SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 25
Baixar para ler offline
ความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์
อ.อธิศ ปทุมวรรณ
มหาวิทยาลัยนเรศวร
เนื้อหา
 เซ็ต ฟังก์ชัน และ กราฟ

 ตัวอักษร สตริง และภาษา
 เทคนิคการพิสูจน์

 ไวยากรณ์และออโตมาตา

2

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ความหมายของเซ็ต
เซ็ต (Set) คือ กลุ่มของวัตถุโดยไม่คานึงถึงการจัดเรียง
เรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก
a เป็นสมาชิกของเซ็ต S จะเขียนอยู่ในรูป 𝑎 ∈ 𝑆
a ไม่เป็นสมาชิกของเซ็ต S จะเขียนอยู่ในรูป 𝑎 ∌ 𝑆
เซ็ต S ประกอบด้วยสมาชิกคือ a, b c จะเขียนในรูป 𝑆 = { 𝑎, 𝑏, 𝑐}

3

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ลักษณะของเซ็ต
 เซ็ตจากัด (Finite Set ) ทราบจานวนสมาชิกที่แน่นอน

𝑆 = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9}
𝑆 = { 𝑎, 𝑏, 𝑐, … , 𝑧}
 เซ็ตไม่จากัด (Infinite Set) ไม่ทราบจานวนสมาชิกแน่นอน

𝑆 = { 1, 2, 3, … }
𝑆 = { 𝑛 | 𝑛 𝑚𝑜𝑑 3 = 0}
 เซ็ตว่าง (Empty Set) ไม่มีจานวนสมาชิกเลย

𝑆 = { } หรือ 𝑆 = 𝜙
4

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
เซตทีเท่ากัน (Equal Sets)
่
 เซตสองเซตจะเท่ากันก็ต่อเมื่อเซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกัน

 เซต A เท่ากับ เซต B แทนด้วย

𝐴= 𝐵
 เซต A ไม่เท่ากับ เซต B แทนด้วย 𝐴 ≠ 𝐵
𝐴 = 𝑎, 𝑏, 𝑐
𝐵 = 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑
𝐶 = {𝑐, 𝑏, 𝑎}
𝐴= 𝐵
𝐴= 𝐶
5

𝑋 = 0, 1, 3, 5
𝑌 = {𝑥|𝑥 ∈ 𝐼 + , 𝑥 < 6}
𝑍 = {1, 3, 5, 7}
𝑋≠ 𝑌
𝑋≠ 𝑍
ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
เซตที่เทียบเท่ากัน (Equivalent Sets)
 เซตที่มีจานวนสมาชิกเท่ากัน และ สมาชิกของเซตจับคู่กันได้พอดี

แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
 เซต A เทียบเท่ากับ เซต B แทนด้วย 𝐴 ↔ 𝐵
𝐴 = 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑
𝐵 = 1, 2, 3, 4
𝐴↔ 𝐵

6

𝑋 = 𝑥 𝑥 ∈ 𝐼+
𝑌 = {𝑥|𝑥 = 2𝑛, 𝑛 = 1, 2, 3, … }
𝑋↔ 𝑌

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
เซตที่เทียบเท่ากัน (Equivalent Sets)
 ถ้า

𝐴 = 𝐵 แล้ว 𝐴 ↔ 𝐵
 ถ้า 𝐴 ↔ 𝐵 ไม่อาจสรุปได้ว่า 𝐴 = 𝐵

7

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
สับเซ็ต (Subset)
 การที่เซต A จะเป็นสับเซตของเซต B ได้นั้นสมาชิกทุกตัวของเซต

A จะต้องเป็นสมาชิกของเซต B
 เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย 𝐴 ⊂ 𝐵
 เซต B ไม่เป็นสับเซตของเซต C แทนด้วย 𝐵 ⊄ 𝐶
A

8

B

C

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
สับเซ็ต (Subset)
 เซ็ตทุกเซ็ตเป็นสับเซ็ตของตนเอง

𝐴⊂ 𝐴
 เซ็ตว่างเป็นสับเซตของทุกเซ็ต ∅ ⊂ 𝐴
 ถ้าเซ็ต 𝐴 ⊂ ∅ แล้ว 𝐴 = ∅
 ถ้า 𝐴 ⊂ 𝐵 และ B ⊂ 𝐶 แล้ว 𝐴 ⊂ 𝐶
 𝐴 = 𝐵 ก็ต่อเมื่อ 𝐴 ⊂ 𝐵 และ B ⊂ 𝐴

9

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
เพาเวอร์เซ็ต (Power Set)
 ถ้า A เป็นเซตใด ๆ เพาเวอร์ของเซต A คือ เซตที่มีสมาชิกเป็นสับ

เซตทั้งหมดของ A เขียนแทนด้วย P(A)
𝐴=∅
𝑃(𝐴) = ∅
𝐵 = {𝑎}
𝑃(𝐵) = ∅, {𝑎}
C = {𝑎, 𝑏}
𝑃(𝐶) = ∅, {𝑎}, {𝑏}, {𝑎, 𝑏}
10

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
การดาเนินการที่ทากับเซ็ต (Set Operation)


ปฏิบัติการระหว่างเซต คือ การนาเซตต่าง ๆ มากระทากันเพื่อให้เกิด
เป็นเซตใหม่ได้ ซึ่งทาได้ 4 วิธี คือ






11

ยูเนียน (Union) ยูเนียนของเซต A และ B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิก
ของเซต A หรือ B
อินเตอร์เซคชัน (Intersection) อินเตอร์เซคชันของเซต A และ B คือเซตที่
ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A และ B
คอมพลีเมนต์ (Complement) คอมพลีเมนต์ของเซต A คือเซตที่
ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเอกภพสัมพัทธ์ แต่ไม่เป็นสมาชิกของ
A
ผลต่างของเซต (Difference) ผลต่างของเซต A และ B คือเซตที่
ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต B
ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ยูเนียน (Union)
𝑆1 ∪ 𝑆2 = {𝑎|𝑎 ∈ 𝑆1 𝑜𝑟 𝑎 ∈ 𝑆2 }

𝕌=
𝐴=
𝐵=
𝐴∪

12

1, 2, 3, … , 20
1, 2, 3, 4, 5, 6
2, 4, 6, 8, 10
𝐵 = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 10}

𝕌
A

B

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
อินเตอร์เซกชัน (Intersection)
𝑆1 ∩ 𝑆2 = {𝑎|𝑎 ∈ 𝑆1 𝑎𝑛𝑑 𝑎 ∈ 𝑆2 }

𝕌=
𝐴=
𝐵=
𝐴∩

13

1, 2, 3, … , 20
1, 2, 3, 4, 5, 6
2, 4, 6, 8, 10
𝐵 = {2, 4, 6}

𝕌
A

B

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ฟังก์ชัน
 ฟังก์ชัน (Function) ทาหน้าที่ในการเชื่อมโยงระหว่างอินพุทไปยัง

เอาท์พุท โดยอินพุทหนึ่งค่าจะให้ค่าเอาท์พุทเพียงค่าเดียวเท่านั้น
 𝑓 𝑥 = 𝑦 โดยที่ 𝑥 เป็นอินพุท และ 𝑦 เป็นเอาท์พุท
input
𝑥

14

output
𝑓 𝑥

𝑦

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ความสัมพันธ์ (Relation)
 ความสัมพันธ์ (Relation) ทาหน้าที่ในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์

ระหว่างเซตของอินพุท ที่เรียกว่าโดเมน (Domain) ไปยังเซ็ตของ
เอาท์พุท ที่เรียกว่าเรนจ์ (Range)
𝑋 = 1, 2, 4
𝑌 = 4, 5, 6
ถ้ าให้ 𝑅 เป็ นความสัมพันธ์น้อยกว่า หรื อเรี ยกว่า
𝑅 เป็ นความสัมพันธ์ จาก 𝑋 ไปยัง 𝑌 โดยที่ 𝑥 < 𝑦 เมื่อ 𝑥 ∈ 𝑋 และ 𝑦 ∈ 𝑌
𝑥𝑅𝑦 = { 1,4 , 1,5 , 1,6 , 2,4 , 2,5 , 2,6 , 4,5 , (4,6)}
15

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ความสัมพันธ์ที่เท่าเทียมกัน (Equivalence Relation)
 ความสัมพันธ์แบบสะท้อน (Reflexive)

 ความสัมพันธ์แบบถ่ายทอด (Transitive)
 ความสัมพันธ์แบบสมมาตร (Symmetric)

16

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ความสัมพันธ์แบบสะท้อน (Reflexive)
𝑎𝑅𝑎 สาหรับทุก 𝑎 ที่อยูในเซต 𝑆 นันคือ 𝑎, 𝑎 เป็ นสมาชิกในเซ็ตของความสัมพันธ์
่
้
เช่น 𝑎𝑅𝑎 = 1,1 , 2,2 , (3,3)

17

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ความสัมพันธ์แบบถ่ายทอด (Transitive)
ถ้ า 𝑎𝑅𝑏 และ 𝑏𝑅𝑐 แล้ ว 𝑎𝑅𝑐 นันคือ ถ้ ามีความสัมพันธ์ 𝑎, 𝑏 และ 𝑏, 𝑐 แล้ ว
้
จะต้ องมี ความสัมพันธ์ 𝑎, 𝑐 เช่น 1,2 , 2,3 , (1,3)

18

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ความสัมพันธ์แบบสมมาตร (Symmetric)
ถ้ า 𝑎𝑅𝑏 แล้ ว 𝑏𝑅𝑎 นันคือ ถ้ ามีความสัมพันธ์ 𝑎, 𝑏 แล้ ว จะต้ องมี ความสัมพันธ์
้
𝑏, 𝑎 เช่น 1,2 , 2,1

19

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
กลุ่มของความเท่าเทียมกัน (Equivalence Class)
สาหรับความสัมพันธ์ 𝑅 ที่ เท่าเทียมกัน (Equivalence Relation)
กลุมของความเท่าเทียมกัน (Equivalence Class) ถูกนิยามโดย
่
Equivalence Class of 𝑥 = 𝑦 𝑥𝑅𝑦
เช่น
𝑅 = 1,1 , 2,2 , 3,3 , 4,4 , 1,2 , 2,1 , (3,4 , (4,3)}
Equivalence Class of 1 = {1,2}
Equivalence Class of 2 = {1,2}
Equivalence Class of 3 = {3,4}
Equivalence Class of 4 = {3,4}
20

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
กราฟ (Graph)
 กราฟ (Graph) คือโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบด้วยสองส่วนคือ

โหนด (Nodes หรือ Vertices)
 กิ่ง (Edges)


B
D

A

 แบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่คือ

C

Undirected Graph

กราฟที่ไม่มีทิศทาง (Undirected Graph)
 กราฟที่มีทิศทาง (Directed Graph)


B

A

D

C

Directed Graph
21

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
การอธิบายกราฟโดยไม่ใช้แผนภาพ
ใช้ สญลักษณ์กราฟ 𝐺 = (𝑉, 𝐸)
ั
โดยที่
𝑉 คือเซตของโหนดที่อยูในกราฟ
่
𝐸 คือคูลาดับของโหนดเพื่อใช้ อธิบายว่าโหนดไหนเชื่อมต่อกันบ้ าง
่
𝐺 = ( 𝐴, 𝐵, 𝐶, 𝐷 ,

𝐴, 𝐵 , 𝐵, 𝐷 , 𝐵, 𝐶 , 𝐶, 𝐷 )
B

D

A

C

22

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
คาที่ต้องรู้จักเกี่ยวกับกราฟ
 ดีกรี (Degree) จานวนกิ่งของโหนดหนึ่งๆ

 กราฟย่อย (Sub graph) A จะเป็นกราฟย่อยของ B ก็ต่อเมื่อ เซต

ของโหนดในกราฟ A เป็นเซ็ตย่อยของเซตของโหนดในกราฟ B
และเซตของกิ่งภายในกราฟ A ต้องเป็นเซตย่อยของกิ่งในกราฟ B
ด้วย
 การเดิน (Walk) ลาดับของกิ่งที่เชื่อมต่อกัน
 ทาง (Path) การเดินโดยไม่มีกิ่งใดถูกผ่านซ้า
 ทางแบบง่าย (Simple Path) การเดินโดยไม่มีโหนดใดถูกผ่านซ้า
23

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
คาที่ต้องรู้จักเกี่ยวกับกราฟ
 ไซเคิล (Cycle) กราฟที่ทาง (Path) ใดๆ มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด

เป็นจุดเดียวกัน
 ออยเลอร์ทัวร์ (Euler Tour) ไซเคิลผ่านทุกกิ่ง โดยแต่ละกิ่งจะผ่าน
ครั้งเดียวเท่านั้น
 ฮามิลโทเนียนไซเคิล (Hamiltonian Cycle) ไซเคิลเกิดจากการ
ผ่านโหนดทุกโหนดของกราฟและจะผ่านแค่ครั้งเดียวเท่านั้น

24

ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ต้นไม้ (Tree)
 ต้นไม้ (Tree) กราฟที่ไม่มีทิศทาง และไม่มี ไซเคิล

 มีจุดที่ทาหน้าที่เป็นจุดเริ่มต้นบนสุดเรียกว่า ราก (Root)
A

C

B

โหนดพ่อแม่ (Parent)

โหนดลูก (Child)
25

E

G

D

F

ความลึก (Depth) = 3
โหนดใบ (Leaf) ={B, G, F, D}
ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physicsฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
Chayanis
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
พัน พัน
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
aoynattaya
 
จำนวนจริง1
จำนวนจริง1จำนวนจริง1
จำนวนจริง1
guest03bcafe
 
จำนวนจริง1
จำนวนจริง1จำนวนจริง1
จำนวนจริง1
guest03bcafe
 
จำนวนจริง1
จำนวนจริง1จำนวนจริง1
จำนวนจริง1
guest03bcafe
 

Mais procurados (16)

Pat15210
Pat15210Pat15210
Pat15210
 
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physicsฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
 
Pat15810
Pat15810Pat15810
Pat15810
 
SEQUENCE&SERIES
SEQUENCE&SERIES SEQUENCE&SERIES
SEQUENCE&SERIES
 
Pat15510
Pat15510Pat15510
Pat15510
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
Pat15803
Pat15803Pat15803
Pat15803
 
จำนวนจริง1
จำนวนจริง1จำนวนจริง1
จำนวนจริง1
 
จำนวนจริง1
จำนวนจริง1จำนวนจริง1
จำนวนจริง1
 
จำนวนจริง1
จำนวนจริง1จำนวนจริง1
จำนวนจริง1
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 

Destaque

Chapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics toolsChapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics tools
Atit Patumvan
 
Computer Programming Chapter 5 : Methods
Computer Programming Chapter 5 : MethodsComputer Programming Chapter 5 : Methods
Computer Programming Chapter 5 : Methods
Atit Patumvan
 
Introduction to Java EE (J2EE)
Introduction to Java EE (J2EE)Introduction to Java EE (J2EE)
Introduction to Java EE (J2EE)
Atit Patumvan
 
total quality management (tqm)
total quality management (tqm)total quality management (tqm)
total quality management (tqm)
Dr. Sunil Kumar
 
Tools and techniques used in tqm ppt
Tools and techniques used in tqm pptTools and techniques used in tqm ppt
Tools and techniques used in tqm ppt
abhandary
 
Total Quality Management (TQM)
Total Quality Management (TQM)Total Quality Management (TQM)
Total Quality Management (TQM)
Mudassar Salman
 

Destaque (20)

การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7
 
Chapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics toolsChapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics tools
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2
 
Computer Programming Chapter 5 : Methods
Computer Programming Chapter 5 : MethodsComputer Programming Chapter 5 : Methods
Computer Programming Chapter 5 : Methods
 
An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)
An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)
An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6
 
Introduction to Java EE (J2EE)
Introduction to Java EE (J2EE)Introduction to Java EE (J2EE)
Introduction to Java EE (J2EE)
 
Total Quality Management-A Road Map to Corporate Excellence
Total Quality Management-A Road Map to Corporate ExcellenceTotal Quality Management-A Road Map to Corporate Excellence
Total Quality Management-A Road Map to Corporate Excellence
 
TQM (Total Quality Management)
TQM (Total Quality Management)TQM (Total Quality Management)
TQM (Total Quality Management)
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
total quality management (tqm)
total quality management (tqm)total quality management (tqm)
total quality management (tqm)
 
Tools and techniques used in tqm ppt
Tools and techniques used in tqm pptTools and techniques used in tqm ppt
Tools and techniques used in tqm ppt
 
Total Quality Management (TQM)
Total Quality Management (TQM)Total Quality Management (TQM)
Total Quality Management (TQM)
 
Tqm Final Ppt
Tqm Final PptTqm Final Ppt
Tqm Final Ppt
 
Total Quality Management (TQM)
Total Quality Management (TQM)Total Quality Management (TQM)
Total Quality Management (TQM)
 
Total quality management tools and techniques
Total quality management tools and techniquesTotal quality management tools and techniques
Total quality management tools and techniques
 

Semelhante a Chapter 1 mathmatics tools

เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
Somrak Sokhuma
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
Pasit Suwanichkul
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
IRainy Cx'cx
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
Rungthaya
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1
aungdora57
 
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ทับทิม เจริญตา
 
จำนวนจริง1
จำนวนจริง1จำนวนจริง1
จำนวนจริง1
guest03bcafe
 
จำนวนจริง1
จำนวนจริง1จำนวนจริง1
จำนวนจริง1
guest03bcafe
 

Semelhante a Chapter 1 mathmatics tools (20)

Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้นทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
งานนำเสนอSet
งานนำเสนอSetงานนำเสนอSet
งานนำเสนอSet
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
 
จำนวนจริง1
จำนวนจริง1จำนวนจริง1
จำนวนจริง1
 
จำนวนจริง1
จำนวนจริง1จำนวนจริง1
จำนวนจริง1
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
 

Mais de Atit Patumvan

แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ต
แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ตแบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ต
แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ต
Atit Patumvan
 
Computer Programming Chapter 4 : Loops
Computer Programming Chapter 4 : Loops Computer Programming Chapter 4 : Loops
Computer Programming Chapter 4 : Loops
Atit Patumvan
 
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic Binding
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic BindingChapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic Binding
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic Binding
Atit Patumvan
 
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐาน
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐานการตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐาน
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐาน
Atit Patumvan
 
OOP Chapter 5 : Program Looping
OOP Chapter 5 : Program Looping OOP Chapter 5 : Program Looping
OOP Chapter 5 : Program Looping
Atit Patumvan
 

Mais de Atit Patumvan (17)

Iot for smart agriculture
Iot for smart agricultureIot for smart agriculture
Iot for smart agriculture
 
แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ต
แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ตแบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ต
แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ต
 
รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556
รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556
รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556
 
Media literacy
Media literacyMedia literacy
Media literacy
 
Computer Programming Chapter 4 : Loops
Computer Programming Chapter 4 : Loops Computer Programming Chapter 4 : Loops
Computer Programming Chapter 4 : Loops
 
Computer Programming: Chapter 1
Computer Programming: Chapter 1Computer Programming: Chapter 1
Computer Programming: Chapter 1
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1
 
Write native iPhone applications using Eclipse CDT
Write native iPhone applications using Eclipse CDTWrite native iPhone applications using Eclipse CDT
Write native iPhone applications using Eclipse CDT
 
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic Binding
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic BindingChapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic Binding
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic Binding
 
OOP Chapter 8 : Inheritance
OOP Chapter 8 : InheritanceOOP Chapter 8 : Inheritance
OOP Chapter 8 : Inheritance
 
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐาน
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐานการตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐาน
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐาน
 
OOP Chapter 7 : More on Classes
OOP Chapter 7 : More on ClassesOOP Chapter 7 : More on Classes
OOP Chapter 7 : More on Classes
 
การจัดการธุรกิจแบบเหนือเมฆ
การจัดการธุรกิจแบบเหนือเมฆการจัดการธุรกิจแบบเหนือเมฆ
การจัดการธุรกิจแบบเหนือเมฆ
 
OOP Chapter 6: Making Decisions
OOP Chapter 6: Making DecisionsOOP Chapter 6: Making Decisions
OOP Chapter 6: Making Decisions
 
OOP Chapter 5 : Program Looping
OOP Chapter 5 : Program Looping OOP Chapter 5 : Program Looping
OOP Chapter 5 : Program Looping
 
OOP Chapter 4: Data Type and Expressions
OOP Chapter 4: Data Type and ExpressionsOOP Chapter 4: Data Type and Expressions
OOP Chapter 4: Data Type and Expressions
 
OOP Chapter 3: Classes, Objects and Methods
OOP Chapter 3: Classes, Objects and MethodsOOP Chapter 3: Classes, Objects and Methods
OOP Chapter 3: Classes, Objects and Methods
 

Chapter 1 mathmatics tools

  • 2. เนื้อหา  เซ็ต ฟังก์ชัน และ กราฟ  ตัวอักษร สตริง และภาษา  เทคนิคการพิสูจน์  ไวยากรณ์และออโตมาตา 2 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 3. ความหมายของเซ็ต เซ็ต (Set) คือ กลุ่มของวัตถุโดยไม่คานึงถึงการจัดเรียง เรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก a เป็นสมาชิกของเซ็ต S จะเขียนอยู่ในรูป 𝑎 ∈ 𝑆 a ไม่เป็นสมาชิกของเซ็ต S จะเขียนอยู่ในรูป 𝑎 ∌ 𝑆 เซ็ต S ประกอบด้วยสมาชิกคือ a, b c จะเขียนในรูป 𝑆 = { 𝑎, 𝑏, 𝑐} 3 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 4. ลักษณะของเซ็ต  เซ็ตจากัด (Finite Set ) ทราบจานวนสมาชิกที่แน่นอน 𝑆 = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9} 𝑆 = { 𝑎, 𝑏, 𝑐, … , 𝑧}  เซ็ตไม่จากัด (Infinite Set) ไม่ทราบจานวนสมาชิกแน่นอน 𝑆 = { 1, 2, 3, … } 𝑆 = { 𝑛 | 𝑛 𝑚𝑜𝑑 3 = 0}  เซ็ตว่าง (Empty Set) ไม่มีจานวนสมาชิกเลย 𝑆 = { } หรือ 𝑆 = 𝜙 4 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 5. เซตทีเท่ากัน (Equal Sets) ่  เซตสองเซตจะเท่ากันก็ต่อเมื่อเซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกัน  เซต A เท่ากับ เซต B แทนด้วย 𝐴= 𝐵  เซต A ไม่เท่ากับ เซต B แทนด้วย 𝐴 ≠ 𝐵 𝐴 = 𝑎, 𝑏, 𝑐 𝐵 = 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 𝐶 = {𝑐, 𝑏, 𝑎} 𝐴= 𝐵 𝐴= 𝐶 5 𝑋 = 0, 1, 3, 5 𝑌 = {𝑥|𝑥 ∈ 𝐼 + , 𝑥 < 6} 𝑍 = {1, 3, 5, 7} 𝑋≠ 𝑌 𝑋≠ 𝑍 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 6. เซตที่เทียบเท่ากัน (Equivalent Sets)  เซตที่มีจานวนสมาชิกเท่ากัน และ สมาชิกของเซตจับคู่กันได้พอดี แบบหนึ่งต่อหนึ่ง  เซต A เทียบเท่ากับ เซต B แทนด้วย 𝐴 ↔ 𝐵 𝐴 = 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 𝐵 = 1, 2, 3, 4 𝐴↔ 𝐵 6 𝑋 = 𝑥 𝑥 ∈ 𝐼+ 𝑌 = {𝑥|𝑥 = 2𝑛, 𝑛 = 1, 2, 3, … } 𝑋↔ 𝑌 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 7. เซตที่เทียบเท่ากัน (Equivalent Sets)  ถ้า 𝐴 = 𝐵 แล้ว 𝐴 ↔ 𝐵  ถ้า 𝐴 ↔ 𝐵 ไม่อาจสรุปได้ว่า 𝐴 = 𝐵 7 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 8. สับเซ็ต (Subset)  การที่เซต A จะเป็นสับเซตของเซต B ได้นั้นสมาชิกทุกตัวของเซต A จะต้องเป็นสมาชิกของเซต B  เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย 𝐴 ⊂ 𝐵  เซต B ไม่เป็นสับเซตของเซต C แทนด้วย 𝐵 ⊄ 𝐶 A 8 B C ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 9. สับเซ็ต (Subset)  เซ็ตทุกเซ็ตเป็นสับเซ็ตของตนเอง 𝐴⊂ 𝐴  เซ็ตว่างเป็นสับเซตของทุกเซ็ต ∅ ⊂ 𝐴  ถ้าเซ็ต 𝐴 ⊂ ∅ แล้ว 𝐴 = ∅  ถ้า 𝐴 ⊂ 𝐵 และ B ⊂ 𝐶 แล้ว 𝐴 ⊂ 𝐶  𝐴 = 𝐵 ก็ต่อเมื่อ 𝐴 ⊂ 𝐵 และ B ⊂ 𝐴 9 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 10. เพาเวอร์เซ็ต (Power Set)  ถ้า A เป็นเซตใด ๆ เพาเวอร์ของเซต A คือ เซตที่มีสมาชิกเป็นสับ เซตทั้งหมดของ A เขียนแทนด้วย P(A) 𝐴=∅ 𝑃(𝐴) = ∅ 𝐵 = {𝑎} 𝑃(𝐵) = ∅, {𝑎} C = {𝑎, 𝑏} 𝑃(𝐶) = ∅, {𝑎}, {𝑏}, {𝑎, 𝑏} 10 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 11. การดาเนินการที่ทากับเซ็ต (Set Operation)  ปฏิบัติการระหว่างเซต คือ การนาเซตต่าง ๆ มากระทากันเพื่อให้เกิด เป็นเซตใหม่ได้ ซึ่งทาได้ 4 วิธี คือ     11 ยูเนียน (Union) ยูเนียนของเซต A และ B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ของเซต A หรือ B อินเตอร์เซคชัน (Intersection) อินเตอร์เซคชันของเซต A และ B คือเซตที่ ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A และ B คอมพลีเมนต์ (Complement) คอมพลีเมนต์ของเซต A คือเซตที่ ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเอกภพสัมพัทธ์ แต่ไม่เป็นสมาชิกของ A ผลต่างของเซต (Difference) ผลต่างของเซต A และ B คือเซตที่ ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต B ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 12. ยูเนียน (Union) 𝑆1 ∪ 𝑆2 = {𝑎|𝑎 ∈ 𝑆1 𝑜𝑟 𝑎 ∈ 𝑆2 } 𝕌= 𝐴= 𝐵= 𝐴∪ 12 1, 2, 3, … , 20 1, 2, 3, 4, 5, 6 2, 4, 6, 8, 10 𝐵 = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 10} 𝕌 A B ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 13. อินเตอร์เซกชัน (Intersection) 𝑆1 ∩ 𝑆2 = {𝑎|𝑎 ∈ 𝑆1 𝑎𝑛𝑑 𝑎 ∈ 𝑆2 } 𝕌= 𝐴= 𝐵= 𝐴∩ 13 1, 2, 3, … , 20 1, 2, 3, 4, 5, 6 2, 4, 6, 8, 10 𝐵 = {2, 4, 6} 𝕌 A B ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 14. ฟังก์ชัน  ฟังก์ชัน (Function) ทาหน้าที่ในการเชื่อมโยงระหว่างอินพุทไปยัง เอาท์พุท โดยอินพุทหนึ่งค่าจะให้ค่าเอาท์พุทเพียงค่าเดียวเท่านั้น  𝑓 𝑥 = 𝑦 โดยที่ 𝑥 เป็นอินพุท และ 𝑦 เป็นเอาท์พุท input 𝑥 14 output 𝑓 𝑥 𝑦 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 15. ความสัมพันธ์ (Relation)  ความสัมพันธ์ (Relation) ทาหน้าที่ในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ระหว่างเซตของอินพุท ที่เรียกว่าโดเมน (Domain) ไปยังเซ็ตของ เอาท์พุท ที่เรียกว่าเรนจ์ (Range) 𝑋 = 1, 2, 4 𝑌 = 4, 5, 6 ถ้ าให้ 𝑅 เป็ นความสัมพันธ์น้อยกว่า หรื อเรี ยกว่า 𝑅 เป็ นความสัมพันธ์ จาก 𝑋 ไปยัง 𝑌 โดยที่ 𝑥 < 𝑦 เมื่อ 𝑥 ∈ 𝑋 และ 𝑦 ∈ 𝑌 𝑥𝑅𝑦 = { 1,4 , 1,5 , 1,6 , 2,4 , 2,5 , 2,6 , 4,5 , (4,6)} 15 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 16. ความสัมพันธ์ที่เท่าเทียมกัน (Equivalence Relation)  ความสัมพันธ์แบบสะท้อน (Reflexive)  ความสัมพันธ์แบบถ่ายทอด (Transitive)  ความสัมพันธ์แบบสมมาตร (Symmetric) 16 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 17. ความสัมพันธ์แบบสะท้อน (Reflexive) 𝑎𝑅𝑎 สาหรับทุก 𝑎 ที่อยูในเซต 𝑆 นันคือ 𝑎, 𝑎 เป็ นสมาชิกในเซ็ตของความสัมพันธ์ ่ ้ เช่น 𝑎𝑅𝑎 = 1,1 , 2,2 , (3,3) 17 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 18. ความสัมพันธ์แบบถ่ายทอด (Transitive) ถ้ า 𝑎𝑅𝑏 และ 𝑏𝑅𝑐 แล้ ว 𝑎𝑅𝑐 นันคือ ถ้ ามีความสัมพันธ์ 𝑎, 𝑏 และ 𝑏, 𝑐 แล้ ว ้ จะต้ องมี ความสัมพันธ์ 𝑎, 𝑐 เช่น 1,2 , 2,3 , (1,3) 18 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 19. ความสัมพันธ์แบบสมมาตร (Symmetric) ถ้ า 𝑎𝑅𝑏 แล้ ว 𝑏𝑅𝑎 นันคือ ถ้ ามีความสัมพันธ์ 𝑎, 𝑏 แล้ ว จะต้ องมี ความสัมพันธ์ ้ 𝑏, 𝑎 เช่น 1,2 , 2,1 19 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 20. กลุ่มของความเท่าเทียมกัน (Equivalence Class) สาหรับความสัมพันธ์ 𝑅 ที่ เท่าเทียมกัน (Equivalence Relation) กลุมของความเท่าเทียมกัน (Equivalence Class) ถูกนิยามโดย ่ Equivalence Class of 𝑥 = 𝑦 𝑥𝑅𝑦 เช่น 𝑅 = 1,1 , 2,2 , 3,3 , 4,4 , 1,2 , 2,1 , (3,4 , (4,3)} Equivalence Class of 1 = {1,2} Equivalence Class of 2 = {1,2} Equivalence Class of 3 = {3,4} Equivalence Class of 4 = {3,4} 20 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 21. กราฟ (Graph)  กราฟ (Graph) คือโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบด้วยสองส่วนคือ โหนด (Nodes หรือ Vertices)  กิ่ง (Edges)  B D A  แบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่คือ C Undirected Graph กราฟที่ไม่มีทิศทาง (Undirected Graph)  กราฟที่มีทิศทาง (Directed Graph)  B A D C Directed Graph 21 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 22. การอธิบายกราฟโดยไม่ใช้แผนภาพ ใช้ สญลักษณ์กราฟ 𝐺 = (𝑉, 𝐸) ั โดยที่ 𝑉 คือเซตของโหนดที่อยูในกราฟ ่ 𝐸 คือคูลาดับของโหนดเพื่อใช้ อธิบายว่าโหนดไหนเชื่อมต่อกันบ้ าง ่ 𝐺 = ( 𝐴, 𝐵, 𝐶, 𝐷 , 𝐴, 𝐵 , 𝐵, 𝐷 , 𝐵, 𝐶 , 𝐶, 𝐷 ) B D A C 22 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 23. คาที่ต้องรู้จักเกี่ยวกับกราฟ  ดีกรี (Degree) จานวนกิ่งของโหนดหนึ่งๆ  กราฟย่อย (Sub graph) A จะเป็นกราฟย่อยของ B ก็ต่อเมื่อ เซต ของโหนดในกราฟ A เป็นเซ็ตย่อยของเซตของโหนดในกราฟ B และเซตของกิ่งภายในกราฟ A ต้องเป็นเซตย่อยของกิ่งในกราฟ B ด้วย  การเดิน (Walk) ลาดับของกิ่งที่เชื่อมต่อกัน  ทาง (Path) การเดินโดยไม่มีกิ่งใดถูกผ่านซ้า  ทางแบบง่าย (Simple Path) การเดินโดยไม่มีโหนดใดถูกผ่านซ้า 23 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 24. คาที่ต้องรู้จักเกี่ยวกับกราฟ  ไซเคิล (Cycle) กราฟที่ทาง (Path) ใดๆ มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด เป็นจุดเดียวกัน  ออยเลอร์ทัวร์ (Euler Tour) ไซเคิลผ่านทุกกิ่ง โดยแต่ละกิ่งจะผ่าน ครั้งเดียวเท่านั้น  ฮามิลโทเนียนไซเคิล (Hamiltonian Cycle) ไซเคิลเกิดจากการ ผ่านโหนดทุกโหนดของกราฟและจะผ่านแค่ครั้งเดียวเท่านั้น 24 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 25. ต้นไม้ (Tree)  ต้นไม้ (Tree) กราฟที่ไม่มีทิศทาง และไม่มี ไซเคิล  มีจุดที่ทาหน้าที่เป็นจุดเริ่มต้นบนสุดเรียกว่า ราก (Root) A C B โหนดพ่อแม่ (Parent) โหนดลูก (Child) 25 E G D F ความลึก (Depth) = 3 โหนดใบ (Leaf) ={B, G, F, D} ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ