SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 63
Baixar para ler offline
Molecular Genetics
Objectives
1. สรุปหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม
2. อธิบายและเขียนแผนภาพแสดงลักษณะทางกายภาพและ
   โครงสร้างทางเคมีของ nucleic acid
3. อธิบายและเขียนแผนภาพแสดงกระบวนการ DNA replication
4. เปรียบเทียบการจัดระเบียบของ DNA บนโครโมโซมของ
   prokaryote และ eukaryote
5. สรุปการส่งผ่าน genetic information ภายในเซลล์จาก gene ถึง
   protein
6. เปรียบเทียบโครงสร้างและบทบาทภายในเซลล์ของ DNA,
   mRNA, tRNA และ rRNA
7. อธิบายและเขียนแผนภาพแสดงกระบวนการ transcription และ
   translation
DNA replication
สมมติฐานของ Watson & Crick
      ก่อนที่ DNA replication พันธะไฮโดรเจน
ที่จบคูกนระหว่าง polynucleotide 2 strands
    ั ่ ั
จะถูกทาลายและคลายเกลียว แยกออกจากกัน
แต่ละ strand ของ polynucleotide ทาหน้าที่
เป็น template สาหรับสร้าง strand ใหม่ขนมา
                                       ึ้
เรียกสมมติฐานนี้วา semiconservative type
                  ่
หรือ complementary type
DNA replication
   DNA replication
DNA replication components;
1. Helicase; ทาลาย H bound ที่เกิดจากการจับคูกนของเบส A
                                                ่ ั
   กับ T และ C กับ G เพื่อให้ double strand เป็น single strand
   DNA
2. ssDNA binding protein; จับกับ ssDNA เพื่อป้องกันไม่ให้มา
   จับกันเป็น dsDNA
3. DNA gyrase (topoisomerase); คลายปมทีอยู่เหนือจุดแรก
                                       ่
   ของเกลียวคู่
4. primase; สังเคราะห์ RNA primer
5. 5’->3’ exonuclease; ตัด nucleotide จากปลายด้าน 5’-PO4
   ไปยังด้าน 3’-OH
DNA replication
   DNA replication
DNA replication components;

6. 3’->5’ exonuclease; ตัด nucleotide molecule จากปลาย
   ด้าน 3’-OH ไปยังด้าน 5’-PO4
7. Endonuclease; ทาลาย ester bound ทาให้ DNA ถูกตัด เกิด
   ปลาย 3’-OH และปลาย 5’-PO4 รอยขาด เรียกว่า nick
8. DNA ligase; เชื่อมต่อปลาย 3’-OH กับปลาย 5’-PO4 ด้วย
   ester bound (close nick)
9. DNA polymerase;
DNA replication
         4
     7
 6
                  Initiation point




                               3
     5
         1
          2
DNA replication; 5’->3’
• Unidirectional replication: การจาลองโมเลกุลแบบทิศทางเดียว
• bidirectional replication: การจาลองโมเลกุลแบบ 2 ทิศทาง พบใน
prokaryote และ eukaryote




   Unidirectional replication        bidirectional replication
ความสัมพันธ์ระหว่าง DNA,
         RNA และโปรตีน
ตารางแสดงความสอดคล้องระหว่างหน้าทีการทางานและสมบัตทาง
                                    ่               ิ
  กายภาพและเคมีของ DNA RNA และโปรตีน

                                                        สมบัติทางกายภาพและเคมี

โมเลกุล    หน้าทีการทางาน
                 ่             ความ    โครงสร้าง           หน่วยย่อย   ความหลากหลาย    จานวน
                              เสถียร                                      ทางเคมี     โมเลกุลใน
                                                                                        เซลล์
DNA       บรรจุข้อมูล          สูง     สายคู่ ยาว         เบส 4 ชนิด         ต่า        น้อย
          พันธุกรรมระยะยาว              ขดแน่น

RNA       บรรจุข้อมูล          ต่า      สายเดียว ่        เบส 4 ชนิด         ต่า        มาก
          พันธุกรรมระยะสั้น            สั้นเคลื่อนที่
                                           สะดวก
โปรตีน    เป็นโครงสร้างและ    มีหลาย   หลากหลาย           กรดอะมิโน          สูง        มาก
          เป็นตัวทางานหลัก     ระดับ    ซับซ้อน            20 ชนิด
Central Dogma
replication


                    DNA
                            Reverse
   transcription          transcription


                    RNA
      translation



                Protein
Gene Expression
   การแสดงออกของยีน เป็นการทียนใดๆ มีการทาหน้าทีไปจนถึง
                             ่ ี                ่
กระบวนการสร้างโปรตีน
• กระบวนการสร้างโปรตีนมี 2 กระบวนการหลักคือ

      - TRANSCRIPTION (การลอกรหัส)

      - TRANSLATION (การแปลรหัส, การถอดรหัส)

• กระบวนการ transcription จัดเป็น gene expression เนืองจากยีนมี
                                                     ่
การทาหน้าที่
Gene Expression
Gene Expression
Transcription
คือ การลอกรหัสจาก DNA เพื่อสังเคราะห์สาย RNA
 • RNA ที่ถกสังเคราะห์หลัก ๆ คือ
           ู
      • rRNA
      • mRNA
      • tRNA
Transcription
การสังเคราะห์ RNA จาเป็นต้องมี:

   1. DNA template

   2. RNA polymerase

   3. Nucleotides: ATG, UTG, CTG, GTG
Transcription
                      coding strand
      5’                                       3’


                     Complementary
       3’                                      5’
                    anti-coding strand
                    non-coding strand
                    DNA template

      สาย mRNA มีลาดับเบสเหมือนสาย DNA coding เพราะ
คัดลอกมาจาก DNA สายที่เป็น anti-coding ซึ่งถูกเรียกว่า DNA
template
Transcription
บริเวณทีจะ transcribe บน DNA template ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก
        ่
คือ
• Promoter: สาหรับ eukaryote เหนือ start site 25 bp. เรียกว่า
  Hogness box (TATAAAAG) สาหรับ prokaryote เรียก
  Pribnow box (TATAATG) โดยทัวไปอาจเรียกว่า TATA box
                               ่

• Gene content: Exon and Intron

• Terminator: AATAAA อีก 20 bp. Stop transcribe

                             ORF


          promoter       gene content      terminator
Transcription
เกิดขึนบริเวณ nucleus มี 3 ขันตอน
      ้                      ้

1. Initiation การเข้าเกาะของ RNA polymerase ที่ promoter

2. Elongation การสร้างสาย RNA ให้ยาวออกไปอย่างต่อเนื่อง

3. Termination การเคลือนตัวไปถึง terminator point จนหลุด
                      ่
    ออกไปของ RNA polymerase ไปจนสินสุดการลอกรหัส
                                       ้
Transcription
                                                           • Promoter
                                                           • Start point
                                                           • Termination point
                                                           • Terminator




http://kentsimmons.uwinnipeg.ca/cm1504/proteinsynth.htm
mRNA processing

   Prokaryote เมื่อ transcription แล้ว mRNA ที่ได้จะถูก
modified โดยการเติม 5’-Cap และ 3’- Poly (A) tail
ก่อนที่จะไป translate ที่ ribosome
  Eukaryote เมือ transcription แล้ว mRNA ที่ได้
                 ่
นอกจากจะถูก modified โดยการเติม 5’-Cap และ 3’-
Poly (A) tail เช่นเดียวกับใน prokaryoteแล้ว ยังมี
กระบวนการตัดส่วนของ intron ออกอีกกระบวนการหนึ่ง
ด้วย
mRNA processing

1. 7-methyl guanosine was capped at 5’
2. Added poly A at 3’
3. Intron sequens are spiced out of pre-mRNA
4. Exon is joined by phosphodiester bond

mature mRNA transfer to cytoplasm for protein
translation
mRNA processing


            prokaryote




             eukaryote
Transcription Product
RNA polymerase I + Transcription unit = rRNA

RNA polymerase II + Transcription unit = mRNA

RNA polymerase III+ Transcription unit = tRNA


rRNA + ribosomal protein = ribosome

tRNA + amino acid = aminoacyl tRNA

mRNA + ribosome + aminoacyl tRNAs = translation
Ribosome
  Eukaryote มีนาหนัก 80S ประกอบด้วย 2 subunits คือ small
               ้
subunit หนัก 40S และ large subunit หนัก 60S

 Prokaryote มีนาหนัก 70S ประกอบด้วย 2 subunits คือ
                 ้
small subunit หนัก 30S และ large subunit หนัก 50S
Ribosome
Translation
Translation
กระบวนการแปลรหัส หรือถอดรหัสจาก mRNA ไปเป็นสาย
polypeptide
Translation เป็นกระบวนการที่เกิดใน cytoplasm
เกิดขึ้นได้เมื่อมี :
       -mRNA
       -aminoacyl tRNA
       -ribosome
Genetic code
1.   รหัสพันธุกรรม 1 รหัส ประกอบด้วยเบส 3 เบส (triple code or codon)
2.   รหัสพันธุกรรมไม่มการเหลือมซ้อนกัน (non overlapping)
                      ี      ่
3.   รหัสพันธุกรรมไม่มการเว้นหรือข้ามเบสระหว่างพันธุกรรม (commaless)
                      ี
4.   รหัสพันธุกรรมหลายรหัสสามารถกาหนดกรดอะมิโนตัวเดียวกัน (degenerate
     code)
5.   รหัสพันธุกรรมบางรหัสสามารถกาหนดกรดอะมิโนได้หลายตัว (ambiguous
     code)
6.   รหัสพันธุกรรมบางรหัสไม่ทาหน้าทีกาหนดกรดอะมิโนตัวใดเลย (nonsense
                                    ่
     codon)
7.   รหัสพันธุกรรมทีกาหนดกรดอะมิโนแต่ละชนิดนัน จะเหมือนกันในสิงมีชวตทุก
                    ่                        ้                ่   ี ิ
     ชนิด (universal code)
8.   Translation 5’(PO4)->3’(OH)
3 bases = 1 codon
Genetic code
• Start codon: AUG

• Stop codon: UAA,
UAG, UGA


1 codon : Met, Trp
Protein Synthesis
1. Transcription:
   - RNA synthesis (DNA template, RNA
   polymerase)
   - Nucleus
2. Translation: Polypeptide, Ribosome, Cytoplasm
   - amino acid activation reaction
   - initiation of polypeptide chain
   - elongation cycle
   - termination of peptide chains
Translation
กระบวนการแปลลาดับของเบสของ mRNA ให้เป็นลาดับ
ของ amino acid ที่ตอกันเป็น polypeptides
                   ่

• amino acid activation reaction

• initiation of polypeptide chain

• elongation cycle

• termination of peptide chains
Amino Acid Activation Reaction

   การกระตุนให้ amino acid ต่อกับ tRNA
           ้

   • cytoplasm
   • aminoacyl-tRNA synthetase or amiacyl-tRNA
   ligase



                          Mg2+
Amino acid + tRNA + ATP          aminoacyl-tRNA + AMP + PPi
Amino Acid Activation Reaction
Initiation of polypeptide chain
• Start codon: AUG (N-formyl methionyl-tRNA or f met-
tRNA)
• ribosome; 50s and 30s
• Initiation Factor (IF); IF1 IF2 and IF3
• mRNA
• peptidyl site or P-site of ribosome
Initiation of polypeptide chain

                                     IF1
             1. ribosome 30s + IF3      ribosome
             30s IF3 complex      IF1 complex
             2. f met-tRNA-GTP + IF2 + ribosome
             30s IF3 IF1 + mRNA = initiation
             complex
             3. initiation complex + ribosome 50s =
             ribosome70s (GTP)
Elongation cycle
Amino acid ต่อกันเป็น polypeptide

                                • Aminoacyl site or
                                A-site
                                • EF-T; EF-Ts & EF-Tu
                                • peptide bond
                                • peptidyl transferase
                                • do not use GTP
Termination of polypeptide chain

• A-site: UAA, UAG or UGA
• RF: RF1 & RF2 (prokaryote), eRF (eukaryote)
Transcription and translation
                             terminator
           promoter


   3’                                            5’


   start point                            terminator point




                  5’                      3’


        start codon                 stop codon



                       NH2    COOH

  amino group ของ Met        carboxylic group
Amino acid

-ประกอบด้วย อะตอมคาร์บอนอยูตรงกลางที่ต่อเข้ากับอะตอมโดย
                               ่
ใช้ covalent bond 4 bonds โดยมีปลายด้านหนึงต่ออยูกบ
                                           ่     ่ ั
carboxyl group (COOH) และอีกด้านหนึงต่อกับ Amino group
                                     ่
(NH2)
- พบในธรรมชาติ 20 ชนิด
- เชือมต่อกันด้วย peptide bond
     ่
- polypeptide มากกว่า 1 สายประกอบกันเป็น protein

                       Denaturation




                       Renaturation
BIOTECHNOLOGY

• ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยีชวภาพ
                                   ี



      Biotechnology = Bio + Technology
BIOTECHNOLOGY (Cont.)

• ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยีชวภาพ
                                   ี
- เป็นเทคนิคกระบวนการหรือการใช้สงมีชวต และส่วนประกอบของ
                                  ิ่  ี ิ
สิงมีชีวต เพือปรับปรุงและพัฒนาทางการเกษตร อาหาร การแพทย์
  ่     ิ    ่
และสิงต่างๆทีผลิตเป็นอุตสาหกรรม
      ่        ่

- เป็นการประยุกต์ใช้หลักฐานของวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
ในกระบวนการผลิต โดยใช้สารทางชีวภาพ เพือให้ได้สนค้าในระบบ
                                          ่     ิ
อุตสาหกรรม และเป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าด้วย
Why do we need ‘BIOTECHNOLOGY’??

เพื่อหาทางแก้ปญหาสาคัญที่โลกกาลังเผชิญอยู่ ได้แก่
              ั
 • เกษตรกรรม
 • อาหาร
 • การแพทย์
 • เภสัชกรรม และ
 • สิงแวดล้อม
     ่
Biotechnology
พันธุวศวกรรม คือ
      ิ

   เทคนิคการตัดต่อยีนจากสิงมีชวตชนิดหนึ่ง หรือหลายชนิดแล้ว
                           ่   ี ิ
ถ่ายเทให้กบสิงมีชีวตชนิดเดียวกัน หรือต่างชนิดกัน
          ั ่      ิ
เทคนิคพันธุวิศวกรรมประกอบด้วย 4 ขันตอน ดังนี้
                                  ้
 1. การแยกยีนทีสนใจ (gene of interest)
               ่
 2. เพิ่มปริมาณยีนทีสนใจด้วยเทคนิค PCR
                    ่
 3. นาชิ้นส่วนยีนที่แยกได้ไปต่อกับพาหะ (vector)
 4. การโคลนยีน (gene cloning)
 5. ถ่าย recombinant DNA ใส่ในสิงมีชวตเป้าหมาย
                                ่   ี ิ
Genetic Engineering
Genetic Engineering
ProkaryoticVectors
   Plasmid

• เป็นดีเอ็นเอที่อยูนอก
                    ่
โครโมโซม
• พบในแบคทีเรียหลายชนิด
• โครงสร้างเป็นดีเอ็นเอวง
แหวนเกลียวคู่
• สามารถจาลองตัวเองได้
ProkaryoticVectors
• lambda phage
• cosmid
• M13 phage
• shuttle vector
Restriction Enzymes
• เอนไซม์ตดจาเพาะจะตัดดีเอ็นเอทีตาแหน่งจดจา ในลักษณะทีเรียกว่า palindrome
          ั                     ่                     ่
• การเรียกชือเอนไซม์ได้มาจาก genus name และ species name โดยใช้ระบบ
            ่
อักษร 3 ตัว พิมพ์ตวเอน
                  ั
Cut Ends
Blunt ends




Sticky ends
Recombinant DNA technique

  : เทคนิคทีทาให้เกิดการรวมตัวกันของสารพันธุกรรมในสภาพ
            ่
หลอดทดลองประกอบด้วย
  1. ใช้ restriction enzyme ตัดโมเลกุล DNA ให้ได้ target DNA

  2. เชือมต่อชิน DNA เข้ากับ vector โดยเทคนิค ligation
        ่      ้

  3. สอดแทรก recombinant DNA molecule เข้าไปใน host ทีทาให้
                                                      ่
     recombinant DNA molecule เพิ่มจานวนได้
DNA digestion




DNA ligation




Transformation
Transformation Screening
              White blue colony screening

                 1. การตรวจสอบว่าพลาสมิด
                    เข้าสูแบคทีเรียหรือไม่
                          ่
1                2. การคัดเลือกเซลล์
       2            แบคทีเรียที่มดเอ็นเอสาย
                                 ี ี
                    ผสม
 Blue Roses
 Golden Rice




                http://www.isaaa.org/Kc/inforesources/biotechcro
                ps/The_Golden_Rice_Technology.htm
 สิ่งมีชีวตดัดแปลงพันธุกรรม
           ิ
GMOs / LMOs
  - Genetically Modified Organisms
  (GMOs)
  - Living Modified Organisms
  (LMOs)
  - Transgenic plant
  - Transgenic animal
 เทคนิคทางพันธุวศวกรรม (genetic
                 ิ
engineering)
  การย้ายยีนเข้าสูพชทางพันธุวิศวกรรมสามารถแบ่ง
                    ่ ื
ได้เป็น 2 วิธดังนี้
             ี


1. การย้ายยีนโดยใช้ Agrobacterium
   tumerfaciens เป็นพาหะ

2. การย้ายยีนโดยไม่ตองใช้พาหะ
                    ้
การย้ายยีนเข้าสูพืช
                 ่
 ทางพันธุวศวกรรม
           ิ




ที่มา:
https://www.msu.edu/course/is
b/202/ebertmay/2004/notes/in
otes/02_28_06_bghuman.html
 เทคนิคทางพันธุวศวกรรมในสัตว์
                 ิ
(genetic engineering)
พันธุวิศวกรรมในสัตว์สามารถแบ่งได้เป็น 3 วิธดงนี้
                                           ี ั


1. DNA microinjection

2. Embryonic stem cell (homologous
   recombination)

3. การถ่ายยีนโดยใช้ Retrovirus (SV 40)
Polymorphism
    คือ ความแตกต่างของรูปแบบพันธุกรรมมากกว่า 1
แบบขึนไป ความแตกต่างที่เกิดขึนนีจะต้องมีความถีไม่
      ้                        ้ ้             ่
น้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ โดยปกติความแตกต่างทีเกิดขึนมี
                                           ่     ้
3 ระดับ คือ
1. ระดับโครโมโซม
2. ระดับยีน
3. ระดับความยาวของชินส่วนดีเอ็นเอเมือตัดด้วย
                    ้               ่
   เอนไซม์ตดจาเพาะ
            ั
Genetic Engineering
ประโยชน์ของเทคนิคพันธุวศวกรรม
                       ิ
1. ด้านการแพทย์: ผลิตinsulin, growth hormone,
   vaccine และ gene theraphy (โรคภูมิคมกัน
                                       ุ้
   บกพร่อง (SCID)
2. ด้านการเกษตร: transgenic plant, transgenic
   animal
3. ด้านอุตสาหกรรมและสภาพแวดล้อม: ผลิต
   เชือจุลนทรียพันธุที่มประสิทธิภาพสูงในการหมัก
      ้   ิ    ์    ์ ี
ขอขอบคุณ

                                 อ.ดร.ภิญญารัตน์ กงประโคน
                                 สาขาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ
                 คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
Wan Ngamwongwan
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
ชมพูทวีป คือ แผ่นดินที่เรียกว่าประเทศอินเดียในกาลก่อน แต่ในสมัยปัจจุบันเป็นที...
ชมพูทวีป คือ แผ่นดินที่เรียกว่าประเทศอินเดียในกาลก่อน แต่ในสมัยปัจจุบันเป็นที...ชมพูทวีป คือ แผ่นดินที่เรียกว่าประเทศอินเดียในกาลก่อน แต่ในสมัยปัจจุบันเป็นที...
ชมพูทวีป คือ แผ่นดินที่เรียกว่าประเทศอินเดียในกาลก่อน แต่ในสมัยปัจจุบันเป็นที...
plam1338
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipoint
supreechafkk
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
yangclang22
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Mais procurados (20)

เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ชมพูทวีป คือ แผ่นดินที่เรียกว่าประเทศอินเดียในกาลก่อน แต่ในสมัยปัจจุบันเป็นที...
ชมพูทวีป คือ แผ่นดินที่เรียกว่าประเทศอินเดียในกาลก่อน แต่ในสมัยปัจจุบันเป็นที...ชมพูทวีป คือ แผ่นดินที่เรียกว่าประเทศอินเดียในกาลก่อน แต่ในสมัยปัจจุบันเป็นที...
ชมพูทวีป คือ แผ่นดินที่เรียกว่าประเทศอินเดียในกาลก่อน แต่ในสมัยปัจจุบันเป็นที...
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipoint
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 

Destaque

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
Biobiome
 
Intro to Performance Based Assessments
Intro to Performance Based AssessmentsIntro to Performance Based Assessments
Intro to Performance Based Assessments
Rachael Mann
 
Eurosha kenya pres_osm_en_20121031
Eurosha kenya pres_osm_en_20121031Eurosha kenya pres_osm_en_20121031
Eurosha kenya pres_osm_en_20121031
Severin Menard
 
Centres pilot activities zech republic
Centres pilot activities zech republicCentres pilot activities zech republic
Centres pilot activities zech republic
pesec
 
The active inclusion of young people
The active inclusion of young peopleThe active inclusion of young people
The active inclusion of young people
pesec
 

Destaque (18)

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Customer Bulletin 0410 A Comparison of ISO-C1 and HT-300
Customer Bulletin 0410 A Comparison of ISO-C1 and HT-300Customer Bulletin 0410 A Comparison of ISO-C1 and HT-300
Customer Bulletin 0410 A Comparison of ISO-C1 and HT-300
 
Sage crm introduction by Triad Software
Sage crm introduction by Triad SoftwareSage crm introduction by Triad Software
Sage crm introduction by Triad Software
 
Barranquilla
BarranquillaBarranquilla
Barranquilla
 
Technical Bulletin 0213 Polyisocyanurate vs. Cellular Glass Insulation
Technical Bulletin 0213 Polyisocyanurate vs. Cellular Glass InsulationTechnical Bulletin 0213 Polyisocyanurate vs. Cellular Glass Insulation
Technical Bulletin 0213 Polyisocyanurate vs. Cellular Glass Insulation
 
Intro to Performance Based Assessments
Intro to Performance Based AssessmentsIntro to Performance Based Assessments
Intro to Performance Based Assessments
 
Mit Social Media Monitoring Kundenerwartungen erfüllen
Mit Social Media Monitoring Kundenerwartungen erfüllenMit Social Media Monitoring Kundenerwartungen erfüllen
Mit Social Media Monitoring Kundenerwartungen erfüllen
 
Eurosha kenya pres_osm_en_20121031
Eurosha kenya pres_osm_en_20121031Eurosha kenya pres_osm_en_20121031
Eurosha kenya pres_osm_en_20121031
 
¿Podrá Europa reducir la prevalencia de consumo al 30% en 2025?
¿Podrá Europa reducir la prevalencia de consumo al 30% en 2025?¿Podrá Europa reducir la prevalencia de consumo al 30% en 2025?
¿Podrá Europa reducir la prevalencia de consumo al 30% en 2025?
 
Argumentative
ArgumentativeArgumentative
Argumentative
 
Arts 6
Arts 6Arts 6
Arts 6
 
Jesus v portfolio
Jesus v portfolioJesus v portfolio
Jesus v portfolio
 
Centres pilot activities zech republic
Centres pilot activities zech republicCentres pilot activities zech republic
Centres pilot activities zech republic
 
JRC OpenStreetMap, editing and tasking mechanisms, 20130326
JRC OpenStreetMap, editing and tasking mechanisms, 20130326JRC OpenStreetMap, editing and tasking mechanisms, 20130326
JRC OpenStreetMap, editing and tasking mechanisms, 20130326
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
The active inclusion of young people
The active inclusion of young peopleThe active inclusion of young people
The active inclusion of young people
 
Blue Berry BMW SJ-7R
Blue Berry BMW SJ-7RBlue Berry BMW SJ-7R
Blue Berry BMW SJ-7R
 

Semelhante a Molecular genetics

Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14
Bios Logos
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
room62group2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
room62group2
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
Wan Ngamwongwan
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
tarcharee1980
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
Chotiros Thongngoen
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
Biobiome
 

Semelhante a Molecular genetics (20)

Translation [mod]
Translation [mod]Translation [mod]
Translation [mod]
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
3 gen 2 76
3 gen 2 763 gen 2 76
3 gen 2 76
 
Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
Regulation of gene expression
Regulation of gene expressionRegulation of gene expression
Regulation of gene expression
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 

Mais de Biobiome

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
Biobiome
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
Biobiome
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
Biobiome
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
Biobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
Biobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
Biobiome
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Biobiome
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
Biobiome
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
Biobiome
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
Biobiome
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
Biobiome
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
Biobiome
 

Mais de Biobiome (20)

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
Onet 05
Onet 05Onet 05
Onet 05
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 

Molecular genetics

  • 2. Objectives 1. สรุปหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม 2. อธิบายและเขียนแผนภาพแสดงลักษณะทางกายภาพและ โครงสร้างทางเคมีของ nucleic acid 3. อธิบายและเขียนแผนภาพแสดงกระบวนการ DNA replication 4. เปรียบเทียบการจัดระเบียบของ DNA บนโครโมโซมของ prokaryote และ eukaryote 5. สรุปการส่งผ่าน genetic information ภายในเซลล์จาก gene ถึง protein 6. เปรียบเทียบโครงสร้างและบทบาทภายในเซลล์ของ DNA, mRNA, tRNA และ rRNA 7. อธิบายและเขียนแผนภาพแสดงกระบวนการ transcription และ translation
  • 3. DNA replication สมมติฐานของ Watson & Crick ก่อนที่ DNA replication พันธะไฮโดรเจน ที่จบคูกนระหว่าง polynucleotide 2 strands ั ่ ั จะถูกทาลายและคลายเกลียว แยกออกจากกัน แต่ละ strand ของ polynucleotide ทาหน้าที่ เป็น template สาหรับสร้าง strand ใหม่ขนมา ึ้ เรียกสมมติฐานนี้วา semiconservative type ่ หรือ complementary type
  • 4. DNA replication DNA replication DNA replication components; 1. Helicase; ทาลาย H bound ที่เกิดจากการจับคูกนของเบส A ่ ั กับ T และ C กับ G เพื่อให้ double strand เป็น single strand DNA 2. ssDNA binding protein; จับกับ ssDNA เพื่อป้องกันไม่ให้มา จับกันเป็น dsDNA 3. DNA gyrase (topoisomerase); คลายปมทีอยู่เหนือจุดแรก ่ ของเกลียวคู่ 4. primase; สังเคราะห์ RNA primer 5. 5’->3’ exonuclease; ตัด nucleotide จากปลายด้าน 5’-PO4 ไปยังด้าน 3’-OH
  • 5. DNA replication DNA replication DNA replication components; 6. 3’->5’ exonuclease; ตัด nucleotide molecule จากปลาย ด้าน 3’-OH ไปยังด้าน 5’-PO4 7. Endonuclease; ทาลาย ester bound ทาให้ DNA ถูกตัด เกิด ปลาย 3’-OH และปลาย 5’-PO4 รอยขาด เรียกว่า nick 8. DNA ligase; เชื่อมต่อปลาย 3’-OH กับปลาย 5’-PO4 ด้วย ester bound (close nick) 9. DNA polymerase;
  • 6. DNA replication 4 7 6 Initiation point 3 5 1 2
  • 7. DNA replication; 5’->3’ • Unidirectional replication: การจาลองโมเลกุลแบบทิศทางเดียว • bidirectional replication: การจาลองโมเลกุลแบบ 2 ทิศทาง พบใน prokaryote และ eukaryote Unidirectional replication bidirectional replication
  • 9. ตารางแสดงความสอดคล้องระหว่างหน้าทีการทางานและสมบัตทาง ่ ิ กายภาพและเคมีของ DNA RNA และโปรตีน สมบัติทางกายภาพและเคมี โมเลกุล หน้าทีการทางาน ่ ความ โครงสร้าง หน่วยย่อย ความหลากหลาย จานวน เสถียร ทางเคมี โมเลกุลใน เซลล์ DNA บรรจุข้อมูล สูง สายคู่ ยาว เบส 4 ชนิด ต่า น้อย พันธุกรรมระยะยาว ขดแน่น RNA บรรจุข้อมูล ต่า สายเดียว ่ เบส 4 ชนิด ต่า มาก พันธุกรรมระยะสั้น สั้นเคลื่อนที่ สะดวก โปรตีน เป็นโครงสร้างและ มีหลาย หลากหลาย กรดอะมิโน สูง มาก เป็นตัวทางานหลัก ระดับ ซับซ้อน 20 ชนิด
  • 10. Central Dogma replication DNA Reverse transcription transcription RNA translation Protein
  • 11. Gene Expression การแสดงออกของยีน เป็นการทียนใดๆ มีการทาหน้าทีไปจนถึง ่ ี ่ กระบวนการสร้างโปรตีน • กระบวนการสร้างโปรตีนมี 2 กระบวนการหลักคือ - TRANSCRIPTION (การลอกรหัส) - TRANSLATION (การแปลรหัส, การถอดรหัส) • กระบวนการ transcription จัดเป็น gene expression เนืองจากยีนมี ่ การทาหน้าที่
  • 14. Transcription คือ การลอกรหัสจาก DNA เพื่อสังเคราะห์สาย RNA • RNA ที่ถกสังเคราะห์หลัก ๆ คือ ู • rRNA • mRNA • tRNA
  • 15. Transcription การสังเคราะห์ RNA จาเป็นต้องมี: 1. DNA template 2. RNA polymerase 3. Nucleotides: ATG, UTG, CTG, GTG
  • 16. Transcription coding strand 5’ 3’ Complementary 3’ 5’ anti-coding strand non-coding strand DNA template สาย mRNA มีลาดับเบสเหมือนสาย DNA coding เพราะ คัดลอกมาจาก DNA สายที่เป็น anti-coding ซึ่งถูกเรียกว่า DNA template
  • 17. Transcription บริเวณทีจะ transcribe บน DNA template ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ่ คือ • Promoter: สาหรับ eukaryote เหนือ start site 25 bp. เรียกว่า Hogness box (TATAAAAG) สาหรับ prokaryote เรียก Pribnow box (TATAATG) โดยทัวไปอาจเรียกว่า TATA box ่ • Gene content: Exon and Intron • Terminator: AATAAA อีก 20 bp. Stop transcribe ORF promoter gene content terminator
  • 18. Transcription เกิดขึนบริเวณ nucleus มี 3 ขันตอน ้ ้ 1. Initiation การเข้าเกาะของ RNA polymerase ที่ promoter 2. Elongation การสร้างสาย RNA ให้ยาวออกไปอย่างต่อเนื่อง 3. Termination การเคลือนตัวไปถึง terminator point จนหลุด ่ ออกไปของ RNA polymerase ไปจนสินสุดการลอกรหัส ้
  • 19. Transcription • Promoter • Start point • Termination point • Terminator http://kentsimmons.uwinnipeg.ca/cm1504/proteinsynth.htm
  • 20. mRNA processing Prokaryote เมื่อ transcription แล้ว mRNA ที่ได้จะถูก modified โดยการเติม 5’-Cap และ 3’- Poly (A) tail ก่อนที่จะไป translate ที่ ribosome Eukaryote เมือ transcription แล้ว mRNA ที่ได้ ่ นอกจากจะถูก modified โดยการเติม 5’-Cap และ 3’- Poly (A) tail เช่นเดียวกับใน prokaryoteแล้ว ยังมี กระบวนการตัดส่วนของ intron ออกอีกกระบวนการหนึ่ง ด้วย
  • 21. mRNA processing 1. 7-methyl guanosine was capped at 5’ 2. Added poly A at 3’ 3. Intron sequens are spiced out of pre-mRNA 4. Exon is joined by phosphodiester bond mature mRNA transfer to cytoplasm for protein translation
  • 22. mRNA processing prokaryote eukaryote
  • 23. Transcription Product RNA polymerase I + Transcription unit = rRNA RNA polymerase II + Transcription unit = mRNA RNA polymerase III+ Transcription unit = tRNA rRNA + ribosomal protein = ribosome tRNA + amino acid = aminoacyl tRNA mRNA + ribosome + aminoacyl tRNAs = translation
  • 24. Ribosome Eukaryote มีนาหนัก 80S ประกอบด้วย 2 subunits คือ small ้ subunit หนัก 40S และ large subunit หนัก 60S Prokaryote มีนาหนัก 70S ประกอบด้วย 2 subunits คือ ้ small subunit หนัก 30S และ large subunit หนัก 50S
  • 27. Translation กระบวนการแปลรหัส หรือถอดรหัสจาก mRNA ไปเป็นสาย polypeptide Translation เป็นกระบวนการที่เกิดใน cytoplasm เกิดขึ้นได้เมื่อมี : -mRNA -aminoacyl tRNA -ribosome
  • 28. Genetic code 1. รหัสพันธุกรรม 1 รหัส ประกอบด้วยเบส 3 เบส (triple code or codon) 2. รหัสพันธุกรรมไม่มการเหลือมซ้อนกัน (non overlapping) ี ่ 3. รหัสพันธุกรรมไม่มการเว้นหรือข้ามเบสระหว่างพันธุกรรม (commaless) ี 4. รหัสพันธุกรรมหลายรหัสสามารถกาหนดกรดอะมิโนตัวเดียวกัน (degenerate code) 5. รหัสพันธุกรรมบางรหัสสามารถกาหนดกรดอะมิโนได้หลายตัว (ambiguous code) 6. รหัสพันธุกรรมบางรหัสไม่ทาหน้าทีกาหนดกรดอะมิโนตัวใดเลย (nonsense ่ codon) 7. รหัสพันธุกรรมทีกาหนดกรดอะมิโนแต่ละชนิดนัน จะเหมือนกันในสิงมีชวตทุก ่ ้ ่ ี ิ ชนิด (universal code) 8. Translation 5’(PO4)->3’(OH)
  • 29. 3 bases = 1 codon
  • 30. Genetic code • Start codon: AUG • Stop codon: UAA, UAG, UGA 1 codon : Met, Trp
  • 31. Protein Synthesis 1. Transcription: - RNA synthesis (DNA template, RNA polymerase) - Nucleus 2. Translation: Polypeptide, Ribosome, Cytoplasm - amino acid activation reaction - initiation of polypeptide chain - elongation cycle - termination of peptide chains
  • 32. Translation กระบวนการแปลลาดับของเบสของ mRNA ให้เป็นลาดับ ของ amino acid ที่ตอกันเป็น polypeptides ่ • amino acid activation reaction • initiation of polypeptide chain • elongation cycle • termination of peptide chains
  • 33. Amino Acid Activation Reaction การกระตุนให้ amino acid ต่อกับ tRNA ้ • cytoplasm • aminoacyl-tRNA synthetase or amiacyl-tRNA ligase Mg2+ Amino acid + tRNA + ATP aminoacyl-tRNA + AMP + PPi
  • 35. Initiation of polypeptide chain • Start codon: AUG (N-formyl methionyl-tRNA or f met- tRNA) • ribosome; 50s and 30s • Initiation Factor (IF); IF1 IF2 and IF3 • mRNA • peptidyl site or P-site of ribosome
  • 36. Initiation of polypeptide chain IF1 1. ribosome 30s + IF3 ribosome 30s IF3 complex IF1 complex 2. f met-tRNA-GTP + IF2 + ribosome 30s IF3 IF1 + mRNA = initiation complex 3. initiation complex + ribosome 50s = ribosome70s (GTP)
  • 37. Elongation cycle Amino acid ต่อกันเป็น polypeptide • Aminoacyl site or A-site • EF-T; EF-Ts & EF-Tu • peptide bond • peptidyl transferase • do not use GTP
  • 38. Termination of polypeptide chain • A-site: UAA, UAG or UGA • RF: RF1 & RF2 (prokaryote), eRF (eukaryote)
  • 39. Transcription and translation terminator promoter 3’ 5’ start point terminator point 5’ 3’ start codon stop codon NH2 COOH amino group ของ Met carboxylic group
  • 40. Amino acid -ประกอบด้วย อะตอมคาร์บอนอยูตรงกลางที่ต่อเข้ากับอะตอมโดย ่ ใช้ covalent bond 4 bonds โดยมีปลายด้านหนึงต่ออยูกบ ่ ่ ั carboxyl group (COOH) และอีกด้านหนึงต่อกับ Amino group ่ (NH2) - พบในธรรมชาติ 20 ชนิด - เชือมต่อกันด้วย peptide bond ่ - polypeptide มากกว่า 1 สายประกอบกันเป็น protein Denaturation Renaturation
  • 42. BIOTECHNOLOGY (Cont.) • ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยีชวภาพ ี - เป็นเทคนิคกระบวนการหรือการใช้สงมีชวต และส่วนประกอบของ ิ่ ี ิ สิงมีชีวต เพือปรับปรุงและพัฒนาทางการเกษตร อาหาร การแพทย์ ่ ิ ่ และสิงต่างๆทีผลิตเป็นอุตสาหกรรม ่ ่ - เป็นการประยุกต์ใช้หลักฐานของวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ในกระบวนการผลิต โดยใช้สารทางชีวภาพ เพือให้ได้สนค้าในระบบ ่ ิ อุตสาหกรรม และเป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าด้วย
  • 43. Why do we need ‘BIOTECHNOLOGY’?? เพื่อหาทางแก้ปญหาสาคัญที่โลกกาลังเผชิญอยู่ ได้แก่ ั • เกษตรกรรม • อาหาร • การแพทย์ • เภสัชกรรม และ • สิงแวดล้อม ่
  • 44. Biotechnology พันธุวศวกรรม คือ ิ เทคนิคการตัดต่อยีนจากสิงมีชวตชนิดหนึ่ง หรือหลายชนิดแล้ว ่ ี ิ ถ่ายเทให้กบสิงมีชีวตชนิดเดียวกัน หรือต่างชนิดกัน ั ่ ิ เทคนิคพันธุวิศวกรรมประกอบด้วย 4 ขันตอน ดังนี้ ้ 1. การแยกยีนทีสนใจ (gene of interest) ่ 2. เพิ่มปริมาณยีนทีสนใจด้วยเทคนิค PCR ่ 3. นาชิ้นส่วนยีนที่แยกได้ไปต่อกับพาหะ (vector) 4. การโคลนยีน (gene cloning) 5. ถ่าย recombinant DNA ใส่ในสิงมีชวตเป้าหมาย ่ ี ิ
  • 47. ProkaryoticVectors Plasmid • เป็นดีเอ็นเอที่อยูนอก ่ โครโมโซม • พบในแบคทีเรียหลายชนิด • โครงสร้างเป็นดีเอ็นเอวง แหวนเกลียวคู่ • สามารถจาลองตัวเองได้
  • 48. ProkaryoticVectors • lambda phage • cosmid • M13 phage • shuttle vector
  • 49. Restriction Enzymes • เอนไซม์ตดจาเพาะจะตัดดีเอ็นเอทีตาแหน่งจดจา ในลักษณะทีเรียกว่า palindrome ั ่ ่ • การเรียกชือเอนไซม์ได้มาจาก genus name และ species name โดยใช้ระบบ ่ อักษร 3 ตัว พิมพ์ตวเอน ั
  • 50.
  • 52. Recombinant DNA technique : เทคนิคทีทาให้เกิดการรวมตัวกันของสารพันธุกรรมในสภาพ ่ หลอดทดลองประกอบด้วย 1. ใช้ restriction enzyme ตัดโมเลกุล DNA ให้ได้ target DNA 2. เชือมต่อชิน DNA เข้ากับ vector โดยเทคนิค ligation ่ ้ 3. สอดแทรก recombinant DNA molecule เข้าไปใน host ทีทาให้ ่ recombinant DNA molecule เพิ่มจานวนได้
  • 54. Transformation Screening White blue colony screening 1. การตรวจสอบว่าพลาสมิด เข้าสูแบคทีเรียหรือไม่ ่ 1 2. การคัดเลือกเซลล์ 2 แบคทีเรียที่มดเอ็นเอสาย ี ี ผสม
  • 56.  Golden Rice http://www.isaaa.org/Kc/inforesources/biotechcro ps/The_Golden_Rice_Technology.htm
  • 57.  สิ่งมีชีวตดัดแปลงพันธุกรรม ิ GMOs / LMOs - Genetically Modified Organisms (GMOs) - Living Modified Organisms (LMOs) - Transgenic plant - Transgenic animal
  • 58.  เทคนิคทางพันธุวศวกรรม (genetic ิ engineering) การย้ายยีนเข้าสูพชทางพันธุวิศวกรรมสามารถแบ่ง ่ ื ได้เป็น 2 วิธดังนี้ ี 1. การย้ายยีนโดยใช้ Agrobacterium tumerfaciens เป็นพาหะ 2. การย้ายยีนโดยไม่ตองใช้พาหะ ้
  • 59. การย้ายยีนเข้าสูพืช ่ ทางพันธุวศวกรรม ิ ที่มา: https://www.msu.edu/course/is b/202/ebertmay/2004/notes/in otes/02_28_06_bghuman.html
  • 60.  เทคนิคทางพันธุวศวกรรมในสัตว์ ิ (genetic engineering) พันธุวิศวกรรมในสัตว์สามารถแบ่งได้เป็น 3 วิธดงนี้ ี ั 1. DNA microinjection 2. Embryonic stem cell (homologous recombination) 3. การถ่ายยีนโดยใช้ Retrovirus (SV 40)
  • 61. Polymorphism คือ ความแตกต่างของรูปแบบพันธุกรรมมากกว่า 1 แบบขึนไป ความแตกต่างที่เกิดขึนนีจะต้องมีความถีไม่ ้ ้ ้ ่ น้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ โดยปกติความแตกต่างทีเกิดขึนมี ่ ้ 3 ระดับ คือ 1. ระดับโครโมโซม 2. ระดับยีน 3. ระดับความยาวของชินส่วนดีเอ็นเอเมือตัดด้วย ้ ่ เอนไซม์ตดจาเพาะ ั
  • 62. Genetic Engineering ประโยชน์ของเทคนิคพันธุวศวกรรม ิ 1. ด้านการแพทย์: ผลิตinsulin, growth hormone, vaccine และ gene theraphy (โรคภูมิคมกัน ุ้ บกพร่อง (SCID) 2. ด้านการเกษตร: transgenic plant, transgenic animal 3. ด้านอุตสาหกรรมและสภาพแวดล้อม: ผลิต เชือจุลนทรียพันธุที่มประสิทธิภาพสูงในการหมัก ้ ิ ์ ์ ี
  • 63. ขอขอบคุณ อ.ดร.ภิญญารัตน์ กงประโคน สาขาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร