวัฒนธรรม ซึ่งจะเป็นวิธีการต่าง ๆ ในการสื่อสารวัฒนธรรมให้ถูกปลูกฝังและเน้น 
ย้าวัฒนธรรมองค์การแก่สมาชิกในองค์การนั้น ๆ เช่น การมีสมุกพกหรือบัตรวัฒนธรรมองค์การติด 
ตัวพนักงาน
โดยทั่วไปพบว่า วัฒนธรรมที่เข้มแข็งจะทาให้สมาชิกยึดมั่นต่อเป้าหมายขององค์การ สร้างแรงจูงใจให้แก่ 
สมาชิก แต่ขณะเดียวกันก็พบว่า องค์การมักจะยึดถือดีและมุ่งเน้นภายในองค์การเป็นสาคัญ ตลอดจนมี 
ความเป็นระบบราชการเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าองค์การนั้น ๆ มีผลประกอบการทางการเงิน 
ที่ประสบความสาเร็จ และถ้าองค์การต้องการเปลี่ยนแปลงก็มักจะเปลี่ยนได้ยาก ตัวอย่างขององค์การที่มี 
วัฒนธรรมที่เข้มแข็ง ได้แก่ วอลมาร์ท สายการบินเซาท์เวสต์บริษัทเครื่องสาอาง แมรี่เคย์สวนสนุกดิสนีย์ 
และฮิวเล็ตแพคการ์ด เป็นต้น
วัฒนธรรมที่อ่อนแอ (Weak Culture) จะเป็นวัฒนธรรมที่คนอาจจะไม่เห็นพ้อง 
ต้องกันมาก และเปลี่ยนแปลงได้ง่าย และไม่ค่อยมีน้าหนักต่อสมาชิกเท่าไรนัก ซึ่ง 
2 
ปรากฏในองค์การที่เพิ่งก่อตั้งหรือองค์การที่มีอายุไม่ยาวนานนัก วัฒนธรรมองค์การจึงอาจ 
ยังไม่มีน้าหนักต่อสมาชิกมากเท่าใดนัก หรืออาจจะเกิดขึ้นในองค์การที่ผู้นาไม่ได้ให้ 
ความสาคัญกับวัฒนธรรมขององค์การมากนัก หรือเนื่องจากองค์การเปิดรับการ 
เปล่ยี นแปลงต่าง ๆ จากสภาพแวดลอ้ มมาก
การที่จะทราบว่าวัฒนธรรมจะเข้มแข็งหรืออ่อนแอนั้น จะต้องพิจารณาถึงระดับความผูกพันของบรรดาเหล่าสมาชิก 
ท้งั หลาย หากความผูกพันของสมาชิกมีสูงมากก็แสดงว่าวฒั นธรรมภายในองค์การนั้นเข้มแข็งซึ่งเป็นเป้าหมายของ 
องค์การ ท้งั นี้สมาชิกทุกคนจะต้องดาเนินการตามเป้าหมายนั้นอย่างอดทนและเสียสละ ทมุ่ เทแรงกายแรงใจให้ด้วย 
ความเต็มใจเป็นการผูกพันทางใจไม่ใช่วัตถุรางวลั แต่อยา่ งใด วฒั นธรรมท่เี ข้มแข็งมีผลต่อพนกั งานสูง ทาใหก้ าร 
ปฏิบตัิงานสูงขึ้น การลาออกจากงานลดน้อยลง ลักษณะท่สี าคัญของวัฒนธรรมที่เข้มแข็งนั้นผกู พันกับ นโยบาย กล 
ยุทธ์ และโครงการของธุรกิจ จะต้องสอดคล้องกับคา่ นิยม เพราะค่านิยมเป็นรากฐานของวัฒนธรรมท่เี ข้มแข็งมี 
บทบาทสาคัญในการเป็นพลังจูงใจแก่เหล่าสมาชิกในองค์การนั้น หากค่านิยมที่ปรากฏสนับสนุนเป้าหมายและกลยุทธ์ 
วฒั นธรรมน้นั ก็จะเป็นทรัพย์สินที่สาคัญทางธุรกิจ ในทางกลับกนั วัฒนธรรมองค์การที่อ่อนแอ ระดับความสัมพันธ์ 
ของบรรดาสมาชิกจะมีน้อย และค่านิยมไม่สอดคล้องกับนโยบาย กลยุทธ์และโครงการของธุรกิจและบรรดาสมาชิกจะ 
มีคา่ นิยมทผีิ่ดจะทาให้วัฒนธรรมเป็นหน้สีิน
วัฒนธรรมทั้งสี่แบบขององค์การ 
(Four Corporate Cultures)
วัฒนธรรมแบบเครื่องจักร 
และ 
วัฒนธรรมแบบคล่องตัว
วัฒนธรรมแบบเครอื่ งจกั ร(Mechanistic Culture) 
ยูพีเอสจะเป็นตัวอย่างที่ดีขององค์การที่มีการควบคุมอย่างเข้มงวด องค์การที่ถูกควบคุมอย่าง 
เข้มงวด อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นองค์การที่มีวัฒนธรรมเครื่องจักร ค่านิยมและความเชื่อร่วมกันจะเป็นการทา 
ตามกัน การอนุรักษนิยม การเชื่อฟังต่อกฎ ความเต็มใจเล่นเป็นทีม และความจงรักภักดี ประสิทธิภาพ 
(กระทาสิ่งที่เรากาลังกระทาอยู่ แต่จงกระทามันให้ดีขึ้น) คือเป้าหมายโดยส่วนรวมภายในวัฒนธรรมแบบ 
เครื่องจักร น่จี ะสะท้อนใหเ้ ห็นจากความเชื่อวา่ สินค้าและบริการพื้นฐานจาเป็นตอ้ งปรับปรุงใหดี้ขึ้น แต่ไม่ใช่ 
เป็นหารเปลี่ยนแปลงทางพื้นฐาน
ข้อดีและข้อเสียโดยธรรมชาติของวัฒนธรรมแบบเครื่องจักร จะไม่มีผลกระทบของวัฒนธรรมแบบเครื่องจัก 
ต่อผลการดาเนินงานของบริษัท จะขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมปละความพอใจของพนักงาน โครงสร้างแบบ 
เครื่องจักรที่มุ่งประสิทธิภาพ จะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมท่คี ่อนข้างจะไม่เปลี่ยนแปลง ภายใน 
สภาพแวดล้อมที่ไม่เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงความพอใจผลิตภัณฑ์/บริการ นโยบายของรัฐ แรงกดดัน 
ทางสังคม เทคโนโลยี และสภาวะเศรษฐกิจจะมีน้อย พนักงานท่พี อใจเปิดกว้างการเปลยี่ นแปลง และความ 
เป็นอิสระอาจจะไม่มีความสุขภายในวัฒนธรรมแบบเครื่องจัก นอกจากนี้วัฒนธรรมแบบเครื่องจักอาจจะ 
แสดงให้เห็นถึงระดับของความไว้วางใจที่ต่าภายในองค์การด้วย บริษัทที่มีวัฒนธรรมแบบเครื่องจักจะมี 
คุณลักษณะต่อไปนี้ คือ
- ความอดทนน้อยต่อสมาชิกทีมีค่านิยม/ความเชื่อไม่ตรงกัน 
- การตัดสินใจจะเกิดขึ้นจากความกลัวว่าจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าเราไม่กระทามัน 
- การทาตามกัน 
- กฎ ข้อบังคับ และระเบียบวีปฏิบัติงาน 
- ความจงรักภักดีต่อระบบ 
- การขาดความเสี่ยงภัย
วัฒนธรรมแบบคล่องตัว (Organic Culture) 
วัฒนธรรมแบบคล่องตัวจะเกี่ยวพันการเปิดโอกาสที่สูงให้กับความหลากหลาย กฎ และ 
ข้อบังคับจะมีน้อยและการเผชิญหน้าความขัดแย้งย่างเปิดเผย 
จุดมงุ่ หมายที่สาคัญจะอยู่ท่กี ารเปลี่ยนแปลงระบบวัฒนธรรม นจี่ ะเป็นหารเปลี่ยนแปลงทาง 
วัฒนธรรมเชิงกลยุทธ์ ได้เปลี่ยนแปลงไปสู้การสนับสนุนการคิดค้นสิ่งใหม่ การแข่งขันได้ภายในตลาดและ 
การทากาไร หรือการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมท่สี ะทอ้ นให้เห็นค่านิยมใหม่เกี่ยวกันบุคคล ประสิทธิภาพ 
และคุณภาพของชีวิตการทางาน นี่จะสะท้อนให้เห็นจากความพยายามเพิ่มประสิทธิภาพอีกด้วย บริษัทที่มี 
วัฒนธรรมแบบคล่องตัวจะมีคุณลักษณะดังตอ่ ไปนี้
- การอดทนต่อความหลากหลาย 
- ความไว้วางใจ 
- หารเผชิญหน้าความขัดแย้งอย่างเปิดเผย 
- การเคารพต่อความเป็นเอกบุคคล 
- ความคล่องตัวและการเปลี่ยนแปลง 
- การป้องกันตัวเองน้อยที่สุดภายในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 
การเปลี่ยนแปลงไปสู่วัฒนธรรมคล่องตัวนี้จะสะท้อนให้เห็นจากสภาพแวดล้อมของบริษัทหลายบริษัท การ 
เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ความพอใจของลูกค้า นโยบายของรัฐ แรงกดดันทางสังคม และสภาวะทาง 
เศรษฐกิจได้เรยี กร้องวัฒนธรรมท่มีุ่งความคล่องตัวมากขึ้น ข้อเสียที่สาคัญของวัฒนธรรมแบบคล่องตัวคือ 
การสูญเสียการควบคุมพนักงานที่สามารถเผชิญกับความไม่แน่นอนและความเสี่ยงภัยกับพนักงานที่ต้องการ 
ความเป็นอิสระและความรับผิดชอบจะพอใจวัฒนธรรมแบบคล่องตัวอย่างแน่นอน
การบริหารในองค์การกับ 
วัฒนธรรมองค์การ
ภาษา (Language) 
ภาษาที่ใช้ในองค์การจะช่วยให้การบริหารงานง่ายขึ้น ถ้าบุคลากรใช้ภาษาเดียวกันและเข้าใจความหมายของ 
ภาษาในแนวเดียวกัน วัฒนธรรมด้านภาษาทั้งที่เป็นคาพูดและกิริยาท่าทางล้วนมีความสัมพันธ์กับการ 
บริหารของกลุ่มทั้งสิ้น ถ้าสมาชิกของกลุ่มไม่สามารถติดต่อกันได้ด้วยความเข้าใจตรงกัน การทางานเป็น 
กลุ่มก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้ ซึ่งจะมีผลต่อการอยู่รอดขององค์การโดยตรง 
วัฒนธรรมใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการแบง่ กลมุ่ ในหมสู่ มาชิกองค์การ (Boundaries) 
เกณฑ์ในการแบ่งกลุ่มในหมู่สมาชิกจะต้องมีและเป็นเอกฉันท์ร่วมกันภายในกลุ่ม เพื่อกาหนดได้ชัดเจนว่าใคร 
เป็นสมาชิกในกลุ่มใดและใครไม่ใช่สมาชิกในกลุ่ม หรือใครควรจะออกไปจากการเป็นสมาชิกของกลุ่มถ้าไม่ 
ปฏิบัติตามเกณฑ์ท่กี ลุ่มตั้งขึ้นอย่างเห็นพ้องต้องกันเป็นเอกฉนั ท์ เกณฑ์ที่เห็นพอ้ งต้องกนั และต้องปฏิบัติได้ 
ต้องมีในองค์การ เพราะเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในวัฒนธรรมองค์การซึ่งเป็นเรื่องของการจัดองค์การและ 
การบริหารงานบุคคล
อานาจและสถานภาพการบริหารงานภายในองค์การจะราบรนื่ ไดเ้ มอื่ สมาชิกของกลมุ่ มมี ตเิป็นเอกฉนั ท์ 
ร่วมกนั ในเรอื่ งการแบ่งสรรอานาจ (Allocation of power) 
และสถานภาพของสมาชิก กล่าวคือ ทุกองค์การต้องจัดลาดับความสาคัญของสมาชิกในองค์การว่าใครเป็น 
ผู้บังคับบัญชา ใครเป็นลูกน้อง บังคับบัญชาลดหลั่นกันไปอย่างชัดเจน ใครควรได้อานาจเมื่อใด ใครควร 
ออกไปจากอานาจหน้าที่เมื่อใด และใครยังคงอยู่ในอานาจต่อไปได้ วัฒนธรรมในเรื่องอานาจและสถานภาพ 
ถ้าชัดเจนก็จะช่วยให้สมาชิกสามารถจัดการกับความรู้สึกที่ก้าวร้าวของเขาเองได้ในการทางานร่วมกันกับ 
ผู้อื่น 
ความเป็นนา้หนงึ่ ใจเดยี วกนั (Intimacy) 
องค์การจะดาเนินงานได้ราบรื่นเพยี งใดย่อมขึ้นอยู่กับเกณฑ์ท่เี ป็นมติเอกฉันท์สาหรับความเป็นน้าหนึ่ง 
เดียวกัน ความเป็นเพื่อนสนิทและความรัก ทุกองค์การต้องมีแนวทางหรือมีกฎเกณฑ์หรือจัดการทาให้ 
ความสัมพันธ์ของสมาชิกในองค์การมีขึ้นให้ได้ ทั้งที่เป็นความสัมพันธ์ระหว่างเพศตรงข้ามที่จะเป็นประโยชน์ 
เกื้อกูลต่อการดาเนินงานขององค์การและเพื่อนร่วมงาน
การให้รางวลั และการลงโทษ (Rewards and Punishment) 
องค์การต้องจูงใจสมาชิกใหท้ างานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วยการมีมติเอกฉนั ท์ร่วมกันในหมู่ 
สมาชิก เรื่องเกณฑ์การจัดสรรรางวัลและการลงโทษ ทุกกลุ่มจะต้องรู้ชัดเจนว่าพฤติกรรมแบบใดจะได้รับ 
รางวัลที่เป็นทรัพย์สิน สถานภาพ และอานาจ พฤติกรรมแบบใดถ้าปฏิบัติจะถูกลงโทษคือไม่ได้รับรางวัล 
และถ้ารุนแรงก็คือการไม่คบค้าด้วยเพราะมีการกาหนดกฎเกณฑ์ที่เป็นมติเอกฉันท์มาก่อนแล้ว 
ถ้าวัฒนธรรมองค์การในการจูงใจชัดเจน การดาเนินงานขององค์การก็จะมีอุปสรรคน้อยลง ผู้บริหารก็จะ 
เหนื่อยต่อการควบคุมและการจูงใจน้อยลงไปด้วย 
อุดมการณ์ (Ideology) 
องค์การจะดาเนินงานราบรื่นถ้าสมาชิกมีมติเอกฉันท์ในเรื่องอุดมการณ์และศาสนา ทุกองค์การก็ 
เหมือนกับทุกสังคมที่ต้องประสบกับเหตุการณ์ที่ไม่สามารถอธิบายได้และควบคุมไม่ได้ องค์การต้องจัดหา 
ความหมายของสิ่งเหล่านี้ให้กับสมาชิกโดยใช้อุดมการณ์และศาสนาเข้าช่วยอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ เพื่อ 
สมาชิกจะไม่วิตกกังวลจนเกินเหตุต่อเหตุการณ์ที่ไม่สามารถอธิบายและควบคุมได
การพัฒนาวัฒนธรรมองค์การที่เข้มแข็ง 
วัฒนธรรมองค์การจะมีส่วนผสมท่แี ตกต่างกนั หลายอย่าง เป้าหมายสูงสุดจะแสดงความหมาย 
ของค่านิยมรว่ ม ส่วนผสมท่สี าคัญอย่างหนึ่งของวัฒนธรรม และจะอยู่ ณ ใจกลางของกรอบข่าย 7S ของ 
แมคคินซีย์เพื่อดาเนินงานขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ S ตัวอื่น สไตล์ โครงสร้าง คน ระบบ กลยุทธ์ 
และทักษะของกรอบข่าย 7-S จะต้องสอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์การ และ S แต่ละตัวจะต้องสอดคล้อง 
ระหว่างกันด้วย 
ค่านิยมร่วมคือความเชื่อรว่ มกนั ตอ่ สิ่งท่อี งค์การยืนหยัดอยู่ ตัวอย่างหนึ่งที่คุ้นเคยคือเรื่องราว 
ความมหัศจรรย์ของแอปเปิ้ลที่เจริญเติบโตจากบริษัทที่อยู่ภายในโรงเก็บรถยนต์กลายเป็นบริษัทหลาย 
พันล้านเหรียญของฟอร์จูน 500 เรื่องราวของแอปเปิ้ลจะเสริมแรงค่านิยมของการเป็นผู้ประกอบการและ 
ความพากเพียรต่อสิ่งที่ไม่น่าจะเป็นไปได้
บริษัทคือองค์การที่มีชวีิต บริษัทจะถูกก่อตั้งขึ้นมาโดยบุคคลและพวกเขาจะสร้างวัฒนธรรมท่ใี ห้ 
ความหมายและความมุ่งหมายของกิจกรรมของพวกเขา วัฒนธรรมองค์การคือ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ 
ค่านิยม และบรรยากาศท่สี รา้ งได้ “วิถีทางทเี่ รากระทาสงิ่ ต่าง ๆ ให้บรรลุความสาเร็จ ณ ที่นี่” 
บริษัททุกบริษัทจะมีวัฒนธรรมองค์การ และวัฒนธรรมจะนาทางสิ่งดาเนินอยู่ภายในบริษัท 
วัฒนธรรมจะมีอิทธิพลต่อวิธีการตัดสินใจของผู้บริหารและพวกเขาจะมีมุมมองต่อสภาพแวดล้อมและกล 
ยุทธ์ของบริษัทอย่างไร 
วัฒนธรรมสามารถจะเป็นจุดแข็งหรือจุดอ่อนได้ วัฒนธรรมจะเป็นจุดแข็งเมื่อมันทาให้การ 
ติดต่อสื่อสารประหยัดและง่าย เอื้ออานวยต่อการตัดสินใจและการควบคุม ส่งเสริมการวางแผนและการ 
ดาเนินกลยุทธ์ และสร้างระดับความร่วมมือความผูกพันที่สูงภายในบริษัท มันจะเป็นจุดอ่อนเมื่อความเชื่อ 
และค่านิยมร่วมที่สาคัญแทรกแซงความต้องการของธุรกิจ กลยุทธ์ของบริษัท และบุคคลที่กาลังทางานใน 
นามบริษัท 
การบรรลุวัฒนธรรมที่เข้มแข็งที่กระตุ้นพนักงานให้มีทัศนคติและแบบแผนของพฤติกรรมที่ดีจะมี 
ความสาคัญต่อองค์กร ถ้าวัฒนธรรมเปิดโอกาสให้กับความคล่องตัวและกระตุ้นการมุ่งภายนอกแล้ว บริษัท 
สามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางสภาพแวดล้อมได้ง่ายขึ้น ความรับผิดชอบที่สาคัญอย่างหนึ่งของ 
ผู้บริหารคือ การระบุค่านิยมขององค์การลากรกากับความสนใจของพนักงานไปสู่สิ่งที่มีความสาคัญ
วัฒนธรรมของบริษัทดีเด่นจะแสดงให้เห็นถึงคุณลักษณะต่อไปนี้ 
การบริการแบบสัมผัสและผลักดันด้วยค่านิยม : การสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมองค์การ 
การกระจายธุรกิจอย่างระมัดระวัง : การหลีกเลี่ยงจากธุรกิจที่ไม่เกี่ยวพันกัน 
โครงสร้างที่เรียบง่ายและสายงานที่ปรึกษาน้อย : โครงสร้างองค์การที่มีระดับการ 
บริหารน้อยระดับและสายงานที่ปรึกษาน้อย 
การควบคุมอย่างเข้มงวดและผ่อนปรนในขณะเดียวกัน : การควบคุมค่านิยม 
แกนกลางอย่างเข้มงวด แต่ความเป็นอิสระ การเป็นผู้ประกอบการ และการคิดค้น 
สิ่งใหม่จะถูกผลักดันไปยังระดับล่าง
วัฒนธรรมของบริษัทดีเด่นจะแสดงให้เห็นถึงคุณลักษณะต่อไปนี้ 
การมุ่งการกระทา : ความเป็นทางการน้อย และความคล่องตัวสูง 
การอยู่ใกล้ชิดกับลูกค้า : การรับเอาแนวความคิดทางการตลาด และการหลงใหลกับ 
คุณภาพความไว้วางใจได้ และ/หรือการบริการ 
ความเป็นอิสระและการเป็นผู้ประกอบการ : การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความเสี่ยงภัย 
การเพิ่มประสิทธิภาพโดยคน : การรักษาบรรยากาศที่ไว้วางใจและการติดต่อสื่อสารแบบ 
สองทางท่ไี หลเวยี นอย่างเสรีเอาไว้
้ปจจัยที่เสริม้สรางวัฒนธรรมอ้งคการ 
1. บทบาทของผกู้ ่อตงั้ วัฒนธรรมจานวนมากโดยเฉพาะ 
อย่างยิ่งวัฒนธรรมที่เข้มแข็งจะสะท้อนค่านิยมของผู้ 
ก่อตั้งองค์การ วัฒนธรรมองค์การจะถูกกาหนดรูปร่าง 
อย่างเข้มแข็งโดยผู้บริหาร โดยปกติวัฒนธรรมจะเริ่มต้น 
เลียนแบบสิงที่ผู้บริหารระดับสูงให้ความสนใจ บางครั้ง 
วัฒนธรรมที่เริ่มต้นโดยผู้ก่อตั้งสามารถสร้างความ 
ขัดแย้งระหว่างผู้บริหารระดับสูงที่ต้องการเห็นองค์การ 
เปลี่ยนแปลงทิศทางได้ 
2. การขัดเกลาทางสงั คม เป็นปัจจัยที่มี 
ส่วนร่วมช่วยสร้างวัฒนธรรมที่ปรากฏ 
ขึ้นมาภายในองค์การอย่างหนึ่งเนื่องจาก 
การขัดเกลาทางสังคมจะเป็นวิธีการที่ 
ความเชื่อค่านิยมและสมมุติฐานทาง 
วัฒนธรรมได้ถูกเรียนรู้
การรักษาวัฒนธรรมให้คงอยู่
1. ผู้บริหารระดบั สงู (Top Management) 
การประพฤติปฏิบัติของผู้บริหารระดับสูงท่สีืบทอดกันมา ทกี่ ระทาตนเป็นแบบอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง 
เพื่อเน้นย้าค่านิยมและวิถีปฏิบัติต่าง ๆ ที่ผู้ก่อตั้งได้สร้างไว้ ตัวอย่างเช่น เอ็ม เค สุกี้ จะกาหนดให้ปีหนึ่งจะ 
มี MK Day โดยผู้บริหารระดับสูงจะไปที่สาขาต่าง ๆ แล้วเข้าไปช่วยบริการลูกค้า เช่น ไปช่วยเสิร์ฟอาหาร 
เดินบิล และล้างจาน 
2. การสรรหาและการคดั เลือก (Recruitment and selection) 
คนประเภทใดที่เราจะรับเข้ามา และจะเจริญก้าวหน้าในองค์การนั้น จะต้องผ่านกลไกการสรรหาและคัดเลือก 
โดยใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกคนท่มี คี วามสามารถและมีทศั นคติท่สี อดคล้องเข้ากันได้ 
กับวัฒนธรรมองค์การเป็นสาคัญ
3. กระบวนการเรยี นรทู้ างสงั คม (Socialization Process) 
เป็นกระบวนการในการปรับพนักงานให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์การ โดยอาศัยแนวทางต่าง ๆ เช่น การ 
ปฐมนิเทศแบบเข้ม โดยการฉายสไลด์และแนะนาบริษัท การให้ข้อมูลในเรื่องวิสัยทัศน์ ภารกิจ ปรัชญาและ 
ค่านิยมขององค์การ และอาจจัดโครงการให้พนักงานเข้าแค้มป์ด้วยกัน 1-2 สัปดาห์หรือเข้ารับการฝึกอบรม 
อย่างเข้มขนที่ศนู ย์ฝึกอบรมหรือท่นีิยมเรียกในปัจจุบันนี้ว่า โรงเรียนสอน เช่น โรงเรียนบ้านไร่กาแฟของ 
บ้านไร่กาแฟ หรือ Hamburger University ของแมคโดนัลล์เป็นต้น 
4. การออกแบบโครงสรา้ ง 
โครงสร้างจะเป็นตัวกาหนดลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายต่าง ๆ และบุคคลต่าง ๆ ในองค์การ เช่น 
การจัดตั้งทีมข้ามสายงาน หรือการกาหนดระดับการควบคุมบังคับบัญชาในองค์การแห่งนั้น
5. ระบบตา่ ง ๆ ขององค์การ 
ระบบต่าง ๆ ขององค์การ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่สาคัญในการทางานขององค์การนั้น ๆ จะมีงานที่ 
เกิดขึ้นประจา เช่น รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน รายไตรมาส หรือรายปี ซึ่งงานจะเกิดซ้า ๆ ดังนั้น 
ระบบงานหรือขั้นตอนการทางานที่ถูกกาหนดซ้า ๆ เหล่านี้ จะถูกออกแบบเพื่อให้เน้นย้าค่านิยมของ 
องค์การ หรือสื่อสารค่านิยมที่สาคัญที่ผู้บริหารต้องการได้ เช่น ที่สายการบิน SAS ซึ่งมีนายเจน คาร์ลสัน 
เป็นผู้บริหารระดับสูง ได้ขอดูรายงานการเข้าออกของสายการบินทุกวัน จึงหล่อหลอมให้พนักงานเขาสนใจ 
ในเรื่องการตรงต่อเวลาการทางานจนทาให้การเข้าออกของเครื่องบินมีอัตราทางการตรงเวลาเพิ่มจาก 
85% เป็น 97% ภายในระยะเวลา 2 ปี 
6. แนวทางในการจดั สรรรางวลั และสถานภาพ 
จะเป็นเครื่องมือในการจูงใจบุคลากรให้คงอยู่ และช่วยในการสื่อสารค่านิยมและการให้ความสาคัญใน 
กิจกรรมหรือเรื่องราวบางอย่างโดยการเชื่อมโยงกับการให้รางวัลหรือสถานภาพบางอย่าง เช่น การให้คา 
ชมเชย หรือรางวัลพิเศษกบั ยอดขายที่เกินกว่าเป้าหมายทตีั่้งไว้ หรือยอดผลิตท่ไี ด้เกินเป้า
วัฒนธรรมที่เป็นตัวบ่งชี้ 
ความสาเร็จและ 
ความล้มเหลว 
ขององค์การ
วัฒนธรรมองค์การที่สามารถนาพาไปสู่ความสาเร็จ 
- รู้จักสัมมาคารวะต่อผู้อื่น 
- รู้จักอ่อนน้อมถ่อมตน 
- มีความอุสาหะ วิริยะ 
- รู้จักทางานเป็นระบบ 
- รู้จักทางานเป็นทีม 
- มีความคิดสร้างสรรค์ 
- ยึดมั่นในคุณธรรม 
- เน้นความเป็นเลิศ 
- มีความรักสามัคคี 
- เชื่อถือศรัทธาในธุรกิจของตน 
- มีความซอื่ สัตย์สุจริต 
- ตรงต่อเวลา 
- รู้จักนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ 
- พยายามขยายตลาดให้กว้างขวาง 
- ขายสินค้าให้ได้มากขึ้น 
- เป็นผู้นาองค์การที่เป็นแบบอย่างแกผู้อื่น 
- ประหยัด ขยัน อดทน 
- ยึดมั่นในสิ่งที่ดี 
- พยายามใหเ้ กิดความขดั แย้งทรีุ่นแรงให้น้อยทสีุ่ด 
- ปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์การ
วัฒนธรรมองค์การที่สามารถนาพาไปสู่ความล้มเหลว 
- ผ้นู าไมซื่่อสัตย์ต่อตนเองและองค์การ 
- ทุจริต ช่อโกง และคอรัปชั่น 
- มีนิสัยฟุ่มเฟือย หูเบา ชอบประจบยกย่องปอปั้น 
- นิยมของต่างประเทศ 
- ทาลายขนบธรรมเนียมท่ดี ีงาม เช่นเลน่ สาดน้าในวันสงกรานต์ 
ที่ไม่สุภาพ 
- วางเป้าหมายปละนโยบายไว้แต่ไม่ปฏิบัติตาม 
- ไม่รักษากฎ ระเบียบ ทาตามใจตนเอง 
- ผ้บู ริหารมีความคิดไม่รอบคอบเปลี่ยนวิธีการบ่อย ๆ ทางานไม่ 
ต่อเนื่อง 
- ชอบความสนุกสนาน ไม่ตั้งใจทางาน 
- ผ้บู ริหารกลัวศูนย์เสียอานาจ ยึดติดในตาแหนง่ มากว่าการ 
ทางาน 
- การรวมธุรกิจท่มี ีวฒั นธรรมองค์การที่แตกต่างกันทาให้เกิดการ 
ขัดแย้งขึ้นได้ 
- ผ้นู าไมเ่ ขา้ ใจในปรัชญาของงาน เป็นต้นว่าในองค์การมีนโยบายให้ 
มีการประกันคุณภาพ แต่ผู้นาไม่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว 
- การยึดมั่นในวัฒนธรรมเดิมไม่ได้สนใจต่อสิ่งแวดล้อมที่ 
เปลี่ยนแปลง 
- ไม่ยอมรับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และการเปลี่ยนแปลง 
- มีวิสัยทัศน์ที่ไม่ยาวไกล 
- ยึดหลักการบริหารที่ให้คนในองค์การแตกแยก ง่ายแก่การ 
ปกครอง 
- มีการบริหารที่สวนทางกับผู้อื่น 
- ไม่มีความจริงใจกับองค์การ 
- ไม่มีภาวะผู้นา 
- ไม่มีความริเริ่มสร้างสรรค์
การจัดการและการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมอ้งคการ 
เนื่องจากวัฒนธรรมองค์การเป็นแบบแผนของฐานคติที่อยู่ลึกลงไปในจิตใจของสมาชิกกลุ่ม โดยที่สมาชิกของกลุ่มมักจะไม่ตระหนัก 
ว่าตนเองมีแบบแผนของฐานคตินั้น แต่ก็ประพฤติปฏิบัติตนไปในแนวทางเสมือนได้แนวทางหรือแบบแผนน้นั มาตามธรรมเนียม 
ปฏิบัติของกลุ่มหรือองค์การเมื่อต้องแก้ไขปัญหาทุกชนิดในการดารงชีวิตและหน้าที่การงาน เช่น ในเรื่องของการทางานเป็นทีมและ 
การสื่อข้อความหรือการคบค้าสมาคมต่อกัน (teamwork and communication) สมาชิกในองค์การหนึ่งมีวัฒนธรรมส่งเสริม 
การทางานของกลุ่มคือ สมาชิกของกลุ่มจะรับฟังและยอมรับความคิดและความเห็นของสมาชิกคนอื่น ๆ และไว้วางใจในกันและกัน แต่ 
ในองค์การที่มีวัฒนธรรมไม่สง่ เสริมการทางานแบบกลุ่มจะมีวัฒนธรรมหรือวิถีการทางานที่ผิดไปจากแนวพฤติกรรมท่มี ีวัฒนธรรม 
แบบส่งเสริมการทางานของกลุ่ม กล่าวคือ สมาชิกจะติฉินนินทาลับหลังกันและกันโดยไม่กล้าเผชิญหน้าเข้าช่วยกันแก้ไขปัญหาอย่าง 
เปิดเผยและสร้างสรรค์ ซึ่งกรณีพฤติกรรมท้งั สองที่แสดงออกแตกต่างกันคือเป็นวัฒนธรรมท่สี ง่ เสริมกบั เป็นวัฒนธรรมที่มีแบบแผน 
ไม่ส่งเสริมการทางานเป็นทีมและรวมตลอดถึงการติดต่อสื่อสารนั้น ก็ย่อมมีที่มาจากแบบแผนของฐานคติรากฐานภายในใจของ 
สมาชิกของแต่ละกลมุ่ ท่กี าหนดการรับรู้ การคิด และความรู้สึก หรือในกรณีที่กลุ่มทางานเกี่ยวกบั การให้บริการลูกค้า วัฒนธรรมที่ 
ส่งเสริมการทางานให้บริการก็จะแสดงออกถึงการเอาใจใส่ในการให้บริการลูกค้า ในขณะที่วัฒนธรรมที่ไม่ส่งเสริมการให้บริการก็จะ 
แสดงออกถึงความไม่เอาใจใส่ต่อการให้บริการลูกค้าและบางครั้งอาจแสดงกิริยาวาจาไม่สุภาพกับลูกค้า
หรือในกรณีที่เป็นเรื่องของการบังคับบัญชา สมาชิกท่มี ีพฤติกรรมไม่สง่ เสริมในเรื่องภาวะผู้นาและการ 
ปกครองบังคับบัญชาจะแสดงออกถึงการปกปิดไม่บอกเล่าถึงปัญหาที่ตนประสบอยู่ในชีวิตและการงาน และ 
ไม่อยากจะพบหรือพยายามหลบหน้าผู้บังคับบัญชา ในขณะที่พฤติกรรมของสมาชิกในองค์การที่ส่งเสริมใน 
เรื่องนี้จะแสดงออกให้เห็นว่า เมื่อสมาชิกเดือดร้อนหรือมีปัญหา สมาชิกก็จะขอความช่วยเหลือจาก 
ผู้บังคับบัญชา หรือในกรณีที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานและความเป็นเลิศ สมาชิกที่แสดงพฤติกรรมส่งเสริมจะ 
แสดงออกให้เห็นถึงความพยายามปรับปรุงการทางานอยู่เสมอแม้ว่าทาได้ดีอยู่แล้ว ผิดกับในองค์การที่ 
สมาชิกมีวัฒนธรรมไม่ส่งเสริมการทางานขององค์การก็จะแสดงพฤติกรรมแบบที่พอใจในมาตรฐานขั้นต่า 
พอให้ผ่านเท่านั้น หรือในกรณีที่เป็นเรื่องของการสร้างนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงในองค์การ สมาชิก 
ที่มีวัฒนธรรมทางส่งเสริมการทางานขององค์การก็จะพยายามปรับปรุงและแสวงหาแนวทางในการทางาน 
ของตนท่ดี ีกว่าอยู่เสมอ ในขณะที่สมาชิกที่มีวัฒนธรรมในทางไมส่ ่งเสริมการทางานขององค์การจะยึดติดอยู่ 
กับการทางานแบบเก่าซึ่งล้าสมัยไปแล้ว ได้เป็นที่ยอมรับกันว่าวัฒนธรรมองค์การเป็นสิ่งที่อยู่ลึกในจิตใจ 
ของคนที่ทางานหรือเป็นสมาชิกในองค์การ วัฒนธรรมแพร่กระจายไปทุกแห่งและครอบคลุมชีวิตทั้งหมดใน 
องค์การ ผู้ที่ทางานอยู่ในองค์การยิ่งนานเท่าใดวัฒนธรรมองค์การก็จะครอบงาบุคคลผู้นั้นมากยิ่งขึ้น 
เทา่ นั้น จนยากที่จะเปลี่ยนแปลงบุคคลเหล่าน้ไี ด้ในเวลาส้นั ๆ
เมอื่ ฝ่ายบริหารจะทาการเปลี่ยนแปลงหรือจัดการเก่ยี วกบั วัฒนธรรมในองค์การ ฝ่ายบริหาร 
จาเป็นต้องคานึงถึงช่วงอายุขององค์การด้วย กล่าวคือการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การให้เป็นไปตาม 
ความประสงค์ของฝ่ายบริหารได้มากน้อยเพียงใด เมื่อใด ควรจะเปลี่ยนอย่างไร ช่วงอายุขององค์การมี 
ความสาคัญในการจัดการนี้เป็นอย่างมาก เพราะวัฒนธรรมองค์การจะทาหน้าที่หลาย ๆ อย่างในเวลาที่ 
แตกต่างกันไป 
องค์การที่เพิ่งเกิดขึ้นถ้ามีวัฒนธรรมแบบยึดเหนี่ยวกลุ่มคนเข้าด้วยกันมันเป็นเสมือนกาว มี 
เอกลักษณ์ และความแข็งแกร่ง กล่าวเจาะจงก็คือ องค์การรุ่นเยาว์ต้องการวัฒนธรรมองค์การแบบยึด 
เหนี่ยวกลุ่มต่าง ๆ เข้าด้วยกันให้เป็นปึกแผ่น การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมจึงมักเกิดขึ้นได้ค่อนข้างน้อย ถ้ามี 
การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมก็จะมีความเข้มข้นเพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจนโปร่งใสขึ้น เพื่อให้การทางาน 
ร่วมกันราบรื่นและเข้าใจถูกต้องกัน เพราะถ้าองค์การรุ่นเยาว์น้สี ามารถดารงอยู่ตอ่ ไปได้ก็แสดงว่า 
วัฒนธรรมแรกเรมิ่ ตา่ ง ๆ ทคีิ่ดประดิษฐ์นามาใช้น้นั แกไ้ ขปัญหาการดาเนินงานได้ดี การแก้ไขจึงเป็นการปรบั 
รากฐานเดิมเลิกน้อย
องค์การที่มีช่วงอายุระยะกลางจะมีวัฒนธรรมที่สามารถนามาจัดการและเปลี่ยนแปลงได้ แต่ 
การเปลี่ยนแปลงนี้จะต้องคานึงถึงว่าวัฒนธรรมทาหน้าที่เป็นหลักของเสถียรภาพ (stability) ของ 
องค์การด้วย 
ยิ่งเป็นองค์การที่เติบโตมาก มีขนาดใหญ่ และทาหน้าที่หลายประการ รวมตลอดถึงตั้งอยู่ใน 
สภาพภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกันไปทั่วโลก และประกอบด้วยกลุ่มคนหลายเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งมี 
วัฒนธรรมเฉพาะของกลุ่มเอง โดยบางกลุ่มก็มีการขัดแย้งในวัฒนธรรมกันเอง เช่น กลุ่มคนทางานใน 
ตะวันตกที่ไปเปิดสาขาบริษัทในประเทศตะวันออก และมีผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นชาวตะวันออก การรับรู้ การ 
คิด และความรู้สึกของคนสองกลุ่มนี้ย่อมแตกต่างกัน การจัดการด้านวัฒนธรรมว่าจะยังคงให้มีวัฒนธรรม 
ทั้งสองกลุ่มอยู่ด้วยกันเพื่อให้มีความยืดหยุ่นเมื่อเกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงขึ้นมา 
(Environmental turbulence) หรือจะจัดการให้มีการสร้างวัฒนธรรมเฉพาะขึ้นมาใหม่เป็นแบบ 
แข็งแกร่ง (more homogeneous strong) ดังที่มีผู้แนะนามากมาย ก็ยังเป็นเรื่องยากที่จะลง 
ความเห็นได้ทันทีโดยไม่พิจารณาข้อมูลให้ครบถ้วน
ในองค์การที่อยู่ในระยะเติบโตเต็มที่ ซึ่งองค์การมักจะเติบโตน้อยลง การตลาดและผลิตภัณฑ์ 
ลดน้อยลง หรือความมั่นคงภายในสูงมาก มีแต่ความสุขสบายกระทั่งไม่มีการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ อีก 
ต่อไปแล้ว วัฒนธรรมองค์การควรได้รับการเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ ส่วนที่ควรเปลี่ยน ซึ่งการต่อต้านการ 
เปลี่ยนแปลงมักจะรุนแรงมากจากผู้ที่เคยทางานมาก่อน จึงอาจมีการให้คนเก่าออกไปจากตาแหน่งหลายคน 
ยังไม่มีวิธีการสาเร็จรูปในการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในองค์การให้เป็นไปตามความประสงค์ 
ของการบริหาร มีการใช้รูปแบบเทคนิคต่าง ๆ มากมายซึ่งก็ทาให้องค์การสามารถประสบความสาเร็จได้ มี 
ท้งั การบังคับการเปลยี่ นแปลงทนั ทีแบบสดุโต่งด้านหนงึ่ กบั การพาเขวอย่างมเี ลศนยั หรือการเปลยี่ นแปลง 
แบบไม่ให้ร้ตู ัวโดยใช้เทคโนโลยีแบบใหม่เข้ามาช่วยอีกดา้ นหนึ่ง 
การจะเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การได้นั้น ผู้เปลี่ยนจาเป็นต้องทาการหาข้อมูลที่จาเป็นหรือ 
การตีความวัฒนธรรมองค์การให้ง่ายขึ้นให้ออกมาเป็นภาษาธรรมดา การหาข้อมูลทาได้โดยการสัมภาษณ์ 
การสังเกตการณ์ และการศึกษาร่วมกัน ซึ่งผู้ศึกษาร่วมกับผู้ถูกศึกษาที่เลือกสรรแล้วจากองค์การนั้น ๆ 
เพื่อเปิดเผยฐานคติใต้สานึก ซึ่งเชื่อว่าเป็นแก่นของวัฒนธรรม แต่จะต้องทาการศึกษาองค์การจานวนมาก 
และนาผลการศึกษาน้นั มาสมั พนั ธ์กบั ยุทธวิธีขององค์การ โครงสร้างขององค์การ และประสิทธิผลของ 
องค์การต่อไป
ทาไมจึงเกิดการเปลี่ยนแปลง 
วัฒนธรรมองค์การ
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การwanna2728
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environmentKan Yuenyong
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 

Mais procurados (20)

ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environment
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 

Semelhante a วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)

Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization CultureKomsun See
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรWatcharasak Chantong
 
วัฒธนธรรมองค์กร
วัฒธนธรรมองค์กรวัฒธนธรรมองค์กร
วัฒธนธรรมองค์กรWatcharasak Chantong
 
วัฒนธรรมองค์กรสวนกุหลาบ ครูจรูญรัตน์.pptx
วัฒนธรรมองค์กรสวนกุหลาบ ครูจรูญรัตน์.pptxวัฒนธรรมองค์กรสวนกุหลาบ ครูจรูญรัตน์.pptx
วัฒนธรรมองค์กรสวนกุหลาบ ครูจรูญรัตน์.pptxPattarojKamonrojsiri1
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...นิพ พิทา
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2Sutee Tee
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2Sutee Tee
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมthnaporn999
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 

Semelhante a วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture) (20)

Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization Culture
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
 
สังคมประกิต
สังคมประกิตสังคมประกิต
สังคมประกิต
 
วัฒธนธรรมองค์กร
วัฒธนธรรมองค์กรวัฒธนธรรมองค์กร
วัฒธนธรรมองค์กร
 
วัฒนธรรมองค์กรสวนกุหลาบ ครูจรูญรัตน์.pptx
วัฒนธรรมองค์กรสวนกุหลาบ ครูจรูญรัตน์.pptxวัฒนธรรมองค์กรสวนกุหลาบ ครูจรูญรัตน์.pptx
วัฒนธรรมองค์กรสวนกุหลาบ ครูจรูญรัตน์.pptx
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 

Mais de Ritthiporn Lekdee

Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)Ritthiporn Lekdee
 
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)Ritthiporn Lekdee
 
โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)
โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)
โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)Ritthiporn Lekdee
 
กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)
กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)
กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)Ritthiporn Lekdee
 
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)Ritthiporn Lekdee
 
Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)
Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)
Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)Ritthiporn Lekdee
 
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)Ritthiporn Lekdee
 

Mais de Ritthiporn Lekdee (8)

Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
 
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)
 
โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)
โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)
โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)
 
กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)
กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)
กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)
 
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)
Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)
 
Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)
Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)
Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)
 
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)
 
The brain in action
The brain in actionThe brain in action
The brain in action
 

วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)

  • 2. ความหมายและความสาคัญของวัฒนธรรมในองค์การ วัฒนธรรมองค์การ เป็นวิถีชีวิตที่คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา ซึ่งจะ กลายเป็นนิสัยและความเคยชิน และกลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีประพฤติปฏิบัติ ความเชื่อ ค่านิยม รวมทั้งภาษาวัตถุสิ่งของต่าง ๆ วัฒนธรรมทาให้คนรวมตัวกันเป็นสังคม มีการอยู่ร่วมกันอย่างมีระเบียบ ผลของวัฒนธรรมจะออกมาในรูปจริยธรรม ตลอดจน ค่านิยมที่ใช้ในการตัดสินใจหรือวินิจฉัยสั่งการ จริยธรรมองค์การถือเป็นส่วนสาคัญที่จะทา ให้การดาเนินงานขององค์การก้าวหน้าและส่งผลให้องค์การได้รับความเชื่อถือจากสังคม ดังนั้นองค์การทุกประเภทจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนาจริยธรรมมาใช้ในการบริหารและ แก้ไขปัญหาองค์การอย่างถูกวิธีเพื่อให้ได้รับความเชื่อถือ ภาพพจน์ที่ดี อันนามาซึ่งชื่อเสียง เกียรติยศและความก้าวหน้าในระยะยาวขององค์การ
  • 3. ความหมายและความสาคัญของวัฒนธรรมในองค์การ ในองค์การทั้งหลายซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มของคนอย่างมีระเบียบนั้น ถ้าเรามองท่ปี ัจเจกบุคคลจะเห็นว่า บุคคลจะกระทาการไปสู่เป้าหมายใด ๆ ได้นั้น เขาอาศัยศูนย์รวมของใจหรือจิตใจเป็นตัวนาดังท่มี กั กล่าวกัน ว่า “สาเร็จด้วยใจ” เมื่อปัจเจกบุคคลมารวมกันในองค์การมีจิตใจมากมายแตกต่างกันไป สิ่งที่จะผูกความ แตกต่างของจิตใจเหล่าน้ใี ห้อยู่ด้วยกันไดแ้ ละทางานไปในทิศทางเดยี วกนั ได้ หรือมคี ่านิยมในเรอื่ งต่าง ๆ โดยเฉพาะค่านิยมทเี่ ก่ยี วกบั งานในหน่วยงานทตี่ นเองมวีิถีชีวิตอยู่สอดคล้องกันได้ สิ่ง ๆ นั้นก็คือ “วัฒนธรรม” ในองค์การ การศึกษาวัฒนธรรมในองค์การได้รับความสนใจมากขึ้นในปัจจุบัน เมื่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคมมีผลกระทบต่อองค์การ โดยเฉพาะในด้านเทคโนโลยี เทคโนโลยีสามารถทาให้งาน ง่ายขึ้นและทาให้การทางานในยุคข้อมูลข่าวสารหรือยุคโลกาภิวัฒน์สามารถจัดขนาดองค์การให้เล็กลง มีการ กระจายอานาจออกไปให้บริการอย่างกว้างขวางเฉพาะพื้นที่ เฉพาะราย เฉพาะด้าน จนกลุ่มคนเหล่านี้มี เป้าหมายเฉพาะของกลุ่ม เช่น กลุ่มนิติกร กลมุ่ บัญชี กลุ่มบริหารงานบุคคล และกลุ่มอื่น ๆ กลุ่มเหล่าน้อี าจ มีชื่อเป็นแผนก ฝ่าย กอง กรม หรือกระทรวงก็ได้ อย่างไรก็ดีจะมีสายโยงใยคือ วัฒนธรรมในการทางาน เป็นศูนย์รวมของจิตใจจากองค์การต่าง ๆ เพื่อให้องค์การสามารถทางานมุ่งไปสู่ทิศทางเดียวกันได้
  • 4. ความหมายของวัฒนธรรมในองค์การ กอร์ดอน (Gordon. 1999: 342) กล่าวว่าวัฒนธรรมองค์การคือสิ่งที่อธิบาย สภาพแวดล้อมภายในองค์การที่รวมเอาข้อสมมุติ ความเชื่อ และค่านิยมที่สมาชิกของ องค์การมีร่วมกันและใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อมีปฏิสัมพันธ์กับโครงสร้างอย่าง เป็นทางการในการกาหนดรูปแบบพฤติกรรม วิรัช สงวนวงศ์วาน (2547: 20) กล่าวว่า วัฒนธรรมองค์การคือค่านิยมและความเชื่อที่มี ร่วมกันอย่างเป็นระบบที่เกิดขึ้นในองค์การ และใช้เป็นแนวทางในการกาหนดพฤติกรรมของ คนในองค์การนั้น วัฒนธรรมองค์การจึงเป็นเสมือน “บุคลิกภาพ” หรือ “จิตวิญญาณ” ของ องค์การ
  • 5. วัฒนธรรมองค์การ (Moorherad & Griffin 1995: 440) หมายถึง การแสดงให้เห็นถึงค่านิยม ความรู้ ความคิด ศีลธรรม ประเพณี เทคโนโลยีตลอดจนสิ่งต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นมา ความเชื่อถือศรัทธา ร่วมกันของบรรดาสมาชิกภายในองค์การนั้น ๆ และทั้งแสดงให้เห็นถึงสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น ปรัชญา ตานาน นิยาย เรื่องราว และภาษาพิเศษ ฯลฯ โดยสรุป วัฒนธรรมองค์การหมายถึง ฐานคติพื้นฐานทมีี่แบบแผนซึ่งถูกประดิษฐ์ค้นพบจากการเรยี นร้โู ดยกลุ่ม เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาการปรับตัวและถูกถ่ายทอดไปยังสมาชิกในองค์การ
  • 7. อาจกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมเป็นรากฐานที่กาหนดทัศนคติและพฤติกรรมของมนุษย์ ในสังคม องค์การซึ่งจัดว่าเป็นสังคมย่อยย่อมมีวัฒนธรรมเป็นหลักในการดารงชีวิต หรือวิถี ชีวิต หรือเป็นแบบแผนสาหรับพฤติกรรมในการทางานของมนุษย์ โดยที่สมาชิกในสังคม หรือมนุษย์ไม่รู้ตัว ซึ่งคลัคคอน และเคลลี (Kluckhohn and Kelly) เรียกวัฒนธรรม ในองค์การว่า เป็นแบบหรือวิถีการดารงชีวิตที่ทาให้องค์การมีเอกลักษณ์ของตนเองต่างไป จากองค์การอื่น และแบบการดารงชีวิตนี้สามารถแลกเปลี่ยนกันและกันหรือแพร่กระจาย ออกไปได้ในหมู่สมาชิกของสังคม โดยมีการเรียนรู้ผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสังคม วัฒนธรรมนี้เปรียบเสมือนเป็นกาวหรือหลักที่ยึดองค์การหรือหน่วยงานให้กลมเกลียวไม่แตก สลายลงไปความสาคัญของวัฒนธรรมต่อองค์การ มีหลักฐานการศึกษาวิจัยไว้ 3 ประการคือ
  • 8. วัฒนธรรมองค์การสามารถกาหนดรูปแบบพฤติกรรมขององค์การได้ เช่น วัฒนธรรมองค์การที่คนส่วนมากมักวางเฉยต่อปัญหาที่เกิดขึ้นใน 1 องค์การ เมื่อวิถีชีวิตทั่วไปสร้างแบบแผนการวางเฉยต่อปัญหา พฤติกรรมการปฏิบัติของ มนุษย์ในองค์การก็จะซึมซับเรียนรู้แพร่กระจายในเรื่องการวางเฉย นานเข้าก็จะเป็น วัฒนธรรมการวางเฉย และกลายเป็นแบบแผนสาหรับพฤติกรรมมนุษย์ในองค์การนั้น ๆ ต่อไป
  • 9. รูปแบบพฤติกรรมองค์การที่เกิดขึ้นจากวัฒนธรรมองค์การอาจเป็นได้ทั้ง ปัจจัยเกื้อกูลหรืออุปสรรคต่อการดาเนินงานขององค์การ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการตัดสินในแก้ไขปัญหาในการบริหารงาน กล่าวคือ วัฒนธรรมจะ 2 ส่งผลต่อรูปแบบและเนื้อหาความสัมพันธ์ของบุคคลทั่วไปในองค์การ เช่น ในกรณีที่องค์การมี ปัญหาที่เกี่ยวกับงานหรือพฤติกรรมของคน และจาเป็นต้องแก้ไขปัญหาเหลา่ นี้ แต่เมื่อพฤติกรรม ของคนที่เกิดจากการยอมรับอานาจของผู้นา และไม่มีความกล้าหาญในการริเริ่มแก้ไขปัญหา ถ้า ผู้นาไม่เป็นผู้เริ่มต้นก่อนคือมีวัฒนธรรมยอมตามอย่างไม่ยั้งคิด (Subordination culture)
  • 10. พฤติกรรมเช่นนี้ก็จะเป็นอุปสรรคในการแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ตนประสบอยู่ร่วมกันอย่างมีความคิดและ ริเริ่มสร้างสรรค์ซึ่งความคิดริเริ่มเป็นสิ่งจาเป็น เมื่อแบบแผนการประพฤติถูกปิดกั้นก็จะเกิดการวางแนวปฏิบัติ ขึ้นมากันเอง ว่าวิธีการแบบใดในการแก้ไขปัญหาเป็นที่ยอมรับได้ในกลุ่ม (เพราะสอดคล้องกับแบบแผน วัฒนธรรมที่กลุ่มมีอยู่ในใจ คือความกลัว) หรือวิธีการแบบใดในการแก้ไขปัญหาเป็นที่ยอมรับไม่ได้ (เพราะขัด กับวัฒนธรรมกลุ่มที่มีอยู่ในใจ หรือกลุ่มไม่มีวัฒนธรรมนี้อยู่ คือความกล้าหาญในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์) ใน การปฏิบัติงาน หรือในการมีความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในองค์การด้วยกัน วัฒนธรรมจึงเป็นเงื่อนไขสาคัญ ควรแก่การระลึกถึงในการศึกษาปัญหาขององค์การทั้งโครงสร้าง กระบวนการ พฤติกรรม และสิ่งแวดล้อมใน องค์การ
  • 11. จากผลงานการศึกษาของ พอล เบท และ เอ็มอีพี สลิกแมน (Paul Bate and M.E.P. Seligman) พบว่าวัฒนธรรมจะมีอานาจชักนาให้เกิด ภาวการณ์เรียนรู้ต่าง ๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่มี คี วามสาคัญกับองค์การ คือ การ 3 เรียนรู้ภาวะช่วยตัวเองไม่ได้ (Learned helplessness) ซึ่งเป็นสถานภาพทางจิตท่คี นจะมีเมื่อเขารับรวู้ ่า เขาไม่สามารถควบคุมเป้าหมายในชีวิตของเขาเองได้ และถ้าการรับร้เู ชน่ นี้ได้รบั การยืนยันโดยผู้นั้นมี ประสบการณ์ตรง โดยเขาผู้นั้นพบกับตัวเองว่าเป็นเช่นนั้นจริง ๆ ก็จะทาให้การจูงใจในการตอบโต้กับปัญหา หายไป กลายเป็นคนย่อท้อต่ออุปสรรคหรือไม่ต่อสู้ให้เป้าหมายขององค์การบรรลุผล วัฒนธรรมการยอมตาม ผู้บังคับบัญชาโดยไม่ยั้งคิดจึงก่อให้เกิดพฤติกรรมสิ้นหวังในองค์การ
  • 12.
  • 13. สภาพแว้ดลอมในของอ้งคการจะมีพลังที้่มีอานาจอย่างหนึ่งคือ วัฒนธรรมอ้งคการ : ค่านิยมและบรรทัดฐานที่ยึดถือร่วมกันโดยสมาชิกของ อ้งคการที้่ไดกลาย้เปนรากฐานของระบบการบริหารและวิธีการปฏิบัติของ พนักงานแล้ะผบูริหารภายในบริษัท พลังนี้จะถูกเรียกว่าวัฒนธรรมอ้งคการ ค่านิยมร่วมของวัฒนธรรมอ้งคการจะเรีย้กรองความสนใจต่อสิ้่งสาคัญ และระบุแผนของพฤติกรรมที่กลาย้เปนบรรทัดฐาน้นาทางการกร้ะทาสิ่งต่าง ๆ ภายในอ้งคการ
  • 14. วัฒนธรรมอ้งคการจะถูกหยั่งรากลึกในอดีตแต่จะถูกกระทบจาก้ปจจุบันและความคาดหวังในอนาคต แนวความคิดของวัฒนธรรมอ้งคการจะมีรากฐานมาจากมานุษยวิทยา วัฒนธรรม วัฒนธรรมอ้งคการจะ้เปน การสะสมของความเชื่อ ค่านิยม งานพิธี เรื่องราว้ ตานาน และภาษาพิเศษ ที่กร้ะตุนควา้มรูสึก ความผูกพัน ภายในบรรดาสมาชิกของอ้งคการ บุคคลบางคนจะเรียกวัฒนธรรมอ้งคการว่า้เปน “กาวทางสังคม” ที่ผูก สมาชิกของอ้งคการ้เข้าดวยกัน วัฒนธรรมอ้งคการจะส้ะทอน้ใหเห็นถึงมุมมองร่วมของ “วิถีทางที่เรากร้ะทากัน อยู่ ณ ที่นี่” บางครั้งวัฒนธรรมอ้งคการจะหมายถึงวัฒนธรรมบริษัทเนื่องจากแนวความคิดของวัฒนธรรม สามารถ้ใชอธิบายสภาพแว้ดลอมภายในของบริษัท แต่แนวความคิดของวัฒนธรรมสามารถ้ใชอธิบาย สภาพแว้ดลอมภายในของอ้งคการที่ไม่มุ้่งกาไ้รดวย เช่น หน่วยงานราชการ อ้งคการการกุศล และพิพิธภัณ้ฑ ้เปน้ตน วัฒนธรรมจะมีควา้มสาคัญต่ออ้งคการเนื่องจากบุคคลจะการ้ะทาบนพื้นฐานของค่านิยมร่วมและ คุณลักษณะอย่างอื่นของวัฒนธรรมอ้งคการ พฤติกรรมของพวกเขาจะมีผลกระทบอย่างมากต่ออ้งคการ
  • 15. วัฒนธรรมอ้งคการจะถูกพัฒนาขึ้นมาจากหลายแหล่ง เมื่ออ้งคการใหม่ถูกก่อตั้งขึ้นมา วัฒนธรรมมักจะถูก พัฒนาขึ้นมาที่ส้ะทอน้ใหเห็นถึงแรงจูงใจและจินตนาการของบุคคลที่เกี่ย้วของ้ ผกู่อตั้งมักจะมีผลกระทบที้่สาคัญ ต่อวัฒนธรรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมา ตัวอย่างเช่น เ้รย ครอค้ผกู่อตั้งแมคโดนั้ลด้ไดปลู้กฝงค่านิยมร่วม คุณภาพ บริการ ความสะอาด และคุณค่า กับพนักงานทุกคน้ไวอย่า้งเขมแข็งที่ยังคง้เปนความเชื่อของบริษัทอยู่ใน ้ปจจุบันนี้ “วัฒนธรรมอ้งคการ”้ไดกลาย้เปน้คาที่นิยมแพร่หลายของหารบริหารใน้ปจจุบัน เอ็ดก้าร ไ้ชน นักวิชาการและที่ปรึกษา้ได้ใหความหมายของวัฒนธรรมอ้งคการว่า้เปนระบบความเชื่อและค่านิยมร่วมที่ถูก พัฒนาขึ้นมาภายในอ้งคการแล้ะนาทางพฤติกรรมของสมาชิกของอ้งคการ และ้เปนพลังเบื้องหลังที่จ้ะกาหนด พฤติกรรม เสริมแรงความเชื่อร่วมกัน และกร้ะตุน้ใหสมาชิก้ใชความพยายามอย่างเต็มที่เพื่อที่จะบรรลุ้เปาหมาย ของอ้งคการ
  • 17. สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ บริษัทแต่ละบริษัทจะดาเนินงานอยู่ภายในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่เจาะจงที่จะกาหนดประเภทของ องค์การที่ต้องการเจริญเติบโต ค่านิยม ค่านิยมที่ยึดถือร่วมกันโดยพนักงานทุกคนจะมีคุณลักษณะพื้นฐานขององค์การค่านิยมคือสิ่งที่ผลักดันความ พยายามร่วมกันของสมาชิกขององค์การ ค่านิยมจะถูกระบุไว้ภายในเป้าหมายคือคาขวัญของบริษัท วีรบุรุษ บุคคลบางคนจะถูกระบุไว้อย่างใกล้ชิดกับวัฒนธรรมองค์การ ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมองค์การของไมโครซอฟท์จะ ถูกเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับวีรบุรุษของพวกเขาคือ บิลล์ เกตส์พนักงานสามารถเข้าหาเกตส์โดยตรงผ่านทางระบบ อิเล็กทรอนิกส์เมลของบริษัท เกตส์จะพยายามตอบคาถามแต่ละข้อภายในวันที่เขาได้รับ ธรรมเนียมปฏิบัติ กิจกรรมและเหตุการณ์ปกติจะเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์การด้วย เครือข่ายทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมองค์การจะถูกถ่ายทอดผ่านเครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ เรื่องราวของอุดมคติและวีรบุรุษ ของบริษัทก่อนหน้านี้จะถูกถ่ายทอดผ่านเครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ เรื่องราวของอุดมคติและวีรบุรุษของบริษัทก่อนหน้านี้จะ ถูกรับรู้ร่วมกันทั่วทั้งองค์การและระหว่างรุ่นของพนักงานที่ต่อเนื่องกัน
  • 18. เนื่องจากวัฒนธรรมองค์การมีขอบเขตที่กว้าง และมีลักษณะคล้าย ๆ ภูเขา น้าแข็ง (Iceberg) คือมีส่วนที่อยู่ข้างบนน้าส่วนหนึ่ง และอยู่ใต้น้าอีกส่วนหนึ่ง จึงอาจแบ่งวัฒนธรรมออกได้เป็น 2 ส่วน คือ 2. ส่วนที่อยลูึ่กลงไป จะมองไม่เห็น (Invisible) แต่เป็นสิ่งที่สมาชิกรับรู้และเข้าใจร่วมกัน เช่น ค่านิยมของ องค์การที่สมาชิกรับรู้ เช่น ค่านิยมของ Mcdonald ที่เน้น คุณภาพ บริการความสะอาด และคุณค่าของ สินค้าและบริการ หรือความมุ่งมั่น คุณค่าและความเชื่อของบริษัทหรือองค์การ
  • 19. เนื่องจากวัฒนธรรมองค์การมีขอบเขตที่กว้าง และมีลักษณะคล้าย ๆ ภูเขา น้าแข็ง (Iceberg) คือมีส่วนที่อยู่ข้างบนน้าส่วนหนึ่ง และอยู่ใต้น้าอีกส่วนหนึ่ง จึงอาจแบ่งวัฒนธรรมออกได้เป็น 2 ส่วน คือ 1. ส่วนที่มองเห็นได้ (Visible) จะเป็นสิ่งที่สมาชิกองค์การสร้างหรือประดิษฐ์ขึ้นมา เช่น สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ (Artifacts) อาทิเช่น รูปปั้นของผู้ก่อตั้งกิจการ และถาวรวัตถุต่าง ๆ เช่น โดมของธรรมศาสตร์ หรือการ ตบแต่งอาคารสถานที่ ป้าย สัญลักษณ์ คาขวัญ (Slogan) และพิธีกรรมต่างๆ และการแต่งกาย เป็นต้น
  • 20. เนื่องจากวัฒนธรรมองค์การมีขอบเขตที่กว้าง และมีลักษณะคล้าย ๆ ภูเขา น้าแข็ง (Iceberg) คือมีส่วนที่อยู่ข้างบนน้าส่วนหนึ่ง และอยู่ใต้น้าอีกส่วนหนึ่ง จึงอาจแบ่งวัฒนธรรมออกได้เป็น 2 ส่วน คือ
  • 21. ที่มาของวัฒนธรรมอ้งคการ 1. วัฒนธรรมของสังคมในระดับต่าง ๆ โดยค่านิยม ความคิด ความเชื่อ บรรทัดฐานในการประพฤติ ปฏิบัติของบุคคลทุกระดับ้ไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรม ของสังคมระดับต่าง ๆ ซึ่งแบ่งออก้ได 5 ระดับ คือ 1)วัฒนธรรมของสังคมระดับนานาชาติ 2)วัฒนธรรม ของสังคมระดับชาติ 3)วัฒนธรรมของสังคมระดับ ภูมิภาคแล้ะทองถิ่น 4)วัฒนธรรมของธุรกิจ อุตสาหกรรม 5)วัฒนธรรมของสาขาอาชีพ
  • 22. ที่มาของวัฒนธรรมอ้งคการ 2. ลักษณะงานและสภาพแว้ดลอมในกา้รดาเนินงาน กล่าวคือในหน่วยงานที่มีลักษณะงานใ้กลเคียงกัน จะ มีวัฒนธรรมอ้งคการเหมือนกัน แล้ะถาลักษณะงาน ต่างกัน จะมีวัฒนธรรมอ้งคการต่างกัน้ดวย
  • 23. ที่มาของวัฒนธรรมอ้งคการ 3. ค่านิยม ความเชื่อ และวิสัยทัศ้นขอ้งผกู่อตั้งและ ้ผ้นูารุ่นแรก ๆ คื้อถามองว่าวัฒนธรรมอ้งคการ้เปน พฤติกรรมและการแปลความพฤติกรรมต่าง ๆ ภายใน อ้งคการ ตั้วผูก่อตั้ง้ ผ้นูาอ้งคการก็จะมีส่วนในการ ้สรางแล้ะกาหนดวัฒนธรรมอ้งคการ
  • 24. ที่มาของวัฒนธรรมอ้งคการ 4. ประสบการ้ณจากกา้รทางานร่วมกันของสมาชิก อ้งคการ กล่าวคือเมื่อปฏิบัติตามความเชื่อและ วิสัยทัศ้นขอ้งผกู่อตั้งในช่วงเริ่ม้ตน ต่อมาอา้จตอง ปรับเปลี่ยนตามการเรีย้นรูที้่ไดจากการปฏิบัติงาน ร่วมกัน
  • 25. ที่มาของวัฒนธรรมอ้งคการ 5. ค่านิยม ความเชื่อ และวิสัยทัศ้นขอ้งผ้นูารุ่นใหม่ กล่าวคือในหน่วยงานมักจะ้มีผูมีความคิดริเริ่ม ที่ อาจจะ้ไดแสดงบทบาทอยู่ในกลุ้่มผ้นูา จน้เปนที่ ยอมรับ โดยมีเงื่อนไข คือเวลา แล้ะปจจัยเกื้อหนุน อื่นๆ
  • 27. จากการศึกษาของ Daniel R. Denison (1990) ในปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การและ ประสิทธิผลขององค์การ พบว่าวัฒนธรรมองค์การจะส่งผลต่อประสิทธิผล (Effectiveness) ขององค์การเป็นอย่างมาก เมื่อวัฒนธรรมนั้นก่อให้เกิด 1. การผูกพัน (Involvement) และการมีส่วนร่วมในองค์การ 2. การปรบั ตวั (Adaptability) ทเี่ หมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทั้งภายในและ ภายนอกองค์การ 3. การประพฤติปฏิบตัิไดส้ มา่ เสมอ (Consistency) ซึ่งจะทาใหเ้ กิดการทางานทปี่ ระสานกันและสามารถ คาดหมายพฤติกรรมต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นได้ 4. มีวิสัยทัศน์และภารกิจขององค์การที่เหมาะสม ทาให้องค์การมีกรอบและทิศทางการดาเนินงานที่ชัดเจน
  • 28. จากการศึกษาของ Daniel R. Denison (1990) ในปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การและ ประสิทธิผลขององค์การ พบว่าวัฒนธรรมองค์การจะส่งผลต่อประสิทธิผล (Effectiveness) ขององค์การเป็นอย่างมาก เมื่อวัฒนธรรมนั้นก่อให้เกิด ปัจจัยทั้ง 4 ส่วนนี้ จะทาให้องค์การสามารถบรรลุสู่ประสิทธิผล (Effectiveness) ตามที่ ต้องการได้ ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การจึงมีความสาคัญที่จะสนับสนุนให้องค์การบรรลุสู่ วิสัยทัศน์ และภารกิจที่กาหนดอย่างเหมาะสมได้
  • 30. มิติที่ 1 แบ่งเป็น 1. วัฒนธรรมเด่น (Dominant Culture) จะเป็นลักษณะของคนในองค์การโดยรวม ซึ่งจะเห็นได้จากค่านิยมหลักขององค์การนั้น วัฒนธรรมประเภทนี้จะเป็นวัฒนธรรมของคน ส่วนใหญ่ที่รับรู้และยอมรับ ตลอดจนเข้าใจร่วมกัน เช่น วัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คือ ส่งเสริมประชาธิปไตยและความเสมอภาค ตลอดจนมุ่งรับใช้สังคม
  • 31. มิติที่ 1 แบ่งเป็น 2. วัฒนธรรมย่อย (Subculture) จะเป็นวัฒนธรรมของกลุ่มงาน แผนกงาน หรือพื้นที่ งาน ซึ่งในองค์การหนึ่ง ๆ ที่มีหลายกลุ่มงานหรือแผนกงานก็จะมีวัฒนธรรมย่อย ๆ หลาย แบบได้ เช่น ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์แต่ละคณะก็อาจมีวัฒนธรรมย่อยของตนเอง เช่น วัฒนธรรมของคณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี ที่เน้นการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ และ การมุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้า ซึ่งจะแตกต่างจากวัฒนธรรมของคณะวารสาร ศาสตร์และสื่อสารมวลชนที่เน้นความเป็นอิสระของวิชาชีพของสื่อต่าง ๆ เป็นต้น
  • 33. วัฒนธรรมที่เข้มแข็ง (Strong Culture) หมายถึง วัฒนธรรมที่มีน้าหนักมาก คนเห็นพ้องต้องกันและยอมรับมากจึงเปลี่ยนแปลงยาก วัฒนธรรมที่เข้มแข็งจะมี 1 ผลต่อการควบคุมพฤติกรรมได้มาก และทาให้สมาชิกขององค์การมีแรงยึดเหนี่ยวกันสูง มี ความจงรักภักดีและผูกพันต่อองค์การมาก ในองค์การทางการทหารหรือในองค์การของชาว เกาหลีและญี่ปุ่น จะมีวัฒนธรรมองค์การที่มีน้าหนักและมีความเข้มแข็งมากกว่าองค์การแบบ ตะวันตก อันเป็นผลมาจากการได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมประจาชาตินั่นเอง
  • 34. Deal และ Kennedy (1982) ได้เสนอว่าองค์การที่มีวัฒนธรรมองค์การที่เข้มแข็ง จะมีส่วนประกอบของวัฒนธรรมที่สาคัญคือ 1. มีค่านิยม ซึ่งสะท้อนวิสัยทัศน์ และความเชื่อขององค์การที่ชัดเจน ดังเช่นที่ 3 เอ็มที่มีความเชื่อใน การมุ่งสร้างสรรค์นวัตกรรม 2. มีวีรบุรุษ ซึ่งจะปรากฏอยู่ในเรื่องเล่าขององค์การ เช่น บิลเกตต์จะมีวีรบุรุษที่สาคัญในการสร้าง วัฒนธรรมการมุ่งคิดไปข้างหน้าให้เกิดขึ้นแก่ไมโครซอฟท์ 3. มีพิธีกรรมและพิธีการ เพื่อเป็นการเน้นย้าค่านิยมขององค์การ เช่น พิธีมอบรางวัลดีเด่นให้แก่ พนักงานที่มีความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ แก่องค์การ 4. มีเครือข่ายของวัฒนธรรม ซึ่งจะเป็นวิธีการต่าง ๆ ในการสื่อสารวัฒนธรรมให้ถูกปลูกฝังและเน้น ย้าวัฒนธรรมองค์การแก่สมาชิกในองค์การนั้น ๆ เช่น การมีสมุกพกหรือบัตรวัฒนธรรมองค์การติด ตัวพนักงาน
  • 35. โดยทั่วไปพบว่า วัฒนธรรมที่เข้มแข็งจะทาให้สมาชิกยึดมั่นต่อเป้าหมายขององค์การ สร้างแรงจูงใจให้แก่ สมาชิก แต่ขณะเดียวกันก็พบว่า องค์การมักจะยึดถือดีและมุ่งเน้นภายในองค์การเป็นสาคัญ ตลอดจนมี ความเป็นระบบราชการเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าองค์การนั้น ๆ มีผลประกอบการทางการเงิน ที่ประสบความสาเร็จ และถ้าองค์การต้องการเปลี่ยนแปลงก็มักจะเปลี่ยนได้ยาก ตัวอย่างขององค์การที่มี วัฒนธรรมที่เข้มแข็ง ได้แก่ วอลมาร์ท สายการบินเซาท์เวสต์บริษัทเครื่องสาอาง แมรี่เคย์สวนสนุกดิสนีย์ และฮิวเล็ตแพคการ์ด เป็นต้น
  • 36. วัฒนธรรมที่อ่อนแอ (Weak Culture) จะเป็นวัฒนธรรมที่คนอาจจะไม่เห็นพ้อง ต้องกันมาก และเปลี่ยนแปลงได้ง่าย และไม่ค่อยมีน้าหนักต่อสมาชิกเท่าไรนัก ซึ่ง 2 ปรากฏในองค์การที่เพิ่งก่อตั้งหรือองค์การที่มีอายุไม่ยาวนานนัก วัฒนธรรมองค์การจึงอาจ ยังไม่มีน้าหนักต่อสมาชิกมากเท่าใดนัก หรืออาจจะเกิดขึ้นในองค์การที่ผู้นาไม่ได้ให้ ความสาคัญกับวัฒนธรรมขององค์การมากนัก หรือเนื่องจากองค์การเปิดรับการ เปล่ยี นแปลงต่าง ๆ จากสภาพแวดลอ้ มมาก
  • 37. การที่จะทราบว่าวัฒนธรรมจะเข้มแข็งหรืออ่อนแอนั้น จะต้องพิจารณาถึงระดับความผูกพันของบรรดาเหล่าสมาชิก ท้งั หลาย หากความผูกพันของสมาชิกมีสูงมากก็แสดงว่าวฒั นธรรมภายในองค์การนั้นเข้มแข็งซึ่งเป็นเป้าหมายของ องค์การ ท้งั นี้สมาชิกทุกคนจะต้องดาเนินการตามเป้าหมายนั้นอย่างอดทนและเสียสละ ทมุ่ เทแรงกายแรงใจให้ด้วย ความเต็มใจเป็นการผูกพันทางใจไม่ใช่วัตถุรางวลั แต่อยา่ งใด วฒั นธรรมท่เี ข้มแข็งมีผลต่อพนกั งานสูง ทาใหก้ าร ปฏิบตัิงานสูงขึ้น การลาออกจากงานลดน้อยลง ลักษณะท่สี าคัญของวัฒนธรรมที่เข้มแข็งนั้นผกู พันกับ นโยบาย กล ยุทธ์ และโครงการของธุรกิจ จะต้องสอดคล้องกับคา่ นิยม เพราะค่านิยมเป็นรากฐานของวัฒนธรรมท่เี ข้มแข็งมี บทบาทสาคัญในการเป็นพลังจูงใจแก่เหล่าสมาชิกในองค์การนั้น หากค่านิยมที่ปรากฏสนับสนุนเป้าหมายและกลยุทธ์ วฒั นธรรมน้นั ก็จะเป็นทรัพย์สินที่สาคัญทางธุรกิจ ในทางกลับกนั วัฒนธรรมองค์การที่อ่อนแอ ระดับความสัมพันธ์ ของบรรดาสมาชิกจะมีน้อย และค่านิยมไม่สอดคล้องกับนโยบาย กลยุทธ์และโครงการของธุรกิจและบรรดาสมาชิกจะ มีคา่ นิยมทผีิ่ดจะทาให้วัฒนธรรมเป็นหน้สีิน
  • 39.
  • 40.
  • 42. วัฒนธรรมแบบเครอื่ งจกั ร(Mechanistic Culture) ยูพีเอสจะเป็นตัวอย่างที่ดีขององค์การที่มีการควบคุมอย่างเข้มงวด องค์การที่ถูกควบคุมอย่าง เข้มงวด อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นองค์การที่มีวัฒนธรรมเครื่องจักร ค่านิยมและความเชื่อร่วมกันจะเป็นการทา ตามกัน การอนุรักษนิยม การเชื่อฟังต่อกฎ ความเต็มใจเล่นเป็นทีม และความจงรักภักดี ประสิทธิภาพ (กระทาสิ่งที่เรากาลังกระทาอยู่ แต่จงกระทามันให้ดีขึ้น) คือเป้าหมายโดยส่วนรวมภายในวัฒนธรรมแบบ เครื่องจักร น่จี ะสะท้อนใหเ้ ห็นจากความเชื่อวา่ สินค้าและบริการพื้นฐานจาเป็นตอ้ งปรับปรุงใหดี้ขึ้น แต่ไม่ใช่ เป็นหารเปลี่ยนแปลงทางพื้นฐาน
  • 43. ข้อดีและข้อเสียโดยธรรมชาติของวัฒนธรรมแบบเครื่องจักร จะไม่มีผลกระทบของวัฒนธรรมแบบเครื่องจัก ต่อผลการดาเนินงานของบริษัท จะขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมปละความพอใจของพนักงาน โครงสร้างแบบ เครื่องจักรที่มุ่งประสิทธิภาพ จะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมท่คี ่อนข้างจะไม่เปลี่ยนแปลง ภายใน สภาพแวดล้อมที่ไม่เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงความพอใจผลิตภัณฑ์/บริการ นโยบายของรัฐ แรงกดดัน ทางสังคม เทคโนโลยี และสภาวะเศรษฐกิจจะมีน้อย พนักงานท่พี อใจเปิดกว้างการเปลยี่ นแปลง และความ เป็นอิสระอาจจะไม่มีความสุขภายในวัฒนธรรมแบบเครื่องจัก นอกจากนี้วัฒนธรรมแบบเครื่องจักอาจจะ แสดงให้เห็นถึงระดับของความไว้วางใจที่ต่าภายในองค์การด้วย บริษัทที่มีวัฒนธรรมแบบเครื่องจักจะมี คุณลักษณะต่อไปนี้ คือ
  • 44. - ความอดทนน้อยต่อสมาชิกทีมีค่านิยม/ความเชื่อไม่ตรงกัน - การตัดสินใจจะเกิดขึ้นจากความกลัวว่าจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าเราไม่กระทามัน - การทาตามกัน - กฎ ข้อบังคับ และระเบียบวีปฏิบัติงาน - ความจงรักภักดีต่อระบบ - การขาดความเสี่ยงภัย
  • 45. วัฒนธรรมแบบคล่องตัว (Organic Culture) วัฒนธรรมแบบคล่องตัวจะเกี่ยวพันการเปิดโอกาสที่สูงให้กับความหลากหลาย กฎ และ ข้อบังคับจะมีน้อยและการเผชิญหน้าความขัดแย้งย่างเปิดเผย จุดมงุ่ หมายที่สาคัญจะอยู่ท่กี ารเปลี่ยนแปลงระบบวัฒนธรรม นจี่ ะเป็นหารเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรมเชิงกลยุทธ์ ได้เปลี่ยนแปลงไปสู้การสนับสนุนการคิดค้นสิ่งใหม่ การแข่งขันได้ภายในตลาดและ การทากาไร หรือการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมท่สี ะทอ้ นให้เห็นค่านิยมใหม่เกี่ยวกันบุคคล ประสิทธิภาพ และคุณภาพของชีวิตการทางาน นี่จะสะท้อนให้เห็นจากความพยายามเพิ่มประสิทธิภาพอีกด้วย บริษัทที่มี วัฒนธรรมแบบคล่องตัวจะมีคุณลักษณะดังตอ่ ไปนี้
  • 46. - การอดทนต่อความหลากหลาย - ความไว้วางใจ - หารเผชิญหน้าความขัดแย้งอย่างเปิดเผย - การเคารพต่อความเป็นเอกบุคคล - ความคล่องตัวและการเปลี่ยนแปลง - การป้องกันตัวเองน้อยที่สุดภายในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การเปลี่ยนแปลงไปสู่วัฒนธรรมคล่องตัวนี้จะสะท้อนให้เห็นจากสภาพแวดล้อมของบริษัทหลายบริษัท การ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ความพอใจของลูกค้า นโยบายของรัฐ แรงกดดันทางสังคม และสภาวะทาง เศรษฐกิจได้เรยี กร้องวัฒนธรรมท่มีุ่งความคล่องตัวมากขึ้น ข้อเสียที่สาคัญของวัฒนธรรมแบบคล่องตัวคือ การสูญเสียการควบคุมพนักงานที่สามารถเผชิญกับความไม่แน่นอนและความเสี่ยงภัยกับพนักงานที่ต้องการ ความเป็นอิสระและความรับผิดชอบจะพอใจวัฒนธรรมแบบคล่องตัวอย่างแน่นอน
  • 48. ภาษา (Language) ภาษาที่ใช้ในองค์การจะช่วยให้การบริหารงานง่ายขึ้น ถ้าบุคลากรใช้ภาษาเดียวกันและเข้าใจความหมายของ ภาษาในแนวเดียวกัน วัฒนธรรมด้านภาษาทั้งที่เป็นคาพูดและกิริยาท่าทางล้วนมีความสัมพันธ์กับการ บริหารของกลุ่มทั้งสิ้น ถ้าสมาชิกของกลุ่มไม่สามารถติดต่อกันได้ด้วยความเข้าใจตรงกัน การทางานเป็น กลุ่มก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้ ซึ่งจะมีผลต่อการอยู่รอดขององค์การโดยตรง วัฒนธรรมใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการแบง่ กลมุ่ ในหมสู่ มาชิกองค์การ (Boundaries) เกณฑ์ในการแบ่งกลุ่มในหมู่สมาชิกจะต้องมีและเป็นเอกฉันท์ร่วมกันภายในกลุ่ม เพื่อกาหนดได้ชัดเจนว่าใคร เป็นสมาชิกในกลุ่มใดและใครไม่ใช่สมาชิกในกลุ่ม หรือใครควรจะออกไปจากการเป็นสมาชิกของกลุ่มถ้าไม่ ปฏิบัติตามเกณฑ์ท่กี ลุ่มตั้งขึ้นอย่างเห็นพ้องต้องกันเป็นเอกฉนั ท์ เกณฑ์ที่เห็นพอ้ งต้องกนั และต้องปฏิบัติได้ ต้องมีในองค์การ เพราะเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในวัฒนธรรมองค์การซึ่งเป็นเรื่องของการจัดองค์การและ การบริหารงานบุคคล
  • 49. อานาจและสถานภาพการบริหารงานภายในองค์การจะราบรนื่ ไดเ้ มอื่ สมาชิกของกลมุ่ มมี ตเิป็นเอกฉนั ท์ ร่วมกนั ในเรอื่ งการแบ่งสรรอานาจ (Allocation of power) และสถานภาพของสมาชิก กล่าวคือ ทุกองค์การต้องจัดลาดับความสาคัญของสมาชิกในองค์การว่าใครเป็น ผู้บังคับบัญชา ใครเป็นลูกน้อง บังคับบัญชาลดหลั่นกันไปอย่างชัดเจน ใครควรได้อานาจเมื่อใด ใครควร ออกไปจากอานาจหน้าที่เมื่อใด และใครยังคงอยู่ในอานาจต่อไปได้ วัฒนธรรมในเรื่องอานาจและสถานภาพ ถ้าชัดเจนก็จะช่วยให้สมาชิกสามารถจัดการกับความรู้สึกที่ก้าวร้าวของเขาเองได้ในการทางานร่วมกันกับ ผู้อื่น ความเป็นนา้หนงึ่ ใจเดยี วกนั (Intimacy) องค์การจะดาเนินงานได้ราบรื่นเพยี งใดย่อมขึ้นอยู่กับเกณฑ์ท่เี ป็นมติเอกฉันท์สาหรับความเป็นน้าหนึ่ง เดียวกัน ความเป็นเพื่อนสนิทและความรัก ทุกองค์การต้องมีแนวทางหรือมีกฎเกณฑ์หรือจัดการทาให้ ความสัมพันธ์ของสมาชิกในองค์การมีขึ้นให้ได้ ทั้งที่เป็นความสัมพันธ์ระหว่างเพศตรงข้ามที่จะเป็นประโยชน์ เกื้อกูลต่อการดาเนินงานขององค์การและเพื่อนร่วมงาน
  • 50. การให้รางวลั และการลงโทษ (Rewards and Punishment) องค์การต้องจูงใจสมาชิกใหท้ างานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วยการมีมติเอกฉนั ท์ร่วมกันในหมู่ สมาชิก เรื่องเกณฑ์การจัดสรรรางวัลและการลงโทษ ทุกกลุ่มจะต้องรู้ชัดเจนว่าพฤติกรรมแบบใดจะได้รับ รางวัลที่เป็นทรัพย์สิน สถานภาพ และอานาจ พฤติกรรมแบบใดถ้าปฏิบัติจะถูกลงโทษคือไม่ได้รับรางวัล และถ้ารุนแรงก็คือการไม่คบค้าด้วยเพราะมีการกาหนดกฎเกณฑ์ที่เป็นมติเอกฉันท์มาก่อนแล้ว ถ้าวัฒนธรรมองค์การในการจูงใจชัดเจน การดาเนินงานขององค์การก็จะมีอุปสรรคน้อยลง ผู้บริหารก็จะ เหนื่อยต่อการควบคุมและการจูงใจน้อยลงไปด้วย อุดมการณ์ (Ideology) องค์การจะดาเนินงานราบรื่นถ้าสมาชิกมีมติเอกฉันท์ในเรื่องอุดมการณ์และศาสนา ทุกองค์การก็ เหมือนกับทุกสังคมที่ต้องประสบกับเหตุการณ์ที่ไม่สามารถอธิบายได้และควบคุมไม่ได้ องค์การต้องจัดหา ความหมายของสิ่งเหล่านี้ให้กับสมาชิกโดยใช้อุดมการณ์และศาสนาเข้าช่วยอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ เพื่อ สมาชิกจะไม่วิตกกังวลจนเกินเหตุต่อเหตุการณ์ที่ไม่สามารถอธิบายและควบคุมได
  • 51. การพัฒนาวัฒนธรรมองค์การที่เข้มแข็ง วัฒนธรรมองค์การจะมีส่วนผสมท่แี ตกต่างกนั หลายอย่าง เป้าหมายสูงสุดจะแสดงความหมาย ของค่านิยมรว่ ม ส่วนผสมท่สี าคัญอย่างหนึ่งของวัฒนธรรม และจะอยู่ ณ ใจกลางของกรอบข่าย 7S ของ แมคคินซีย์เพื่อดาเนินงานขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ S ตัวอื่น สไตล์ โครงสร้าง คน ระบบ กลยุทธ์ และทักษะของกรอบข่าย 7-S จะต้องสอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์การ และ S แต่ละตัวจะต้องสอดคล้อง ระหว่างกันด้วย ค่านิยมร่วมคือความเชื่อรว่ มกนั ตอ่ สิ่งท่อี งค์การยืนหยัดอยู่ ตัวอย่างหนึ่งที่คุ้นเคยคือเรื่องราว ความมหัศจรรย์ของแอปเปิ้ลที่เจริญเติบโตจากบริษัทที่อยู่ภายในโรงเก็บรถยนต์กลายเป็นบริษัทหลาย พันล้านเหรียญของฟอร์จูน 500 เรื่องราวของแอปเปิ้ลจะเสริมแรงค่านิยมของการเป็นผู้ประกอบการและ ความพากเพียรต่อสิ่งที่ไม่น่าจะเป็นไปได้
  • 52. บริษัทคือองค์การที่มีชวีิต บริษัทจะถูกก่อตั้งขึ้นมาโดยบุคคลและพวกเขาจะสร้างวัฒนธรรมท่ใี ห้ ความหมายและความมุ่งหมายของกิจกรรมของพวกเขา วัฒนธรรมองค์การคือ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ค่านิยม และบรรยากาศท่สี รา้ งได้ “วิถีทางทเี่ รากระทาสงิ่ ต่าง ๆ ให้บรรลุความสาเร็จ ณ ที่นี่” บริษัททุกบริษัทจะมีวัฒนธรรมองค์การ และวัฒนธรรมจะนาทางสิ่งดาเนินอยู่ภายในบริษัท วัฒนธรรมจะมีอิทธิพลต่อวิธีการตัดสินใจของผู้บริหารและพวกเขาจะมีมุมมองต่อสภาพแวดล้อมและกล ยุทธ์ของบริษัทอย่างไร วัฒนธรรมสามารถจะเป็นจุดแข็งหรือจุดอ่อนได้ วัฒนธรรมจะเป็นจุดแข็งเมื่อมันทาให้การ ติดต่อสื่อสารประหยัดและง่าย เอื้ออานวยต่อการตัดสินใจและการควบคุม ส่งเสริมการวางแผนและการ ดาเนินกลยุทธ์ และสร้างระดับความร่วมมือความผูกพันที่สูงภายในบริษัท มันจะเป็นจุดอ่อนเมื่อความเชื่อ และค่านิยมร่วมที่สาคัญแทรกแซงความต้องการของธุรกิจ กลยุทธ์ของบริษัท และบุคคลที่กาลังทางานใน นามบริษัท การบรรลุวัฒนธรรมที่เข้มแข็งที่กระตุ้นพนักงานให้มีทัศนคติและแบบแผนของพฤติกรรมที่ดีจะมี ความสาคัญต่อองค์กร ถ้าวัฒนธรรมเปิดโอกาสให้กับความคล่องตัวและกระตุ้นการมุ่งภายนอกแล้ว บริษัท สามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางสภาพแวดล้อมได้ง่ายขึ้น ความรับผิดชอบที่สาคัญอย่างหนึ่งของ ผู้บริหารคือ การระบุค่านิยมขององค์การลากรกากับความสนใจของพนักงานไปสู่สิ่งที่มีความสาคัญ
  • 53. วัฒนธรรมของบริษัทดีเด่นจะแสดงให้เห็นถึงคุณลักษณะต่อไปนี้ การบริการแบบสัมผัสและผลักดันด้วยค่านิยม : การสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมองค์การ การกระจายธุรกิจอย่างระมัดระวัง : การหลีกเลี่ยงจากธุรกิจที่ไม่เกี่ยวพันกัน โครงสร้างที่เรียบง่ายและสายงานที่ปรึกษาน้อย : โครงสร้างองค์การที่มีระดับการ บริหารน้อยระดับและสายงานที่ปรึกษาน้อย การควบคุมอย่างเข้มงวดและผ่อนปรนในขณะเดียวกัน : การควบคุมค่านิยม แกนกลางอย่างเข้มงวด แต่ความเป็นอิสระ การเป็นผู้ประกอบการ และการคิดค้น สิ่งใหม่จะถูกผลักดันไปยังระดับล่าง
  • 54. วัฒนธรรมของบริษัทดีเด่นจะแสดงให้เห็นถึงคุณลักษณะต่อไปนี้ การมุ่งการกระทา : ความเป็นทางการน้อย และความคล่องตัวสูง การอยู่ใกล้ชิดกับลูกค้า : การรับเอาแนวความคิดทางการตลาด และการหลงใหลกับ คุณภาพความไว้วางใจได้ และ/หรือการบริการ ความเป็นอิสระและการเป็นผู้ประกอบการ : การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความเสี่ยงภัย การเพิ่มประสิทธิภาพโดยคน : การรักษาบรรยากาศที่ไว้วางใจและการติดต่อสื่อสารแบบ สองทางท่ไี หลเวยี นอย่างเสรีเอาไว้
  • 55. ้ปจจัยที่เสริม้สรางวัฒนธรรมอ้งคการ 1. บทบาทของผกู้ ่อตงั้ วัฒนธรรมจานวนมากโดยเฉพาะ อย่างยิ่งวัฒนธรรมที่เข้มแข็งจะสะท้อนค่านิยมของผู้ ก่อตั้งองค์การ วัฒนธรรมองค์การจะถูกกาหนดรูปร่าง อย่างเข้มแข็งโดยผู้บริหาร โดยปกติวัฒนธรรมจะเริ่มต้น เลียนแบบสิงที่ผู้บริหารระดับสูงให้ความสนใจ บางครั้ง วัฒนธรรมที่เริ่มต้นโดยผู้ก่อตั้งสามารถสร้างความ ขัดแย้งระหว่างผู้บริหารระดับสูงที่ต้องการเห็นองค์การ เปลี่ยนแปลงทิศทางได้ 2. การขัดเกลาทางสงั คม เป็นปัจจัยที่มี ส่วนร่วมช่วยสร้างวัฒนธรรมที่ปรากฏ ขึ้นมาภายในองค์การอย่างหนึ่งเนื่องจาก การขัดเกลาทางสังคมจะเป็นวิธีการที่ ความเชื่อค่านิยมและสมมุติฐานทาง วัฒนธรรมได้ถูกเรียนรู้
  • 57. 1. ผู้บริหารระดบั สงู (Top Management) การประพฤติปฏิบัติของผู้บริหารระดับสูงท่สีืบทอดกันมา ทกี่ ระทาตนเป็นแบบอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง เพื่อเน้นย้าค่านิยมและวิถีปฏิบัติต่าง ๆ ที่ผู้ก่อตั้งได้สร้างไว้ ตัวอย่างเช่น เอ็ม เค สุกี้ จะกาหนดให้ปีหนึ่งจะ มี MK Day โดยผู้บริหารระดับสูงจะไปที่สาขาต่าง ๆ แล้วเข้าไปช่วยบริการลูกค้า เช่น ไปช่วยเสิร์ฟอาหาร เดินบิล และล้างจาน 2. การสรรหาและการคดั เลือก (Recruitment and selection) คนประเภทใดที่เราจะรับเข้ามา และจะเจริญก้าวหน้าในองค์การนั้น จะต้องผ่านกลไกการสรรหาและคัดเลือก โดยใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกคนท่มี คี วามสามารถและมีทศั นคติท่สี อดคล้องเข้ากันได้ กับวัฒนธรรมองค์การเป็นสาคัญ
  • 58. 3. กระบวนการเรยี นรทู้ างสงั คม (Socialization Process) เป็นกระบวนการในการปรับพนักงานให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์การ โดยอาศัยแนวทางต่าง ๆ เช่น การ ปฐมนิเทศแบบเข้ม โดยการฉายสไลด์และแนะนาบริษัท การให้ข้อมูลในเรื่องวิสัยทัศน์ ภารกิจ ปรัชญาและ ค่านิยมขององค์การ และอาจจัดโครงการให้พนักงานเข้าแค้มป์ด้วยกัน 1-2 สัปดาห์หรือเข้ารับการฝึกอบรม อย่างเข้มขนที่ศนู ย์ฝึกอบรมหรือท่นีิยมเรียกในปัจจุบันนี้ว่า โรงเรียนสอน เช่น โรงเรียนบ้านไร่กาแฟของ บ้านไร่กาแฟ หรือ Hamburger University ของแมคโดนัลล์เป็นต้น 4. การออกแบบโครงสรา้ ง โครงสร้างจะเป็นตัวกาหนดลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายต่าง ๆ และบุคคลต่าง ๆ ในองค์การ เช่น การจัดตั้งทีมข้ามสายงาน หรือการกาหนดระดับการควบคุมบังคับบัญชาในองค์การแห่งนั้น
  • 59. 5. ระบบตา่ ง ๆ ขององค์การ ระบบต่าง ๆ ขององค์การ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่สาคัญในการทางานขององค์การนั้น ๆ จะมีงานที่ เกิดขึ้นประจา เช่น รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน รายไตรมาส หรือรายปี ซึ่งงานจะเกิดซ้า ๆ ดังนั้น ระบบงานหรือขั้นตอนการทางานที่ถูกกาหนดซ้า ๆ เหล่านี้ จะถูกออกแบบเพื่อให้เน้นย้าค่านิยมของ องค์การ หรือสื่อสารค่านิยมที่สาคัญที่ผู้บริหารต้องการได้ เช่น ที่สายการบิน SAS ซึ่งมีนายเจน คาร์ลสัน เป็นผู้บริหารระดับสูง ได้ขอดูรายงานการเข้าออกของสายการบินทุกวัน จึงหล่อหลอมให้พนักงานเขาสนใจ ในเรื่องการตรงต่อเวลาการทางานจนทาให้การเข้าออกของเครื่องบินมีอัตราทางการตรงเวลาเพิ่มจาก 85% เป็น 97% ภายในระยะเวลา 2 ปี 6. แนวทางในการจดั สรรรางวลั และสถานภาพ จะเป็นเครื่องมือในการจูงใจบุคลากรให้คงอยู่ และช่วยในการสื่อสารค่านิยมและการให้ความสาคัญใน กิจกรรมหรือเรื่องราวบางอย่างโดยการเชื่อมโยงกับการให้รางวัลหรือสถานภาพบางอย่าง เช่น การให้คา ชมเชย หรือรางวัลพิเศษกบั ยอดขายที่เกินกว่าเป้าหมายทตีั่้งไว้ หรือยอดผลิตท่ไี ด้เกินเป้า
  • 61. วัฒนธรรมองค์การที่สามารถนาพาไปสู่ความสาเร็จ - รู้จักสัมมาคารวะต่อผู้อื่น - รู้จักอ่อนน้อมถ่อมตน - มีความอุสาหะ วิริยะ - รู้จักทางานเป็นระบบ - รู้จักทางานเป็นทีม - มีความคิดสร้างสรรค์ - ยึดมั่นในคุณธรรม - เน้นความเป็นเลิศ - มีความรักสามัคคี - เชื่อถือศรัทธาในธุรกิจของตน - มีความซอื่ สัตย์สุจริต - ตรงต่อเวลา - รู้จักนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ - พยายามขยายตลาดให้กว้างขวาง - ขายสินค้าให้ได้มากขึ้น - เป็นผู้นาองค์การที่เป็นแบบอย่างแกผู้อื่น - ประหยัด ขยัน อดทน - ยึดมั่นในสิ่งที่ดี - พยายามใหเ้ กิดความขดั แย้งทรีุ่นแรงให้น้อยทสีุ่ด - ปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์การ
  • 62. วัฒนธรรมองค์การที่สามารถนาพาไปสู่ความล้มเหลว - ผ้นู าไมซื่่อสัตย์ต่อตนเองและองค์การ - ทุจริต ช่อโกง และคอรัปชั่น - มีนิสัยฟุ่มเฟือย หูเบา ชอบประจบยกย่องปอปั้น - นิยมของต่างประเทศ - ทาลายขนบธรรมเนียมท่ดี ีงาม เช่นเลน่ สาดน้าในวันสงกรานต์ ที่ไม่สุภาพ - วางเป้าหมายปละนโยบายไว้แต่ไม่ปฏิบัติตาม - ไม่รักษากฎ ระเบียบ ทาตามใจตนเอง - ผ้บู ริหารมีความคิดไม่รอบคอบเปลี่ยนวิธีการบ่อย ๆ ทางานไม่ ต่อเนื่อง - ชอบความสนุกสนาน ไม่ตั้งใจทางาน - ผ้บู ริหารกลัวศูนย์เสียอานาจ ยึดติดในตาแหนง่ มากว่าการ ทางาน - การรวมธุรกิจท่มี ีวฒั นธรรมองค์การที่แตกต่างกันทาให้เกิดการ ขัดแย้งขึ้นได้ - ผ้นู าไมเ่ ขา้ ใจในปรัชญาของงาน เป็นต้นว่าในองค์การมีนโยบายให้ มีการประกันคุณภาพ แต่ผู้นาไม่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว - การยึดมั่นในวัฒนธรรมเดิมไม่ได้สนใจต่อสิ่งแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลง - ไม่ยอมรับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และการเปลี่ยนแปลง - มีวิสัยทัศน์ที่ไม่ยาวไกล - ยึดหลักการบริหารที่ให้คนในองค์การแตกแยก ง่ายแก่การ ปกครอง - มีการบริหารที่สวนทางกับผู้อื่น - ไม่มีความจริงใจกับองค์การ - ไม่มีภาวะผู้นา - ไม่มีความริเริ่มสร้างสรรค์
  • 63. การจัดการและการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมอ้งคการ เนื่องจากวัฒนธรรมองค์การเป็นแบบแผนของฐานคติที่อยู่ลึกลงไปในจิตใจของสมาชิกกลุ่ม โดยที่สมาชิกของกลุ่มมักจะไม่ตระหนัก ว่าตนเองมีแบบแผนของฐานคตินั้น แต่ก็ประพฤติปฏิบัติตนไปในแนวทางเสมือนได้แนวทางหรือแบบแผนน้นั มาตามธรรมเนียม ปฏิบัติของกลุ่มหรือองค์การเมื่อต้องแก้ไขปัญหาทุกชนิดในการดารงชีวิตและหน้าที่การงาน เช่น ในเรื่องของการทางานเป็นทีมและ การสื่อข้อความหรือการคบค้าสมาคมต่อกัน (teamwork and communication) สมาชิกในองค์การหนึ่งมีวัฒนธรรมส่งเสริม การทางานของกลุ่มคือ สมาชิกของกลุ่มจะรับฟังและยอมรับความคิดและความเห็นของสมาชิกคนอื่น ๆ และไว้วางใจในกันและกัน แต่ ในองค์การที่มีวัฒนธรรมไม่สง่ เสริมการทางานแบบกลุ่มจะมีวัฒนธรรมหรือวิถีการทางานที่ผิดไปจากแนวพฤติกรรมท่มี ีวัฒนธรรม แบบส่งเสริมการทางานของกลุ่ม กล่าวคือ สมาชิกจะติฉินนินทาลับหลังกันและกันโดยไม่กล้าเผชิญหน้าเข้าช่วยกันแก้ไขปัญหาอย่าง เปิดเผยและสร้างสรรค์ ซึ่งกรณีพฤติกรรมท้งั สองที่แสดงออกแตกต่างกันคือเป็นวัฒนธรรมท่สี ง่ เสริมกบั เป็นวัฒนธรรมที่มีแบบแผน ไม่ส่งเสริมการทางานเป็นทีมและรวมตลอดถึงการติดต่อสื่อสารนั้น ก็ย่อมมีที่มาจากแบบแผนของฐานคติรากฐานภายในใจของ สมาชิกของแต่ละกลมุ่ ท่กี าหนดการรับรู้ การคิด และความรู้สึก หรือในกรณีที่กลุ่มทางานเกี่ยวกบั การให้บริการลูกค้า วัฒนธรรมที่ ส่งเสริมการทางานให้บริการก็จะแสดงออกถึงการเอาใจใส่ในการให้บริการลูกค้า ในขณะที่วัฒนธรรมที่ไม่ส่งเสริมการให้บริการก็จะ แสดงออกถึงความไม่เอาใจใส่ต่อการให้บริการลูกค้าและบางครั้งอาจแสดงกิริยาวาจาไม่สุภาพกับลูกค้า
  • 64. หรือในกรณีที่เป็นเรื่องของการบังคับบัญชา สมาชิกท่มี ีพฤติกรรมไม่สง่ เสริมในเรื่องภาวะผู้นาและการ ปกครองบังคับบัญชาจะแสดงออกถึงการปกปิดไม่บอกเล่าถึงปัญหาที่ตนประสบอยู่ในชีวิตและการงาน และ ไม่อยากจะพบหรือพยายามหลบหน้าผู้บังคับบัญชา ในขณะที่พฤติกรรมของสมาชิกในองค์การที่ส่งเสริมใน เรื่องนี้จะแสดงออกให้เห็นว่า เมื่อสมาชิกเดือดร้อนหรือมีปัญหา สมาชิกก็จะขอความช่วยเหลือจาก ผู้บังคับบัญชา หรือในกรณีที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานและความเป็นเลิศ สมาชิกที่แสดงพฤติกรรมส่งเสริมจะ แสดงออกให้เห็นถึงความพยายามปรับปรุงการทางานอยู่เสมอแม้ว่าทาได้ดีอยู่แล้ว ผิดกับในองค์การที่ สมาชิกมีวัฒนธรรมไม่ส่งเสริมการทางานขององค์การก็จะแสดงพฤติกรรมแบบที่พอใจในมาตรฐานขั้นต่า พอให้ผ่านเท่านั้น หรือในกรณีที่เป็นเรื่องของการสร้างนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงในองค์การ สมาชิก ที่มีวัฒนธรรมทางส่งเสริมการทางานขององค์การก็จะพยายามปรับปรุงและแสวงหาแนวทางในการทางาน ของตนท่ดี ีกว่าอยู่เสมอ ในขณะที่สมาชิกที่มีวัฒนธรรมในทางไมส่ ่งเสริมการทางานขององค์การจะยึดติดอยู่ กับการทางานแบบเก่าซึ่งล้าสมัยไปแล้ว ได้เป็นที่ยอมรับกันว่าวัฒนธรรมองค์การเป็นสิ่งที่อยู่ลึกในจิตใจ ของคนที่ทางานหรือเป็นสมาชิกในองค์การ วัฒนธรรมแพร่กระจายไปทุกแห่งและครอบคลุมชีวิตทั้งหมดใน องค์การ ผู้ที่ทางานอยู่ในองค์การยิ่งนานเท่าใดวัฒนธรรมองค์การก็จะครอบงาบุคคลผู้นั้นมากยิ่งขึ้น เทา่ นั้น จนยากที่จะเปลี่ยนแปลงบุคคลเหล่าน้ไี ด้ในเวลาส้นั ๆ
  • 65. เมอื่ ฝ่ายบริหารจะทาการเปลี่ยนแปลงหรือจัดการเก่ยี วกบั วัฒนธรรมในองค์การ ฝ่ายบริหาร จาเป็นต้องคานึงถึงช่วงอายุขององค์การด้วย กล่าวคือการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การให้เป็นไปตาม ความประสงค์ของฝ่ายบริหารได้มากน้อยเพียงใด เมื่อใด ควรจะเปลี่ยนอย่างไร ช่วงอายุขององค์การมี ความสาคัญในการจัดการนี้เป็นอย่างมาก เพราะวัฒนธรรมองค์การจะทาหน้าที่หลาย ๆ อย่างในเวลาที่ แตกต่างกันไป องค์การที่เพิ่งเกิดขึ้นถ้ามีวัฒนธรรมแบบยึดเหนี่ยวกลุ่มคนเข้าด้วยกันมันเป็นเสมือนกาว มี เอกลักษณ์ และความแข็งแกร่ง กล่าวเจาะจงก็คือ องค์การรุ่นเยาว์ต้องการวัฒนธรรมองค์การแบบยึด เหนี่ยวกลุ่มต่าง ๆ เข้าด้วยกันให้เป็นปึกแผ่น การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมจึงมักเกิดขึ้นได้ค่อนข้างน้อย ถ้ามี การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมก็จะมีความเข้มข้นเพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจนโปร่งใสขึ้น เพื่อให้การทางาน ร่วมกันราบรื่นและเข้าใจถูกต้องกัน เพราะถ้าองค์การรุ่นเยาว์น้สี ามารถดารงอยู่ตอ่ ไปได้ก็แสดงว่า วัฒนธรรมแรกเรมิ่ ตา่ ง ๆ ทคีิ่ดประดิษฐ์นามาใช้น้นั แกไ้ ขปัญหาการดาเนินงานได้ดี การแก้ไขจึงเป็นการปรบั รากฐานเดิมเลิกน้อย
  • 66. องค์การที่มีช่วงอายุระยะกลางจะมีวัฒนธรรมที่สามารถนามาจัดการและเปลี่ยนแปลงได้ แต่ การเปลี่ยนแปลงนี้จะต้องคานึงถึงว่าวัฒนธรรมทาหน้าที่เป็นหลักของเสถียรภาพ (stability) ของ องค์การด้วย ยิ่งเป็นองค์การที่เติบโตมาก มีขนาดใหญ่ และทาหน้าที่หลายประการ รวมตลอดถึงตั้งอยู่ใน สภาพภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกันไปทั่วโลก และประกอบด้วยกลุ่มคนหลายเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งมี วัฒนธรรมเฉพาะของกลุ่มเอง โดยบางกลุ่มก็มีการขัดแย้งในวัฒนธรรมกันเอง เช่น กลุ่มคนทางานใน ตะวันตกที่ไปเปิดสาขาบริษัทในประเทศตะวันออก และมีผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นชาวตะวันออก การรับรู้ การ คิด และความรู้สึกของคนสองกลุ่มนี้ย่อมแตกต่างกัน การจัดการด้านวัฒนธรรมว่าจะยังคงให้มีวัฒนธรรม ทั้งสองกลุ่มอยู่ด้วยกันเพื่อให้มีความยืดหยุ่นเมื่อเกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงขึ้นมา (Environmental turbulence) หรือจะจัดการให้มีการสร้างวัฒนธรรมเฉพาะขึ้นมาใหม่เป็นแบบ แข็งแกร่ง (more homogeneous strong) ดังที่มีผู้แนะนามากมาย ก็ยังเป็นเรื่องยากที่จะลง ความเห็นได้ทันทีโดยไม่พิจารณาข้อมูลให้ครบถ้วน
  • 67. ในองค์การที่อยู่ในระยะเติบโตเต็มที่ ซึ่งองค์การมักจะเติบโตน้อยลง การตลาดและผลิตภัณฑ์ ลดน้อยลง หรือความมั่นคงภายในสูงมาก มีแต่ความสุขสบายกระทั่งไม่มีการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ อีก ต่อไปแล้ว วัฒนธรรมองค์การควรได้รับการเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ ส่วนที่ควรเปลี่ยน ซึ่งการต่อต้านการ เปลี่ยนแปลงมักจะรุนแรงมากจากผู้ที่เคยทางานมาก่อน จึงอาจมีการให้คนเก่าออกไปจากตาแหน่งหลายคน ยังไม่มีวิธีการสาเร็จรูปในการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในองค์การให้เป็นไปตามความประสงค์ ของการบริหาร มีการใช้รูปแบบเทคนิคต่าง ๆ มากมายซึ่งก็ทาให้องค์การสามารถประสบความสาเร็จได้ มี ท้งั การบังคับการเปลยี่ นแปลงทนั ทีแบบสดุโต่งด้านหนงึ่ กบั การพาเขวอย่างมเี ลศนยั หรือการเปลยี่ นแปลง แบบไม่ให้ร้ตู ัวโดยใช้เทคโนโลยีแบบใหม่เข้ามาช่วยอีกดา้ นหนึ่ง การจะเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การได้นั้น ผู้เปลี่ยนจาเป็นต้องทาการหาข้อมูลที่จาเป็นหรือ การตีความวัฒนธรรมองค์การให้ง่ายขึ้นให้ออกมาเป็นภาษาธรรมดา การหาข้อมูลทาได้โดยการสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ และการศึกษาร่วมกัน ซึ่งผู้ศึกษาร่วมกับผู้ถูกศึกษาที่เลือกสรรแล้วจากองค์การนั้น ๆ เพื่อเปิดเผยฐานคติใต้สานึก ซึ่งเชื่อว่าเป็นแก่นของวัฒนธรรม แต่จะต้องทาการศึกษาองค์การจานวนมาก และนาผลการศึกษาน้นั มาสมั พนั ธ์กบั ยุทธวิธีขององค์การ โครงสร้างขององค์การ และประสิทธิผลของ องค์การต่อไป