SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 40
Prapas Talks.
ง่ายๆ แค่นั้น ใครก็ท�ำได้.. คุณก็ท�ำได้..
เมื่อ คุณออกแบบอะไรก็ได้เป็น 3 มิติ ผ่าน Software CAD ง่ายๆ เพียงปลายนิ้ว
เมื่อ ระบบอัตโนมัติและ Robot เข้ามาแทนแรงงาน
เมื่อ คุณสามารถควบคุมทุกอย่างผ่าน Internet
เมื่อ คุณผลิตอะไรก็ได้ ผ่าน 3D Printer
เหล่ากูรูทั้งหลายจึงออกมานิยามยุคใหม่ของอุตสาหกรรมว่า Industry 4.0
(บางคนอาจมีค�ำถามคือ อยู่ดีๆ ก็มา 4.0 แล้วเราผ่าน 3.0 มาตอนไหนฟระ)
ค.อ.ผ.
คิด ออกแบบ แล้วก็ผลิต
เขาว่ากันว่าในอีก 20 ปี ข้างหน้าเราจะ
สามารถสั่งผลิตข้าวของเครื่องใช้ได้เอง โดย
ผ่าน Internet Device ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์
ตั้งโต๊ะ แบบพกพา โทรศัพท์มือถือ หรือแม้แต่
ผ่านหน้าจอ TV. ในห้องนอนได้เลย โดยค�ำสั่ง
ผลิตจะถูกส่งต่อไปที่ระบบอัตโนมัติในโรงงาน
ผลิตผ่าน 3D Printer โดยมี Robot ท�ำหน้าที่
เคลื่อนย้ายชิ้นงานจาก Station หนึ่ง ไปยังอีก
Station หนึ่ง โดยที่เราสามารถรับรู้ได้ หรือดู
ผ่าน Application ได้ว่าตอนนี้ของที่เราสั่งผลิต
มันไปถึงไหนแล้ว โดยแทบจะไม่ต้องคุยกับคนอีก
ต่อไป
เขาว่ากันว่าคนเราในยุคต่อไปจะต้องการความ
เป็นเอกลักษณ์ ต้องการใช้ของที่มันไม่เหมือนใคร
หรือเรียกว่าพวก HIPster ดูง่ายๆ อย่าง
โทรศัพท์ Apple iPhone ที่เขาอุตส่าห์ออกแบบ
ให้สวยงามสุดยอด แต่พอเราซื้อปุ๊บ เป็นไงครับ
ไปซื้อเคสใส่.. พี่โจนาธาน ไอป คนออกแบบคง
น�้ำตาไหล แต่นั่นละครับ ทุกคนอยากเป็นตัวของ
ตัวเองครับ สินค้าทุกอย่างในอนาคตจะต้อง
สามารถ Customized ให้ได้มากที่สุด ซึ่งการ
ผลิตแบบเก่าที่ใช้ระบบสายพานการผลิตและ
ผลิตครั้งละมากๆ ไม่อาจตอบโจทย์ของผู้บริโภค
ได้อีกต่อไป
Internet ท�ำให้โอกาสทางธุรกิจเปิดกว้างให้ทุกๆ
คน ไม่ว่าจะเล็กใหญ่ขนาดไหน ขอให้มีความคิด
ดีๆ ก็สามารถท�ำธุรกิจได้ และข้อดีในแง่ของผู้
บริโภคอย่างเราๆ ก็คือ เราจะมีคนเป็นพันล้าน
ที่พยายามคิดท�ำอะไรต่างๆ นานา เพื่อให้ชีวิต
เขาดีขึ้น เพื่อให้สังคมดีขึ้น และให้โลกนี้น่าอยู่มาก
ขึ้น แทนที่จะรอพึ่งบริษัทใหญ่ๆ คิดให้เราอย่าง
เดียวอีกต่อไป
คู่แข่งที่น่ากลัวของบริษัทยักษ์ใหญ่ อาจจะไม่ใช่
ยักษ์ใหญ่ด้วยกันอีกต่อไป ต่อไปนี้บริษัท Start
up เล็กๆ ก็สามารถสั่นสะเทือนบัลลังก์ยักษ์ใหญ่
ได้ไม่ยาก หากเขามีของ มีความมุ่งมั่น ตั้งใจจริง
ยุคต่อไปนี้การเริ่มต้นธุรกิจ ท�ำอะไรออกมาขาย
สักอย่างไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป ทุกคนสามารถ
ท�ำผลิตภัณฑ์ของตัวเองด้วยเงินทุนเริ่มต้นที่ต�่ำ
แบบที่ไม่มีมาก่อน ทั้งยังสามารถระดมทุนผ่าน
Cloud Funding อย่าง Kick Starter อีกต่าง
หาก ท�ำของเสร็จก็ขายผ่าน Internet ง่ายๆ แค่
นี้ครับ
ผมอยากเชิญชวนทุกท่านที่มีของ มี Idea ดีๆ
มาช่วยกันท�ำอะไรสักอย่าง Make Something
โดยให้เราเป็นผู้ช่วยของท่าน AppliCAD และ
บริษัทในเครือ พร้อมให้ค�ำปรึกษาและบริการ
เรามี Hardware ตั้งแต่เครื่อง 3D Scanner,
3D Printer, CNC เรามี Software ออกแบบ
เครื่องกล ออกแบบ Product ออกแบบบ้าน ตึก
ไปจนถึงออกแบบสิ่งพิมพ์เรามี People ware
ที่มากความรู้และประสบการณ์ที่สั่งสมยาวนาน
กว่า 20 ปี และปีนี้ 2016
ผมขอแนะน�ำปฐมบทของ Industry 4.0
ร้านใหม่ FAB CAFE @ One Udomsuk ติด
สถานีรถไฟฟ้าอุดมสุข
สนับสนุนทุกความเป็นไปได้
ศุนย์รวมคนเล็ก คนน้อยที่มี Idea ไม่ว่าจะเล็กๆ
แค่อยากท�ำแจกันสักอัน หรือฝันใหญ่ๆ ท�ำ
มอเตอร์ไซค์ขี่เองสักคัน ขอเรียนเชิญทุกคนมา
พบปะพวกเดียวกันได้ที่นี่ครับ ไว้แวะมาเจอกัน
นะครับ
Let’s make it happen!
บุญรักษาครับ
ประภาส ตั้ง
#iammaker3d
Prapas Talks02
ณ ปัจจุบันหลายท่านอาจเคยได้ยินเรื่อง 4.0 ไม่ว่าจะเป็น WEB 4.0, Marketing 4.0, IMC 4.0,
Retail 4.0 ในเล่มนี้เราจะมาพูดถึงเรื่องที่ใกล้ตัวเรา ในภาคอุตสาหกรรมคือ Engineering 4.0 ที่จะก�ำหนด
ทิศทางในอนาคตว่าจะมาถึงยุคปัจจุบันนี้ได้ ก็ผ่านมาหลายยุค ผมขอสรุปคร่าวๆ ดังนี้
Engineering 1.0 – 1760 to 1970 ยุคการออกแบบบนกระดาษ
Engineering 2.0 – 1970’s-1995 ยุคการออกแบบ 2D บนคอมพิวเตอร์
Engineering 3.0 – 1995-2015 ยุคการออกแบบ 3D และต่อยอดจาก 3D (CAE / CAM / 3D Printer)
Engineering 4.0 – 2015 – ? จะไปในทิคทางใด (ติดตามเนื้อหาได้ภายในเล่ม)
และเล่มนี้จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับ Industry 4.0 หรือยุค Internet of Things (IoT) โดยสรุปดังนี้
Industry 1.0 สร้างเครื่องจักรไอน�้ำในปี คศ. 1784 มันถูกน�ำมาใช้ทดแทนพลังงานที่ได้จากธรรมชาติในการ
ผลิต รวมทั้งเกิดการสร้างรถไฟ ซึ่งท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการคมนาคมขนส่ง กระตุ้นการบริโภค
สินค้าอุตสาหกรรม
Industry 2.0 ปลายศตวรรษที่ 19 การพัฒนาเครื่องก�ำเนิดพลังงานไฟฟ้า และเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต
มาเป็นระบบโรงงาน ท�ำให้เกิดการผลิตสินค้าครั้งละมากๆ ราคาไม่แพงท�ำให้ทุกคนสามารถเข้าถึงสินค้า
อุตสาหกรรมได้
Industry 3.0 เกิดขึ้นในปี 1970 เมื่อการพัฒนาด้านอิเล็กทรอนิกส์ และด้าน IT ถูกน�ำมาใช้ในกระบวนการ
ผลิต มีการปรับปรุงกระบวนการผลิตและระบบบริหารจัดการด้านคุณภาพ การพัฒนาเครื่องจักรให้มีความ
สามารถในด้านความเร็วและความละเอียดแม่นย�ำ รวมถึงการน�ำเอาระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์มาใช้ใน
กระบวนการผลิต
Industry 4.0 (Internet of Things (IoT)) ยุคการเชื่อมต่อกับ Internet เป็นยุคที่เชื่อมโยงลูกค้า กับการ
ใช้เครื่องจักรในการผลิตอัตโนมัติไม่ว่าจะเป็น Robot, 3D Printing และอื่นๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ
ลูกค้าแบบรายบุคคล ลูกค้าสามารถสั่งผลิตผ่านทาง Internet หรือปรับเปลี่ยนได้แบบ Real Time ได้ตลอดเวลา
เล่มนี้จะน�ำเสนอเครื่องมือ และแนวทางการรับมือการเปลี่ยนแปลงไปของเศรษฐกิจโลกที่เข้าสู่ช่วงขาลง
ส่งผลให้ผู้ประกอบการบางรายต้องปรับตัว มีการน�ำเครื่องจักรมาใช้ทดแทนการใช้แรงงานคนมากขึ้นเพื่อ
ลดค่าใช้จ่าย ในส่วนของเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ต่างๆ เมื่อเกิดพังหรือเสียเดิมอาจเคยซื้อใหม่ แต่ด้วย
เศรษฐกิจแย่จึงต้องปรับมาเปลี่ยนเป็นการซ่อมบ�ำรุงหรือประยุกต์ใช้แทน (Maintenance, Reuse, Recycle,
Reduce) โดยใช้กระบวนการผลิตที่ประหยัดเวลา และมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีแบบครบวงจรจนไปสู่ค�ำ
ว่า Smart Factory
ชโย เพ็ชรรัตน์
ผู้อ�ำนวยการฝ่าย
ContentPrapas Talks	
SOLIDWORKS vs Engineering 4.0	
ตอบโจทย์การบริการลูกค้ายุคใหม่ด้วย TeamViewer	
SolidCAM for The Generation Factory	
ยกระดับ SME พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย SolidCAM	
ปิดจ๊อบงานวิเคราะห์ได้อย่างเก๋ๆ ด้วยการ Simplify ชิ้นงาน	
Alternative Tooling ทางเลือกใหม่ส�ำหรับการสร้าง Tooling เพื่อการผลิตในยุค
อุตสาหกรรม 4.0	
พลิกโฉมหน้าการผลิต ปฏิวัติโลกอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 (INDUSTRY 4.0)	
The New Era of Electrical Design 	
What’s new SolidPlant 2016?	
การพัฒนาอุตสาหกรรมไทยสู่ Smart Factory	
SolidWorks Composer ตอบทุกโจทย์ปัญหาเรื่องการท�ำคู่มือ	
เปลี่ยนขั้นตอนการตามลายเซ็นแบบใหม่ไร้กระดาษด้วย Acrobat Pro Document Cloud (DC)
Education 4.0	
เขียนงานระบบท่อภายในอาคารง่ายกว่าที่เคย	
เทคนิคเพิ่มประสิทธิภาพกับการท�ำงานไฟล์ CAD ขนาดใหญ่ให้เร็วขึ้น	
AppliCAD Events	
02
04
08
10
13
16
18
21
24
26
28
30
32
34
36
37
38
Editor Talks 03
บทความ: จเร เมฆแก้ว
SOLIDWORKS vs
Engineering 4.0
การที่เราจะสามารถมองภาพในอนาคตของงาน
ด้านวิศวกรรมว่าเป็นอย่างไร เราคงต้องมองย้อนกลับไปในอดีต
ว่าเรามาถึงจุดนี้ได้อย่างไร ในอดีตเราได้ปฏิบัติงานกันแบบไหนอย่างไร
Engineering 1.0
1760 - 1970
	 เป็นยุคที่มนุษย์เราสามารถน�ำกกมาผลิตเป็นกระดาษบางๆ ได้ตั้งแต่ 2550 ปีก่อนคริสต์กาล การออกแบบที่ทันสมัยและงานด้านวิศวกรรม
ที่มีการพัฒนาก้าวหน้าไปสูงมากถ้าเทียบกับช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรรมในปีคริสตศักราช 1760 สิ่งประดิษฐ์ที่น่าทึ่งที่ได้รับการออกแบบและผลิตใน
ช่วงต้นปีคริสตศักราช 1900 นั้นใช้เพียงแค่กระดาษและดินสอ
เท่านั้น ยกตัวอย่างเช่น เครื่องยนต์ไอน�้ำ โรงงานปั่นฝ้าย
เครื่องโทรเลข จักรเย็บผ้า รถยนต์และเครื่องบิน
ในขณะที่วัสดุและวิธีการผลิตต่างๆ มีความซับซ้อน
มากขึ้น วิธีการเขียนแบบ ออกแบบทางด้าน
วิศวกรรมยังคงไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ จนเข้าสู่
ยุคของคอมพิวเตอร์
SOLIDWORKS vs Engineering 4.004
Engineering 2.0
1970’s - 1995
	 ในยุคนี้ ก็ถือเป็นยุคที่ก�ำเนิดคอมพิวเตอร์เมนเฟรมขนาดใหญ่
แน่นอนว่าราคาสูงลิ่วเพราะเป็นของใหม่ และมีการพัฒนาต่อกลายเป็น
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในราคาที่จับต้องได้
กลุ่มวิศวกร นักออกแบบ รวมถึงนักประดิษฐ์ต่างๆ สามารถที่จะเขียน
วงกลม เส้นโค้ง และสิ่งต่างๆ บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้โดยง่าย
	 การปฏิวัติในยุคนี้ถือว่าดีขึ้นร่วม 20-30 ปี โดยที่ยังมีการใช้
งานทั้งในส่วนงานบุคคลและองค์กรอยู่จนถึงปัจจุบัน โดยสิ่งที่เห็นชัดเจน
อย่างมีนัยส�ำคัญคือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในอดีตนั้นคงต้องพึ่งพา
ยางลบ แต่ปัจจุบันเรามียางลบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถลบได้ง่ายและ
ท�ำใหม่เท่าไรก็ได้ตามต้องการ
	 เครื่องมือหลายๆ ส่วนที่ช่วยค�ำนวณในการออกแบบ เช่น การ
หาจุดศูนย์กลาง พื้นที่ จุดศูนย์ถ่วง ฯลฯ อีกทั้งยังสามารถค�ำนวณภาพ
ฉายที่ซับซ้อนให้กลายเป็นเรื่องง่ายๆ ด้วยเทคนิคทางคอมพิวเตอร์
Engineering 3.0
1995 - 2015
	 ในขณะที่ความสามารถของโปรแกรมสามมิติ หรือ 3D CAD
เป็นที่รู้จักและมีการใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมการบิน อวกาศ
และยานยนต์ แต่ในตลาดส่วนใหญ่ ยังไม่ได้รู้จักกับเทคโนโลยีพวกนี้มาก
นัก จนถึงต้นปี 1990 SOLIDWORKS ได้เปิดตัวสุดยอดโปรแกรมที่ท�ำให้
วิศวกรและนักออกแบบทุกคนได้สัมผัสกับโปรแกรมสามมิติบนเครื่อง
เดสก์ทอป ซึ่งวิศวกรทุกคนเริ่มต้นใช้กันจริงจังในปี ค.ศ. 1995 และตั้งแต่
วันนั้นจนถึงวันนี้ก็มีผู้ใช้ทั่วโลกมากกว่า 2 ล้านคน ทั้งในเชิงพาณิชย์และ
ในหน่วยงานการศึกษา 3D CAD อย่าง SOLIDWORKS มีการพัฒนา
ตลอดเวลา ในแต่ละปีจะเพิ่มความสามารถใหม่ๆ ความเร็วในการใช้งาน
รวมถึงความสามารถในการแสดงผลที่สมจริงมากขึ้น เพื่อตอบสนอง
การคิดประดิษฐ์อะไรใหม่ๆ นอกเหนือจากการสร้างงานด้านการออกแบบ
และถ่ายทอดไอเดียมาใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้อย่างยอดเยี่ยมแล้ว วิศวกร
ก็ยังสามารถจ�ำลองหรือทดสอบการท�ำงานของงานที่ออกแบบนั้นก่อน
ที่จะมีการผลิตจริง ชิ้นส่วนสามารถทดสอบความแข็งแรง ความทนทาน
ภายใต้เงื่อนไขที่แตกต่างกัน วิเคราะห์เกี่ยวกับความเสียหายอันเนื่องมา
จากความร้อนของอุณหภูมิ วิเคราะห์การสั่นสะเทือน การโก่งงอและความ
ล้าของตัววัสดุได้อย่างแม่นย�ำ งานพวกแผงวงจรไฟฟ้าก็สามารถ
จ�ำลองได้เช่นกัน ไม่เว้นแม้แต่การทดสอบเกี่ยวกับของไหลที่สามารถหา
คุณสมบัติและผลกระทบต่างๆ รวมไปถึงงานที่เป็นลักษณะงานฉีด
พลาสติก (injection molding) ซึ่งสามารถจ�ำลองงานฉีดก่อนมีการส่ง
เข้าสู่กระบวนการผลิตจริงๆ ซึ่งทั้งงานออกแบบและผลการจ�ำลองเหล่า
นี้สามารถจัดเก็บภูมิความรู้หรือผลลัพธ์ทั้งหมดไว้ในระบบที่มีการรักษา
ความปลอดภัยอย่างดีซึ่งจะเรียกว่าระบบPDM(ProductDataManagement)
ระบบนี้ไม่เพียงแต่จัดการไฟล์เรื่องความปลอดภัยเท่านั้น แต่สามารถ
จัดการเรื่องการแก้ไข การป้องกันไม่ให้ข้อมูลเขียนทับกัน อีกทั้งยังสามารถ
ติดตามตรวจเช็คการเชื่อมโยงของไฟล์ นอกเหนือจากนั้นตัวโปรแกรมยัง
สามารถสร้างงานเรนเดอร์เพื่อสร้างภาพที่เสมือนจริง และท�ำภาพ
เคลื่อนไหวเพื่อใช้กับงานน�ำเสนอได้
Engineering 4.0
2015 – ?
ดังนั้นอนาคตต่อไปของงาน
ด้านวิศวกรรมจะไปทิศทางไหน ?
	 การแชร์ข้อมูลในยุคอนาคตมีความส�ำคัญมากๆ การที่จะต้อง
มีการเริ่มงานจากศูนย์เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระท�ำ เพราะว่าข้อมูลต่างๆ ได้มี
การสร้างไว้บ้างแล้ว สามารถที่จะดึงข้อมูลมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างเหมาะสมในยุคนี้เป็นกุญแจส�ำคัญในการเริ่มต้น
งานวิศวกรรม 4.0
	 ผู้ร่วมทุนในองค์กร ทีมงาน ทีมเทคนิคแต่ละคนควรมีการเข้า
ถึงข้อมูลที่ต้องการในรูปแบบเฉพาะภายใต้เงื่อนไขที่ก�ำหนด โดยสามารถ
เข้าได้ตลอดเวลา และจะมีระบบรักษาความปลอดภัยที่สูงจากส่วนกลาง
ซึ่งข้อมูลที่จ�ำเป็นในการแชร์ เช่น การเสนอราคาส�ำหรับงานขาย ค่าวัสดุ
ส�ำหรับการจัดซื้อ การตลาด รวมถึงเอกสารที่แสดงภาพเคลื่อนไหว
เอกสารตรวจสอบคุณภาพ รวมถึงไฟล์หลากหลายรูปแบบที่จ�ำเป็นในการ
ท�ำงาน เช่น eDrawings, 3D PDF, STEP, IGES etc... ทุกๆ ฝ่ายจะมี
เวลามากขึ้นในการท�ำงาน และใช้เวลาน้อยในการท�ำความเข้าใจนั้นๆ
SOLIDWORKS vs Engineering 4.0 05
วิศวกรสามารถใช้ประโยชน์จากงานที่ออกแบบเพื่อให้แชร์ภาพ
เคลื่อนไหวและภาพนิ่ง (.jpg, MP4) เพื่อฝ่ายการตลาดน�ำไปใช้ส�ำหรับ
ไปจัดท�ำเว็บไซต์ การแชร์ Drawing ในลักษณะมุมมองภาพระเบิด
(Explode View) และตารางวัสดุ (xlsx) เพื่อเอกสารทางเทคนิคส�ำหรับ
ผู้ที่จ�ำเป็นต้องใช้งาน เอกสารการประกันคุณภาพ Ballooned รวมถึง
รายงานการตรวจสอบที่สามารถสร้างขึ้นโดยอัตโนมัติจาก PDF และ CAD
(.slddrw) ซึ่งเป็นประโยชน์กับฝ่ายตรวจสอบคุณภาพ และสามารถลด
เวลาในการท�ำงานได้อย่างมหาศาล แบบงานทางด้านไฟฟ้าที่สมบูรณ์
รวมถึงตารางวัสดุที่สามารถใช้ร่วมกันกับฝ่ายจัดซื้อ เพื่อตรวจเช็คก่อน
เข้าสู่การผลิต โดยที่ฝ่ายสินค้าคงคลังและคนที่ท�ำงานร่วมในโปรเจคนั้นๆ
สามารถจัดการงานที่รับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง การท�ำงานแบบครบ
วงจรในงานออกแบบคือ มีการออกแบบงานและวิเคราะห์จนสามารถ
การันตีงานได้ ทั้งหมดทั้งมวลสามารถจัดการให้ท�ำงานได้แบบสมบูรณ์
ด้วยระบบ PDM
	 จากที่ได้กล่าวมาเป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งของวิศวกรรม 4.0 โดย
การท�ำงานในปัจจุบันยังมุ่งเน้นการท�ำงานที่เป็นอัตโนมัติมากขึ้น ง่าย เร็ว
และความผิดพลาดน้อยลง ลดการใช้ทรัพยากรมนุษย์ ยกตัวอย่างอีก
ความสามารถของ SOLIDWORKS ที่สนับสนุนงานวิศวกรรม 4.0 คือ
งานปริ้นสามมิติ (3D Printing) ซึ่งนอกจากที่ตัวโปรแกรมเองสามารถที่
จะออกแบบและเขียนแบบได้อย่างดีเยี่ยม หลังจากนั้นสามารถเลือก
ออฟชั่น Print 3D โดยก�ำหนดคุณสมบัติที่ต้องการเพียงเล็กน้อย ก็
สามารถปริ้นได้อย่างง่าย ผิดกับยุคเก่าก่อนที่จะต้องมีการผลิตงานม็อคอัพ
(Mockup) หรืองานโมเดล (Model) ก่อน-หลัง จากนั้นปรับแก้และค่อย
ผลิตจริง ซึ่งใช้ทั้งเวลาเยอะมากกว่าจะจบโปรเจค แต่งานปริ้นสามมิติช่วย
ท�ำให้ชีวิตง่ายขึ้นอย่างมหาศาล รวดเร็ว ลดต้นทุน ออกสู่ตลอดได้อย่าง
รวดเร็ว และมั่นใจในคุณภาพงาน
จนถึงปัจจุบันการพัฒนาด้านเทคโนยี
มีอยู่ตลอดเวลา การแข่งขันด้านธุรกิจ
ไม่สามารถหยุดได้ ใครมีแนวทาง ใครมี
ความคิดเหนือกว่า ก็สามารถชนะได้
อย่างสบายๆ แต่ที่ส�ำคัญใครมีเทคโนโลยี
ที่เหนือกว่าย่อมได้เปรียบคู่แข่ง ใครมี
ระบบการจัดการที่ดีเยี่ยมย่อมจะล่าช้าบ้าง
ในตอนแรก แต่ในระยะยาวจะมีแต่
ความง่าย รวดเร็ว และมีความมั่นคง
SOLIDWORKS vs Engineering 4.006
หลักสูตรอบรมวันเสาร
เปดใหบริการแลว!!!!
Hot! Hit!
สนใจสอบถาม
หลักสูตรเพิ่มเติมไดที่
02 744 7827 8
DETI Training Center
พ�เศษ หลักสูตร Customize on-site
training course ตามความตองการลูกคา
www.deti.co.th
AutoCAD 2D Basic (สอนดวย AutoCAD 2016)
SolidWorks Essential
SolidWorks Advanced Parts Modeling
SolidWorks Assemblies Modeling
SolidWorks Surface Modeling
SolidWorks Simulation
ผานการรับรองมาตรฐานจาก SolidWorks และ
Autodesk Authorized Trainning Center
ศูนยอบรมการใชงานโปรแกรมออกแบบดานวิศวกรรม
หลักสูตร
T
W
I am MAKER
3D Printing
Cafe & Store
#iammaker3d
3D Printing Services
Coffee Shop
3D Printer Sale
3D Scanner Services
I am MAKER
บริการ 3D Printing
เริ่มตน 300 บาท/ชม.
จำหนาย 3D Printer
"เริ่มตนที่ 13,900 บาท เทานั้น”
Stratasys/ Makerbot / Ultimaker/
Zortrax / Davinci / 3Dison/ Wise
นั่งรอ นั่งคุยงาน คุยโปรเจคกัน
แบบสบายๆ Style Coffee Shop
กับกาแฟหอมๆ เครื่องดื่มเย็นๆ
“The Largest
3D Printer Store
in Thailand”
#iammaker3d
ตอบโจทย์การบริการลูกค้ายุคใหม่ด้วย TeamViewer
	จากบทสนทนาข้างต้นเห็นชัดว่าช่องทางการให้
บริการโดยการ Remote ได้รับความนิยมมาก เมื่อเทียบกับ
ช่องทางการให้บริการอื่นๆ ของ AppliCAD เรามาท�ำความ
รู้จักกับโปรแกรม TeamViewer ที่ทาง AppliCAD น�ำมาเป็น
ตัวเอกหลัก เพื่อช่วยบริการลูกค้ากันสักนิดนะครับ
	 TeamViewer เป็นโปรแกรม Remote Desktop
ส�ำหรับการใช้งานในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์จากระยะ
ไกล โดยมีฟังก์ชั่นการใช้งานอย่างง่าย ขนาดโปรแกรมไม่ใหญ่
มาก และมีระบบความปลอดภัยที่น่าเชื่อถือ	
	 สิ่งที่ลูกค้าชอบให้ AppliCAD ช่วยแก้ไข ผ่านช่องทาง
Remote นั้น เป็นเพราะช่องทางนี้เสมือนมีเจ้าหน้าที่ของ
AppliCAD เข้าไปช่วยแก้ไขปัญหาให้ได้ทันที โดยไม่ต้องอธิบาย
ปัญหาให้ฟังยืดยาว หรือมัวแต่หาปุ่มค�ำสั่ง หรือเมนู ตามที่
เจ้าหน้าที่บอก และที่ส�ำคัญช่วยประหยัดเวลาในการรอคอย
เจ้าหน้าที่เข้าไปแก้ไข หากปัญหานั้นไม่สามารถแนะน�ำให้ลูกค้า
แก้ไขเองทางโทรศัพท์ได้ ซึ่งแน่นอนว่างานที่ท�ำค้างอยู่จะต้อง
ชะงัก และเสร็จไม่ทันตามก�ำหนดเป็นแน่
จากประโยชน์ดังกล่าว AppliCAD จึงได้น�ำโปรแกรม
TeamViewer มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง เพื่อยกระดับการให้
บริการลูกค้าที่เป็นสมาชิก Subscription หากลูกค้า
ได้ติดตั้ง AppliCAD Menu อยู่แล้วก็ยิ่งสะดวกมาก
ยิ่งขึ้น โดยลูกค้าเลือกช่องทาง TeamViewer ใน
Menu ของ AppliCAD Menu ได้ทันที จากนั้นลูกค้า
สามารถติดต่อเข้ามาที่ AppliCAD Hotline เพื่อแจ้ง
เรื่องขอรับบริการ Remote โดยแจ้ง User Name
กับ Password ของ TeamViewer เพื่อเป็นการ
อนุญาตให้ทางเจ้าหน้าที่ Hotline สามารถเข้าไป
Remote ได้ เท่านี้ลูกค้าก็ปล่อยให้เจ้าหน้าที่ของเรา
ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาให้ลูกค้าได้แล้ว แต่หาก Remote
แล้วพบว่าต้องเข้าไปแก้ไขที่ Site งานของลูกค้า ทาง
เจ้าหน้าที่ AppliCAD ก็จะทราบปัญหา และตระเตรียม
วิธีการแก้ไขปัญหา โดยไม่ต้องไปตรวจสอบที่เครื่อง
ของลูกค้าก่อนท�ำการแก้ไขให้เสียเวลาอีกรอบ
	 ฉะนั้นแล้ว AppliCAD จึงอยากเชิญชวนลูกค้า Subscription มาใช้บริการ
ผ่านช่องทาง TeamViewer กันเพื่อเพิ่มความสะดวกในการใช้งานและประหยัดเวลาของ
ลูกค้า หรือถ้าในอนาคต AppliCAD มีช่องทางบริการใดเจ๋งๆ เราจะรีบน�ำมาเสริมทัพ
การให้บริการ เพื่อเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้ายิ่งขึ้นต่อไป
	 หากต้องการขอค�ำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญของ AppliCAD สามารถติดต่อ
เจ้าหน้าที่หลังการขายที่ดูแลของท่านได้ หรือสามารถสอบถามและศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
ได้ที่ www.applicadthai.com, เบอร์ 02-744-9045
AppliCAD Hotline : สวัสดีครับ AppliCAD Hotline 02-744-9044 ยินดีให้บริการครับ
ลูกค้า A : 	 สวัสดีครับ ผมนาย A จากบริษัท B ต้องการขอค�ำปรึกษาปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรม SolidWorks ครับ
AppliCAD Hotline : ยินดีครับ ไม่ทราบคุณลูกค้ามีปัญหาเรื่องใดให้ช่วยครับ
ลูกค้า A : ผมก็ไม่รู้จะอธิบายอย่างไร ช่วย Remote เข้ามาดูที่เครื่องให้ทันทีได้หรือไม่ครับ..
ตอบโจทย์การบริการลูกค้ายุคใหม่ด้วย
บทความ : สุนทร ลายลักษณ์ด�ำรง
AppliCAD Menu
APP MENU
Team viewver
Quick support
08
Why BIM, Why ArchiCAD 19?
การเปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญของวงการ
อุตสาหกรรมก�ำลังจะเกิดขึ้นอีกครั้ง
นับตั้งแต่การก�ำเนิดขึ้นของเครื่องจักร
ไอน�้ำในศตวรรษที่ 18 ที่โลกได้รู้จัก
ค�ำว่าอุตสาหกรรม มาจนถึงปัจจุบันที่
ภาคอุตสาหกรรมได้รับการพัฒนา
ควบคู่ไปกับความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีด้านต่างๆ
บทความ : อาจารย์มนูญ เหล็กไหล
SolidCAM for The Generation Factory 4.0
SolidCAM
for The
Generation
Factory 4.0
10
เมื่อมีการบูรณาการเทคโนโลยี และองค์ความรู้สาขาต่างๆ มา
ต่อยอดให้กับอุตสาหกรรม ซึ่งจะน�ำไปสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4
หรือ INDUSTRY 4.0 ประกอบกับความต้องการของผลิตภัณฑ์ของลูกค้า
มีความหลากหลายขึ้น ในขณะที่จ�ำนวนผลิตต่อล็อตมีแนวโน้มน้อยลง
เรื่อยๆ ดังนั้นระบบอัตโนมัติส�ำหรับอุตสาหกรรม 4.0 จะต้องมีความ
ยืดหยุ่นอย่างสูง ซึ่งแน่นอนว่ามันต้องได้รับการควบคุมจากอุปกรณ์
อัจฉริยะ (Smart Sensors) เพื่อให้มันสามารถท�ำการรับรู้ การวิเคราะห์
และการก�ำหนดรูปแบบการท�ำงานได้ด้วยตัวเอง
	 ซอฟต์แวร์ SolidCAM ส�ำหรับอุตสาหกรรมการผลิต ได้มีการ
รวมเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ IT ระบบฐานข้อมูล (Database) ที่จะเข้า
มาเป็นตัวกลางช่วยท�ำให้การสื่อสารระหว่างคนกับเครื่องจักรเข้าด้วยกัน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เทคโนโลยีที่กล่าวถึงทั้งหมดนี้จะท�ำให้
ระบบการผลิตเปลี่ยนโฉมหน้าไปอย่างสิ้นเชิง เพื่อประสิทธิภาพของการ
ผลิต และการตอบสนองเครื่องจักรกล (Efficiency) จะมีความสามารถ
ที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก ประกอบด้วย เวลาในการผลิตน้อยลง (Down Time)
เครื่องมือตัดใช้งานเต็มประสิทธิภาพเต็มราคา (Full Performance & Cost)
	 ทั้งในด้านการท�ำงานด้วยตนเอง ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
ให้เข้ากับเงื่อนไขการผลิต (Cutting Condition) ความสามารถในการ
มอนิเตอร์ตัวเอง และการพยากรณ์จะท�ำให้สมาร์ทแมชชีนสามารถ
วิเคราะห์ข้อมูลจากการผลิตโดยการได้รับข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล
(IMachine Database & Material Database)
	 ท�ำให้มันสามารถปรับเงื่อนไขการท�ำงาน (Machining
Envelopment) เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น เพื่อช่วยยืด
อายุการท�ำงานของเครื่องจักร ซึ่งข้อมูลสุขภาพของเครื่องจักรจะเป็น
ประโยชน์อย่างมากในการวางแผนการผลิต และประเมินศักยภาพโดยรวม
ของระบบการผลิต รวมทั้งท�ำให้ฝ่ายซ่อมบ�ำรุงสามารถปรับแผนการบ�ำรุง
รักษาและก�ำหนดรอบของการบ�ำรุงรักษาที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มเวลา
Uptime ให้ได้สูงสุด หากเราพิจารณาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงของโรงงาน
การผลิตในปัจจุบัน เช่น กรณีมีเครื่องจักรที่ก�ำลังจะหมดอายุ การใช้งาน
ที่ท�ำให้เกิด Downtime หรือต้องการการบ�ำรุงรักษามากเกินไป ใน
สถานการณ์เช่นนี้ผู้ประกอบการอาจต้องพิจารณาทางเลือกว่าจะท�ำการ
ฟื้นฟู เครื่องจักรใหม่ หรือเปลี่ยนเครื่องใหม่ (Maintenance, Reuse,
Recycle, Reduce) ส�ำหรับเครื่องจักรกลก็สามารถน�ำไปสู่การปรับปรุง
แผนงานการบ�ำรุงรักษา (PM : Preventive Maintenances) อันส่งผล
ต่อการเพิ่มจ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานของเครื่อง และลดค่าใช้จ่ายในการ
บ�ำรุงรักษา 		
SolidCAM for The Generation Factory 4.0 11
SolidCAM for The Generation Factory 4.0
ซอฟต์แวร์ SolidCAM ได้พัฒนาเทคโนโลยีที่ตอบสนองสภาวะการท�ำงาน
ของเครื่องจักรที่เกิดขึ้นจริงโดยการควบคุมพารามิเตอร์ที่จ�ำเป็นอันจะส่ง
ผลต่อการท�ำงานของเครื่องจักร ในขณะท�ำการปฏิบัติงานลดปัญหาที่
เกิดจากช่างผู้ควบคุมเครื่องที่ขาดประสบการณ์ ในการปรับแต่งเงื่อนไขใน
การตัดเฉือน (Cutting Condition) อันจะส่งผลให้กระบวนการผลิตเกิด
การสูญเสีย 7 ประการ (7 West)
	ปัจจุ บันภาคธุ รกิจมีการแข่งขันกันสูงมากขึ้นในส่วน
อุตสาหกรรมการผลิต ลักษณะของผลิตภัณฑ์ถูกก�ำหนดด้วยความ
ต้องการของลูกค้าที่ประกอบไปด้วย 1.ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์
2.ตามปริมาณที่ต้องการที่มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น/ลดลง 3.ผลิตภัณฑ์
คุณภาพสูง 4.ราคาไม่แพง 5.มีการส่งมอบที่รวดเร็ว เป็นอันที่แน่นอน
ส�ำหรับกระบวนการการผลิต จึงมีความจ�ำเป็นที่ต้องตอบสนองจาก
ความต้องการ (Flexible Production) ของลูกค้าซอฟต์แวร์ SolidCAM
ได้มีการพัฒนาทั้งในส่วนของการควบคุม (User Interface) ที่ผู้ใช้
สามารถเข้าใจเรียงล�ำดับขั้นการใช้ได้ต่อเนื่อง ลดขั้นตอนการก�ำหนดข้อมูล
ที่ไม่จ�ำเป็นผู้ใช้สามารถบริหารจัดการองค์ความรู้ที่เป็นทักษะเฉพาะงาน
นั้นๆ ไว้ในรูปแบบเทมเพลท (KM: Knowledge Management) ซึ่งช่วย
ในการลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตได้มากขึ้น (Loss Over
Production, Loss Inventory, Loss Waiting, Loss Motion, Loss
Transportation, Loss Rework, Loss Over Processing)
12
ยกระดับ SME พัฒนาขีด
ความสามารถในการแข่งขันด้วย
จากภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยส่งผลให้ SME ประสบปัญหาอย่าง
มากในการท�ำธุรกิจ ทั้งในเรื่องของต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้น ตลอดจน
ตัวแปรด้านบุคลากร และแม้ว่า SME จะเข้าใจว่าการน�ำเอา
เทคโนโลยีเข้ามาใช้นั้นเป็นทางออก แต่ก็ยังติดปัญหาหลายอย่าง ไม่
ว่าจะเป็นความไม่รู้ ความไม่เข้าใจ และยังคิดว่าไม่สามารถเป็น
เจ้าของเทคโนโลยีเหล่านั้นได้เพราะไม่มีเงินทุนมาก ตลอดจนเข้าใจ
ว่าการน�ำเอาโซลูชั่นที่ดีและมีประสิทธิภาพสูงๆ นั้นต้องลงทุนด้วย
เม็ดเงินที่มากเกินกว่าธุรกิจขนาด SME จะลงทุนได้ วันนี้เรามีบท
สัมภาษณ์พิเศษจากคุณสมศักดิ์ ชื่นอยู่ Engineering & Design
Manager จาก ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ศักดิ์ศิริ เอ็นจิเนียริ่ง ผู้อยู่ใน
วงการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์มานาน และต้องการท�ำธุรกิจเป็นของ
ตนเอง เจาะลึกแนวความคิด SME รายเล็ก แต่ใจที่จะกล้าลงทุน
ไปกับเทคโนโลยีด้านซอฟต์แวร์เพื่อการเติบโตของธุรกิจ
เมื่อก่อนผมเคยท�ำงานอยู่บริษัทผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ ผมได้มีโอกาสอยู่ในส่วนของวิศวกรรม
(Engineering) ท�ำให้มีความรู้ในส่วนของการออกแบบเครื่องจักร และ Jigs & Fixtures ต่างๆ ผม
อยู่ในสายงานนี้มา 15 ปี ท�ำให้เริ่มมีไอเดียว่าเราน่าจะท�ำทางด้านนี้ได้ ระหว่างที่ท�ำงานอยู่ก็เริ่มเปิด
บริษัทของตัวเองช่วงปี 2010 ตอนนั้นมีคอมพิวเตอร์เพียง 1 ตัว ใช้ออกแบบ เขียนแบบ แรกๆ ที่ยัง
ไม่มีเครื่องจักรก็ใช้วิธีการส่งให้ Supplier แต่หลังจากที่ท�ำได้ซักระยะหนึ่งจนพอได้ก�ำไรจึงลงทุนซื้อ
เครื่องจักร Concept ของผมคือ จะไม่เอาเงินทุนมาลงเครื่องจักรเลยทีเดียว ต้องประเมินสถานการณ์
ก่อนว่าธุรกิจที่เราก�ำลังท�ำมีก�ำไรมากน้อยแค่ไหน ที่เราสามารถแบกรับภาระที่จะซื้อเครื่องจักรได้ หลัง
จากที่ท�ำเข้าปีที่ 4-5 งานก็เริ่มเยอะจึงจ�ำเป็นที่จะต้องออกจากงานประจ�ำที่บริษัท
จุดเด่นของศักดิ์ศิริ คือ การท�ำงานแบบ One Stop Service เรามั่นใจว่างานของลูกค้าสามารถจบ
และส�ำเร็จได้ที่เราที่เดียว ด้วยประสบการณ์การท�ำงานท�ำให้เราค่อนข้างเห็นปัญหาของลูกค้าได้ชัดเจน
เมื่อเราเห็นปัญหา และรู้ความต้องการของลูกค้าแล้ว เราจะเริ่มตั้งแต่ Concept Design หลังจากนั้น
ก็จะส่งขั้นตอนการท�ำงาน และออกแบบเป็นตัวเครื่องจักรคร่าวๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์สามมิติเพื่อเสนอ
ให้ลูกค้าดู ทั้งนี้งานของเราได้ผ่านการวิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยงโอกาสที่ลูกค้า ซึ่งเป็นผู้ผลิตชิ้น
ส่วนยานยนต์จะจัดส่งชิ้นงานที่ไม่ได้คุณภาพหลุดไปถึงผู้ประกอบการยานยนต์
ปัญหาและอุปสรรคที่ประสบในการท�ำงาน
ในส่วนของงาน Design เราจะไม่ค่อยพบปัญหาเท่าไหร่ คือ เราท�ำแบบเองเราสามารถ Control แบบ
ได้ แต่ในส่วนของ Machine Parts เราต้องจ้าง Supplier ซึ่งบางครั้งเราไม่สามารถ Control Sup-
plier ได้ เช่นถ้า Supplier เจ้านี้ท�ำไม่ได้เราก็ต้องเปลี่ยนเป็นเจ้าอื่น หรือพรุ่งนี้ลูกค้าต้องการได้งาน
แต่ Supplier เค้าท�ำงานให้ไม่ได้ ซึ่ง Concept ของผมคือ ถ้าลูกค้าต้องการ ต้องได้ และต้องได้ของดี
ด้วย ท�ำให้เราต้องยืนให้ได้ด้วยตัวเอง เราต้องมีเครื่องไม้เครื่องมือ เครื่องจักร และซอฟต์แวร์ที่ดีเพื่อ
ช่วยในการท�ำงานปัญหาอีกอย่างก็คือ เมื่อเราออกแบบไฟล์งานสามมิติเสร็จ และจะไปผลิตชิ้นส่วน
งานเอง เราไม่สามารถท�ำได้เลย ต้องไปคีย์ข้อมูลหน้าเครื่องในการป้อน X Y Z ซึ่งมันช้า เพราะในการ
คีย์แต่ละครั้งเครื่องจะหยุดการท�ำงาน นั้นหมายถึงเราก�ำลังสูญเสียโอกาสที่จะได้รับก�ำไรจากการท�ำ
ธุรกิจ แต่กับต้องเป็นการเพิ่มต้นทุนโดยไม่รู้ตัว แต่ส�ำหรับ SolidCAM หลังจากที่ออกแบบสามมิติเสร็จ
พอเราเตรียมข้อมูล CAD/CAM เสร็จ เอาข้อมูลไปเสียบเข้าเครื่องก็สามารถด�ำเนินงานต่อเนื่องได้เลย
Success Case : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ศักดิ์ศิริ เอ็นจิเนียริ่ง
คุณสมศักดิ์ ชื่นอยู่
Engineering & Design Manager
ท�ำความรู้จัก ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ศักดิ์ศิริ เอ็นจิเนียริ่ง
ความรู้สึกที่มีต่อ SolidWorks และ SolidCAM เมื่อได้ใช้งาน
ผมรู้จัก SolidWorks และ SolidCAM เพราะน้องที่ท�ำงานด้วยกันแนะน�ำมาครับ ผมเห็นว่าทาง
AppliCAD มีซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการท�ำงานของผมได้ และมีหลักการเดียวกันคือ One Stop Service
เลยสนใจ หลังจากที่ได้รับข้อมูลซอฟต์แวร์สามารถท�ำงานสืบเนื่องกันได้เป็นอย่างดี ช่วยให้ไม่ต้องเสีย
เวลาในการท�ำงาน และเท่าที่ผมประเมินราคาเบื้องต้นก็ค่อนข้างคุ้มที่จะลงทุน ด้านการใช้งาน ผมซึ่ง
เคยมีโอกาสได้ใช้โปรแกรม CAD ลักษณะนี้มาบ้าง ผมว่าก็ไม่ได้ยาก แต่พอได้ใช้ SolidWorks ซึ่งมี
ยกระดับ SME พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย SolidCAM 13
คุณศักดิ์สิทธิ์ อินทชัย
Project Management Asst. Manager
โอกาสเข้าไปเทรนมา 1 คอร์ส รู้สึกว่าใช้ง่ายกว่าโปรแกรมเดิมที่เคยใช้ สะดวก
และไม่ยุ่งยากครับ ส�ำหรับ SolidCAM ถ้าเป็นงานแมทชีนนิ่งผมใช้เกือบ
100 % เพราะเราเขียนไฟล์สามมิติด้วย SolidWorks เสร็จแล้ว เค้าจะอยู่
หน้าจอเมนูเดียวกันก็สามารถใช้โปรแกรม SolidCAM ต่อได้เลย พอท�ำเสร็จ
ก็ Copy ใส่ USB สามารถน�ำไปเสียบที่ตัวเครื่องจักรได้เลยทันที ในเรื่องจุด
เด่นของ SolidCAM iMachining ที่ช่วยลดต้นทุนได้ 70 % ถามว่าใช้ได้จริง
ไหม จากประสบการณ์ที่ผมใช้ท�ำงานมาก็จริงครับ ช่วยให้ท�ำงานเสร็จไวขึ้น
ที่ส�ำคัญช่วยให้ผมสามารถท�ำใบเสนอราคาไปแข่งขันกับเจ้าอื่นๆ ได้ดี เพราะ
บางเจ้ายังไม่สามารถผลิตงานเสร็จได้เร็วเท่า ช่วยให้ SME แบบผมสามารถ
แข่งขันกับคู่แข่งได้ ช่วยให้ธุรกิจสามารถอยู่ได้ เนื่องด้วยในปัจจุบันเศรษฐกิจ
ก็ไม่ค่อยดี ราคาขายในตลาดก็ต�่ำลง ต่างคนต่างลดราคา ถ้าเรามุ่งแต่จะลด
ราคา แต่ไม่มีเครื่องมืออะไรที่จะเข้ามาช่วยลดความศูนย์เปล่า เราก็ไม่สามารถ
แข่งขันในตลาดได้ เพราะไม่มีอะไรที่จะไปสู้กับเจ้าอื่นได้ ปัจจุบันงานผมเสร็จไว
มาก เพราะมี SolidCAM iMachining เข้ามาช่วย ท�ำให้ผมสามารถรับงา
นอื่นๆ เพิ่มได้อีก
"โดยส่วนตัวไม่เคยใช้ CAM มาก่อนเลยครับ รู้จักแค่ว่าเป็นโปรแกรมที่ช่วยคีย์ G code ที่ได้มาเริ่มใช้
ก็เพราะบริษัทเปลี่ยนมาใช้ SolidCAM โดยเริ่มต้นศึกษาจากวีดีโอ และลองฝึกเล่นดู จากที่ไม่เป็นเลย
ใช้เวลาแค่ประมาณ 2 สัปดาห์ก็สามารถเรียนรู้และใช้งานได้ (มีพื้นฐานเบสิคเขียนแบบ) เพราะโปรแกรม
ใช้งานง่ายครับ เรียนรู้ได้ไว จากงานที่ยากๆ พอมีโปรแกรมนี้เข้ามาช่วยก็สามารถท�ำงานได้ง่ายขึ้น สิ่ง
ที่เปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือ เวลาในการผลิตงานให้ลูกค้าเร็วขึ้น เราสามารถรับงานลูกค้าที่เป็นเคสยากๆ
ได้ เมื่อก่อนเวลามีเคสยากๆ มาจะท�ำให้เราค่อนข้างเสียเวลาในการผลิตงานนานมาก"
เหตุผลในการตัดสินใจลงทุน
ผมมองว่านี่เป็นโอกาสที่จะช่วยให้ขายของได้ไวขึ้น ท�ำให้เพิ่มโอกาสที่ออเดอร์
จะเข้ามามากขึ้น ถ้าเราผลิตช้าเมื่อไหร่ถึงจะได้ออเดอร์ใหม่? เมื่อไหร่เราจะ
Support ลูกค้าได้? หรือเมื่อมีงานที่ยาก มีความซับซ้อนมากขึ้น ถ้าเรายังใช้
ซอฟต์แวร์ที่ Non license ปัญหาที่เกิดที่มีความซับซ้อน ความยากเราไม่
สามารถท�ำให้จบได้ แต่เมื่อเรามาใช้ SolidWorks และ SolidCAM ปัญหาทุก
อย่างก็จบ เพราะทาง AppliCAD จะมีทีมผู้เชี่ยวชาญเข้ามาช่วย Support
ให้ความรู้ ช่วยแก้ไขปัญหา ซึ่งผมมองว่าเป็นความคุ้ม บางคนอาจจะมอง
ว่าเป็นการลงทุนก้อนใหญ่ แต่เราลงทุนแค่ทีเดียวและเราสามารถใช้ได้ยาว ที่
ส�ำคัญเวลาไปหาลูกค้าเราสามารถบอกกับลูกค้าได้ว่าใช้ซอฟต์แวร์ License
เป็นการเพิ่มความมั่นใจและความน่าเชื่อถือให้กับลูกค้าได้ด้วยครับ กับ
AppliCAD ผมก็เพิ่งจะมีโอกาสได้เข้ามาเป็นคู่ค้าครั้งแรก ก็มีการน�ำซอฟต์แวร์
มาให้ทดลองใช้นานมากก่อนตัดสินใจซื้อ พอลองใช้แล้วเราก็รู้ว่าซอฟต์แวร์
ใช้ดี แต่ยังไม่สามารถซื้อได้ในทันที เพราะเราเป็น SME เล็กๆ ก�ำลังซื้อก็คงไม่
เท่ากับบริษัทใหญ่ๆ ที่สามารถตัดสินใจซื้อได้เลย ทาง AppliCAD ก็ให้ความ
เข้าใจในสถานะของบริษัท ผมมองว่า AppliCAD มีน�้ำใจและให้โอกาสกับศักดิ์
ศิริมาก และหลังจากที่ซื้อแล้ว เวลาเราติดปัญหาอะไรก็คอยช่วยแก้ไข ให้ค�ำ
แนะน�ำ และความช่วยเหลือตลอดครับ
ยกระดับ SME พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย SolidCAM14
การใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการท�ำงาน
เมื่อก่อนเศรษฐกิจค่อนข้างดี งานจะเยอะ เวลาท�ำราคาขายเราจะไม่ได้สนใจ
เรื่องต้นทุนมากนัก เพราะสามารถบวกก�ำไรได้เยอะ แต่ปัจจุบันเศรษฐกิจไม่
ค่อยดี คู่แข่งทางการตลาดเยอะมาก ทั้งตลาดเองต้องการสินค้าที่ผลิตได้
รวดเร็ว และต้องมีคุณภาพ ปัจจุบันนี้แค่ท�ำให้ลูกค้าพึงพอใจอย่างเดียวยัง
ไม่พอ แต่ต้องให้ลูกค้ารู้สึกว่า “ท�ำได้อย่างไร? ท�ำไมเร็วขนาดนี้? ท�ำไมราคา
ถูกขนาดนี้?” และสิ่งที่จะท�ำให้ทั้งหมดเหล่านี้เกิดขึ้นได้ก็คือ เราก็ต้องน�ำ
เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ถ้าเรายังไปป้อนโปรแกรมหน้าเครื่องจะท�ำให้ใช้เวลานาน
และเสียเวลามาก ถ้ายังเขียนแบบด้วยมือและส่งแบบไปพร้อมกับใบเสนอราคา
ลูกค้าจะมองไม่เห็นภาพท�ำให้ใช้เวลาในการเสนอราคานานมาก ฉะนั้นถ้าไม่ใช้
เทคโนโลยีเราก็อาจจะไม่มีโอกาสในการได้รับออเดอร์ และอีกส่วนนึงหากเรา
ใช้แค่ความช�ำนาญและประสบการณ์ของช่างหน้าเครื่องโดยไม่ผ่านโปรแกรม
หากบุคลากรเก่งๆ จากไป ก็จะเกิดความเสียหายตามมา อาจจะต้องเพิ่ม
คอร์สจ้างคนเก่งๆ หรืออาจจะต้องจ้างมากกว่า 1 คน เพื่อท�ำงานทดแทน
และการใช้เทคโนโลยีในปัจจุบันก็ไม่ใช่เรื่องยาก สมัยก่อนช่างท�ำงานหน้าเครื่อง
ก็ใช้ CAD / CAM ทั่วไป โดยที่เค้าท�ำงานทุกวันเหมือนเดิม แต่เค้าไม่ได้รับรู้
เทคโนโลยีใหม่ๆ แต่เมื่อเราได้มีโอกาสใช้ SolidWorks และ SolidCAM
เอ็นจิเนียร์ที่ท�ำงานตรงนี้เขาไม่ได้เป็น CAM มาก่อนเลย แต่พอมีโอกาสได้
ลองใช้งาน เขาก็สามารถท�ำงาน CAM ได้เหมือนกับคนที่ท�ำงานมานาน ท�ำให้
รู้ว่าเทคโนโลยีมันไม่ยาก แถมช่วยให้การท�ำงานง่ายขึ้น เร็วขึ้น งานที่เราไม่
เคยท�ำ อย่างเช่น 3D อาจจะต้องใช้เวลา และคนมีประสบการณ์ท�ำ แต่
ซอฟต์แวร์สามารถช่วยย่นเวลาและประสบการณ์ได้จริงครับ แค่คลิกไม่กี่ครั้ง
ก็สามารถท�ำให้งานที่เราต้องการออกมาได้ ฉะนั้นเราควรน�ำเทคโนโลยีเข้ามา
ใช้ เพราะมันท�ำให้เรามีโอกาสส่งงานได้เร็ว ขายงานได้เร็ว มีโอกาสได้รับออ
เดอร์เร็ว อันนี้ผมสัมผัสได้จากประสบการณ์ของตัวผมเอง เพราะผมเป็น
เจ้าของกิจการที่ท�ำงานเองทุกขั้นตอนตั้งแต่งานระดับล่างถึงระดับบน
เนื่องจากบริษัทของผมเล็ก ผมจะเห็นหมดทุกอย่างว่าอะไรดี ไม่ดีอย่างไร ใน
การเป็นเจ้าของกิจการ หรือผู้บริหารหากเรารู้ทันซอฟต์แวร์ รู้ทันเทคโนโลยี
เราก็จะสามารถท�ำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาของเราใช้มันได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
กับสิ่งที่เราได้ลงทุนไปแล้ว
เรียบเรียง : กองบรรณาธิการ
ยกระดับ SME พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย SolidCAM 15
ในช่วงนี้หลายๆ บริษัทต่าง
พยายามปรับกระบวนการในการท�ำงาน
เพื่อรองรับเศรษฐกิจที่ยังซบเซา โจทย์
หนึ่งในนั้นก็คือ การลดต้นทุน และมี
ปริมาณของเสียในการผลิตให้น้อย
ที่สุด ท�ำให้โปรแกรมที่ใช้วิเคราะห์ความ
เสียหายที่จะเกิดขึ้นก่อนการผลิตจริง
เริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น และหลายๆ
คนอาจจะยังเป็นมือใหม่ในการเริ่มใช้
โปรแกรมวิเคราะห์ชิ้นงาน ดังนั้นใน
บทความชิ้นนี้จะขอกล่าวถึงพื้นฐานที่
ส�ำคัญมากๆ ในการวิเคราะห์ที่จะท�ำให้
สามารถสร้างสรรค์งานวิเคราะห์ได้อย่าง
รวดเร็ว ทันใจมากยิ่งขึ้น
	แม้เทคโนโลยีในปัจจุ บันอย่างเช่น
เครื่องคอมพิวเตอร์ จะมีสเปคอลังการงาน
สร้างเป็นอย่างมาก แต่ก็ยังไม่สามารถน�ำมาใช้
ประโยชน์ในการวิเคราะห์ได้เต็มประสิทธิภาพมาก
นัก บางครั้งอาจเป็นที่โปรแกรมยังไม่ Support
เต็มที่หรือถ้าจะใช้ได้เต็มที่ก็อาจจะต้องลงทุน
หรือมีค่าใช้จ่ายสูงมาก ดังนั้นเทคนิคเก่าแก่ที่มา
พร้อมกับงานวิเคราะห์ทุกยุคทุกสมัยที่มักจะ
เรียกว่าการ Simplify จึงยังมีความส�ำคัญ
อย่างยิ่งยวด ยิ่งสามารถท�ำการ Simplify ได้
ดีก็จะยิ่งท�ำให้ได้ผลลัพธ์รวดเร็วทันใจและได้ผล
ใกล้เคียงกับความถูกต้องสูง
	 พิจารณาชิ้นงานโดยรวมแล้ว อาจจะดูไม่เยอะ แต่ถ้าไม่ปรับลดชิ้นงาน หรือไม่ Simplify
เลยคงต้องใช้เครื่องแรงมากๆ และใช้เวลาไม่น้อย โดยเฉพาะในส่วนของบันไดกับตัวคนที่ค่อนข้างมี
รายละเอียดเยอะมาก ดังนั้นต้องปรับปรุง 2 ส่วนนี้ หน่วยการหาแรงที่เกิดจากลมมาปะทะที่ค่อนข้าง
จะได้ผลดีที่สุด ก็คงไม่พ้นใช้ Flow Simulation มาช่วยด้วย ส่วนนี้การลงทุนอาจจะค่อนข้างสูง
หน่อย แต่ก็มีวิธีการจัดการได้ระดับนึง
ภาระโหลด : มีคนหนึ่งคนยืนอยู่บนบันได ส่วนอีก
คนยืนอยู่บนเสาหลังแป้นบาส (ก�ำหนดน�้ำหนัก
สูงสุดอยู่ที่ = 250 lbs.) มีลมมาปะทะวัดได้ที่ 10
mph นอกจากนี้ยังมีน�้ำหนักของแป้นบาส บันได
รวมอยู่ด้วย
ต้องการหา : การกระจายของ Stress ที่เกิดขึ้นกับ
เสา จะท�ำให้เสาพังหรือไม่
กระบวนการวิเคราะห์ : ประเมินเบื้องต้นต้องใช้ Flow
Simulation เพื่อหาขนาดของแรงที่มาปะทะ และใช้
Linear Static หาความเสียหายที่เกิดขึ้น
บทความ: วสันต์ จันทร์หยวก
ปิดจ๊อบงานวิเคราะห์
ได้อย่างเก๋ๆ ด้วยการ
Simplify ชิ้นงาน
ท�ำไมต้อง Simplify ?
ช่วยท�ำให้ชีวิตของเราดีขึ้นได้ยังไง?
•	ลดขนาดของปัญหา
•	ท�ำเมชได้รวดเร็วขึ้น
•	ได้ผลลัพธ์อย่างไว
•	ลดปริมาณความยุ่งยาก
•	ใช้ทรัพยากรเครื่องน้อยลง
•	 พบหนทางการปรับชิ้นงาน ในระยะเวลาอันสั้น
•	สามารถเน้นเฉพาะบริเวณที่สนใจได้ง่าย
และเร็ว
กรณีศึกษา
วิเคราะห์การรับน�้ำหนักของเสาห่วงบาสเก็ตบอลกลางแจ้งพร้อมบันได
ปิดจ๊อบ งานวิเคราะห์ได้อย่างเก๋ๆ ด้วยการ Simplify ชิ้นงาน16
ขั้นตอนการวิเคราะห์
เฟสที่ 1 : Flow Analysis
ตั้งสมมุติฐาน : เป็นการท�ำ Simplify เบื้องต้นนั่นเอง จัดเลยครับ
•	ตัดผลกระทบของลมที่มาปะทะบันไดและคนทั้งสองทิ้งไป ประเมินแล้ว
น่าจะมีผลกระทบต่อการรับน�้ำหนักของเสาน้อยมาก ข้อดีคือลดการ
วิเคราะห์ในเรื่องของ Flow ในส่วนนี้ออกไปท�ำให้ลดเวลาลงได้
อย่างมาก
•	จากข้อที่ 1 ท�ำคอนฟิกใน SOLIDWORKS โดยตัดคนและบันไดออก
•	วิเคราะห์แบบ External Flow ในคอนฟิกใหม่นี้เพื่อหาผลกระทบ
ของลม
•	 รูปฝั่งขวา Linear Static น�ำภาระแรงจากผลของลมที่ได้ในข้อ 3 มาใช้
•	ได้ค่า Reaction Force ที่ฐานด้านล่างของเสามาดังรูป
เฟสที่ 2 : เทคนิคแปลงผลจาก Flow มาเป็นแรงที่เราสามารถ
ก�ำหนดได้เองใน Structural Simulation
	 สมมุติว่าเราอยากน�ำค่าผลของลมไปใช้ต่อกับชิ้นงานอื่นที่มี
รูปร่างดียวกันหรือไม่ต่างกันมาก เราสามารถท�ำตามขั้นตอนได้ดังนี้ครับ
•	Copy งานวิเคราะห์จากเฟสที่ 1 ลบแรงลมออกให้หมด
•	ใส่แรงเข้าไปโดยเลือกเป็น Point Load ที่จุด CG มีทิศทางตามแรงลม
•	วิเคราะห์และปรับค่าแรงในข้อ 2 ไปเรื่อย ๆ จนได้ค่า Reaction Force
ที่ฐานด้านล่างของเสาตรงกันกับเฟสที่ 1
เฟสที่ 3 : Simplify ต่อ บันได :
•	แทนที่รูปทรงที่ซับซ้อนด้วยก้อนสี่เหลี่ยมตันๆ
•	ก�ำหนดวัสดุใหม่โดยใส่ค่าความหนาแน่น ให้โปรแกรมค�ำนวณน�้ำหนัก
ออกมาแล้วมีน�้ำหนักเท่าบันไดจริง
•	สร้าง Static Study ใหม่ Copy แรงและจุดจับยึดจากเฟสที่ 2
เฟสที่ 4 : Simplify ต่อ คน :
•	ใส่แรง ป้อนค่าเท่าน�้ำหนักของคนโดยใช้ Distributed Mass
•	ก�ำหนดจุดข้างล่างของบันไดให้สามารถขยับได้ในแนวนอน เสมือน
ว่ามีล้อ
•	จากการ Simplify เราจะเหลือชิ้นงานอย่างง่าย ตามรูป ซึ่งสามารถ
วิเคราะห์ได้ง่ายและเร็วขึ้นมาก
•	จัดไป เริ่มวิเคราะห์ได้เลย
สรุป
	 เมื่อน�ำชิ้นงานมาเปรียบเทียบกันระหว่างชิ้นงานเริ่มต้นกับ
ชิ้นงานที่ผ่านการ Simplify แล้วพบว่า
	 บันไดของชิ้นงานเริ่มต้นมีรูปร่างที่ซับซ้อน ต่อการสร้างเมช
ท�ำให้มีโอกาสวิเคราะห์ไม่ได้หรืออาจจะใช้เวลานานมาก รูปร่างของคนก็
เช่นเดียวกันสามารถลดรูปจนเหลือแค่แรงได้ เพราะไม่จ�ำเป็นต้องคิด
Stress หรือการเสียรูปที่ตัวคน ตรงล้อด้านล่างสามารถทดแทนได้ด้วย
การก�ำหนดจุดจับยึด ให้มีพฤติกรรมการเคลื่อนที่เหมือนกันกับล้อ ท�ำให้
สามารถตัดล้อทิ้งออกไปได้ การลดรูปด้วยการ Simplify แบบนี้หลายครั้ง
อาจจะต้องใช้ประสบการณ์ หรือถ้าประสบการณ์ยังมีไม่มากก็สามารถ
ลองท�ำเทียบกับผลทดสอบจริงก่อนก็ได้ เพื่อใช้อ้างอิงผลลัพธ์ที่ได้จาก
Simplify ถึงจุดๆ หนึ่งก็จะสามารถประเมินได้ว่าต้อง Simplify ขนาดไหน ถึง
บางชิ้นงานอาจจะได้ค่าผลลัพธ์ที่ไม่ตรงมากนัก แต่ก็ยังสามารถน�ำไปใช้
ประโยชน์ได้มาก และหลายๆ ครั้งดีกว่าการฝืนท�ำแบบเดิมๆ จนไม่ได้ข้อมูล
หรือผลลัพธ์อะไรเลย มีโอกาสลองเลยนะครับ แล้วจะรู้ว่า งาน
Simulation ไม่ได้ยากอย่างที่คิด
Flow Analysis Stress Analysis
ปิดจ๊อบ งานวิเคราะห์ได้อย่างเก๋ๆ ด้วยการ Simplify ชิ้นงาน 17
เชื่อว่าหลายๆ ท่านในวงการอุตสาหกรรมคงจะเคยได้ยินค�ำว่า Rapid Prototyping กันมานานแล้ว แม้ว่าปัจจุบันนี้จะเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น
3D Printing หรือเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ กับกระแสที่เรียกว่าแรงดีไม่มีตกอยู่ทุกวันนี้ จริงๆ แล้วไม่ว่าจะชื่อไหนก็มาจากหลักการเดียวกันก็คือ
Additive Manufacturing (AM) หรือการผลิตแบบเพิ่มเนื้อนั่นเอง และแตกต่างโดยสิ้นเชิงกับการผลิตแบบเดิมที่เราใช้กันโดยแพร่หลายซึ่งเรียกว่า
Subtractive Manufacturing หรือการผลิตแบบตัดเนื้อออก ตัวอย่างเช่น เครื่องจักร CNC เป็นต้น
	 หลายๆ ข้อจ�ำกัดที่กล่าวไปนั้น เป็นอุปสรรคต่อการท�ำงานใน
อุตสาหกรรมในยุค 4.0 ที่เน้นการเชื่อมโยงข้อมูลแบบอัตโนมัติและเป็นระบบ
ที่ใช้คนน้อยมากๆ เพราะเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่างๆ จะสามารถประสานงาน
กันได้เองผ่าน Internet หรือที่เรียกกันว่า Internet of Thing (IOT)
	 แล้วอะไรคือ Alternative Tooling หรือ Tooling ทางเลือกล่ะ
จริงๆ แล้วความน่าสนใจก็คือ ต้องยอมรับว่าเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนในโลก
ของการผลิตในแทบจะทุกจุด ใครมองเห็นโอกาสก่อนกัน และเห็นมุมที่จะ
ใช้เทคโนโลยีได้มากกว่ากัน ซึ่งทุกๆ โอกาสที่ผู้ผลิตต่างมองหาคงหนีไม่พ้น
ว่าจะท�ำอย่างไรถึงจะผลิตของได้คุณภาพดีขึ้น ราคาต้นทุนต่างๆ ลดลง
เพื่อแข่งขันได้ และเวลาที่เร็วขึ้นในทุกๆ ขั้นตอนนั่นเอง โจทย์ใหญ่ตรงนี้
เกือบทุกครั้งเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเสมอ
Design for Machining
(เน้นผลิตง่าย แล้วมาประกอบ
เข้าด้วยกัน)
Design for Additive Manufacturing
(AM) (ออกแบบได้ตรงวัตถุประสงค์และ
ยังผลิตง่ายขึ้นด้วย)
บทความ: สุชนม์ โพธิ์พริก 3D Printing Solution Dept.
Alternative Tooling ทางเลือกใหม่ส�ำหรับการสร้าง Tooling เพื่อการผลิตในยุคอุตสาหกรรม 4.0
	ก่อนอื่นเราต้องเข้าใจความแตกต่างของกรรมวิธีการผลิตทั้ง
2 แบบ ก่อนนะครับ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากในการเลือกใช้ เพราะ
แต่ละวิธีต่างมีจุดเด่นกันคนละด้าน และเราคงไม่สามารถปฏิเสธเทคโนโลยี
เดิมได้ แล้วเทคโนโลยี Subtractive Manufacturing มีข้อจ�ำกัดอะไรใน
การผลิตบ้างล่ะ
- มีข้อจ�ำกัดเรื่องรูปทรง ความซับซ้อนของงาน เช่น ต้องไม่มี Undercut
- มีของเสียในกระบวนการท�ำงานเยอะ
- ไม่เอื้อต่อการผลิตจ�ำนวนน้อย เพราะราคาจะสูงมาก
- มีความยุ่งยากในกระบวนการท�ำงานและมีขั้นตอนเยอะ
- ต้องอาศัยทักษะและแรงงานของมนุษย์ในเกือบทุกขั้นตอนการท�ำงาน
- ต้องจัดท�ำเอกสารข้อมูล เพื่อใช้ในการสั่งงาน กระจายงาน
- บ่อยครั้งต้องมีการว่าจ้างผู้ผลิตภายนอก หรือ Outsource
	 นับจากอดีตเมื่อเริ่มมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคแรกๆ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบันที่เราก�ำลังเผชิญความท้าทาย
ครั้งใหม่ ในการเข้าสู่อุตสาหกรรมในยุค 4.0 (Industry 4.0) เทคโนโลยีการผลิตได้พัฒนาไปอย่างมาก จน
เรียกได้ว่าก้าวล�้ำอนาคตเข้าไปทุกวัน และหนึ่งในเทคโนโลยีส�ำคัญที่ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมาก แน่นอนเราก�ำลัง
พูดถึง 3D Printing นั่นเอง แล้วเราจะได้ประโยชน์จากการใช้งานเทคโนโลยีการพิมพ์แบบ 3 มิติ นี้ได้อย่างไร
เจ้าสิ่งนี้จะช่วยเราได้น้อยแค่ไหนในโลกการผลิตยุคใหม่ ตามผมมาเลยครับ
Alternative Toolingทางเลือกใหม่ส�ำหรับการสร้าง Tooling เพื่อการผลิตในยุคอุตสาหกรรม 4.0
18
การสร้าง Tooling ทางเลือกใหม่ก็เพียงการดึงเอาจุดเด่นของ
การผลิตแบบเพิ่มเนื้อมาใช้นั่นเอง ทั้งเรื่องของรูปทรงของงานที่เกือบจะ
เรียกได้ว่าไม่มีข้อจ�ำกัด เราจึงจะได้เห็นรูปร่างหน้าตาที่เปลี่ยนไป แต่เปลี่ยน
ไปในลักษณะของการออกแบบได้ตรงตามความต้องการใช้งานมากขึ้น
งานประกอบก็น้อยลง ซึ่งหมายถึงค่า Error ต่างๆ ก็ลดลงไปด้วย ด้าน
ของเสียในกระบวนการผลิตก็ลดลง เพราะไม่ต้องมีส่วนของเนื้อวัสดุที่ถูก
ตัดออกไป ส่วนประโยชน์ด้านอื่นๆ เช่น ลดในส่วนของการท�ำแบบหรือ
Drawing และงานเอกสาร งานจัดซื้อจัดจ้าง งานที่ใช้เครื่องจักรหลายๆ
ตัวมาช่วยกันท�ำ Tooling จนถึงงาน Outsource ก็ลดลง เพราะเรา
สามารถท�ำเองได้ด้วยเครื่อง 3D Printer เพียงเครื่องเดียว แถมยังใช้คน
เพียงคนเดียวก็สามารถท�ำงานทั้งหมดนี้ได้อีกด้วย
การผสมผสานที่ลงตัว
	 อย่างที่ทราบว่าทั้ง 2 เทคโนโลยีต่างมีข้อดีกันคนละแบบ ในบางครั้ง
เราก็สามารถท�ำงานแบบผสมผสานเข้าด้วยกันได้เลย เช่น บางจุดที่เรา
ต้องการควมคุมค่า Accuracy ให้ได้ในระดับพรีซิชั่นสูงๆ ก็สามารถใช้การ
กัดด้วยเครื่อง CNC เฉพาะจุดหรือบริเวณนั้นๆ ได้ รวมถึงการเจาะและ
การต๊าปเกลียวต่างๆ นอกจากนั้นยังสามารถใช้การประกอบงานที่ผลิต
จากเครื่อง 3D Printer เป็นชุดย่อยเข้ากับแผ่นฐานที่เป็นโครงสร้างหลัก
ของ Jig & Fixture เพื่อให้งานแข็งแรงหรือส�ำหรับงานใหญ่ๆ ได้
	 ถึงบทนี้หวังว่าคุณผู้อ่านคงจะได้ความรู้และไอเดียในการน�ำเทคโนโลยี Additive Manufacturing (AM) มาใช้งานสร้าง Tooling เพื่อการผลิต
ได้บ้างไม่มากก็น้อย ส�ำคัญคือ ไม่ได้เน้นการใช้แทนเทคโนโลยีเดิมได้ทั้งหมด แต่เป็นการเติมเต็มจุดด้อยและข้อจ�ำกัดเพื่อให้ได้งานที่ตอบโจทย์กับโลก
อุตสาหกรรมยุคใหม่ ที่ต้องเร็ว ต้องแข่งขันด้านราคากับคู่แข่งได้ และยังตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาดอยู่เสมอ เพราะเทคโนโลยีเปลี่ยนเร็ว การ
รู้จักและเรียนรู้แต่เนิ่นๆ ล้วนสร้างความได้เปรียบแก่เรานะครับ และบริษัทแอพพลิแคดก็พร้อมจะเดินไปข้างหน้ากับเพื่อนๆ ผู้ประกอบการทุกท่านเพื่อก้าว
เข้าสู่โลกการผลิตของอุตสาหกรรมในยุค 4.0 ที่มีความสนุกและความท้าท้ายรอเราอยู่ ขอบพระคุณครับ
	 ส�ำหรับเครื่อง 3D Printer ซึ่งเป็นหัวใจหลักของ Alternative
Tooling นั้นบริษัท Stratasys ก็เป็นผู้บุกเบิกที่ส�ำคัญในการน�ำเอา
เทคโนโลยี Additive Manufacturing (AM) นี้มาใช้ในงานสายการผลิต
เพราะผลิตภัณฑ์ของบริษัทมีจุดเด่นในเรื่องคุณภาพงานและวัสดุที่ผลิต
ด้วยเครื่อง 3D Printer ของ Stratasys มีให้เลือกใช้ตรงตามความ
ต้องการของ Tooling ที่เราก�ำหนด นอกจากนี้ยังได้มีการเก็บรวบรวม
ข้อมูลและ Case Study งานที่ได้ร่วมกันท�ำและเรื่องราวความส�ำเร็จจาก
บริษัทชั้นน�ำทั่วโลกถึงประสิทธิภาพและประโยชน์ของ Alternative Tooling
ซึ่งรวมถึงอุตสาหกรรมการผลิตของไทยเราด้วยเช่นกัน
	 นอกจากความสามารถของ Alternative Tooling ที่กล่าวมา
แล้วนั้น ด้วยเทคโนโลยีรูปแบบนี้ท�ำให้เหมาะที่จะรองรับความต้องการสั่ง
ผลิตในลักษณะ Mass Customization ของอุตสาหกรรมในยุค 4.0 ที่
พฤติกรรมผู้บริโภคและโลกการผลิตเปลี่ยนไป เพราะมีต้นทุนการผลิตต่อ
ชิ้นที่ต�่ำมาก และมีรอบการเปลี่ยนแบบได้บ่อยๆ ซึ่งตัว Tooling นั้นต้อง
ปรับตามไปด้วย แล้วตอนนี้มีใครที่น�ำ Alternative Tooling ไปใช้งานบ้าง
เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ส�ำหรับวงการผลิตแล้วนะครับ โดยเฉพาะในต่าง
ประเทศเริ่มน�ำมาใช้กันสักระยะหนึ่งแล้ว และได้มีการปรับปรุงพัฒนากันมา
อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เหมาะสมกับงานและกระบวนการผลิตในต่างละสาขา
และแน่นอนว่ามีหลายๆ บริษัทในประเทศไทยของเราที่ได้น�ำเทคโนโลยีนี้เข้า
มาช่วยงานด้วยเช่นกัน
Alternative Tooling ทางเลือกใหม่ส�ำหรับการสร้าง Tooling เพื่อการผลิตในยุคอุตสาหกรรม 4.0 19
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Jakkree Eiei
 
The 21st century workspace
The 21st century workspaceThe 21st century workspace
The 21st century workspacemaruay songtanin
 
สถิติที่ควรรู้จัก
สถิติที่ควรรู้จักสถิติที่ควรรู้จัก
สถิติที่ควรรู้จักpunyanuch sungrung
 
The leadership skills handbook
The leadership skills handbookThe leadership skills handbook
The leadership skills handbookmaruay songtanin
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์kingkarn somchit
 
Health care needs real competition
Health care needs real competitionHealth care needs real competition
Health care needs real competitionmaruay songtanin
 
Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014maruay songtanin
 
Baldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thaiBaldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thaimaruay songtanin
 
Changes in 2015 2016 criteria thai
Changes in 2015 2016 criteria thaiChanges in 2015 2016 criteria thai
Changes in 2015 2016 criteria thaimaruay songtanin
 
Lessons from great family businesses
Lessons from great family businessesLessons from great family businesses
Lessons from great family businessesmaruay songtanin
 

Destaque (20)

Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
 
The 21st century workspace
The 21st century workspaceThe 21st century workspace
The 21st century workspace
 
Decision making 1
Decision making 1Decision making 1
Decision making 1
 
สถิติที่ควรรู้จัก
สถิติที่ควรรู้จักสถิติที่ควรรู้จัก
สถิติที่ควรรู้จัก
 
2016 key theme
2016 key theme2016 key theme
2016 key theme
 
The leadership skills handbook
The leadership skills handbookThe leadership skills handbook
The leadership skills handbook
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
 
Health care needs real competition
Health care needs real competitionHealth care needs real competition
Health care needs real competition
 
How to retire happy
How to retire happyHow to retire happy
How to retire happy
 
Award scoring
Award scoringAward scoring
Award scoring
 
Vision statement
Vision statementVision statement
Vision statement
 
Coaching the toxic leader
Coaching the toxic leaderCoaching the toxic leader
Coaching the toxic leader
 
Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014
 
Baldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thaiBaldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thai
 
Changes in 2015 2016 criteria thai
Changes in 2015 2016 criteria thaiChanges in 2015 2016 criteria thai
Changes in 2015 2016 criteria thai
 
The new deal on data
The new deal on dataThe new deal on data
The new deal on data
 
Lessons from great family businesses
Lessons from great family businessesLessons from great family businesses
Lessons from great family businesses
 
Site visit questions
Site visit questionsSite visit questions
Site visit questions
 
Make better decisions
Make better decisionsMake better decisions
Make better decisions
 
New rules of competition
New rules of competitionNew rules of competition
New rules of competition
 

Semelhante a Mi Magazine issue 01/2016

เทคโนโลยี Cloud Computing สำหรับงานสถาบันการศึกษา
เทคโนโลยี  Cloud Computing  สำหรับงานสถาบันการศึกษาเทคโนโลยี  Cloud Computing  สำหรับงานสถาบันการศึกษา
เทคโนโลยี Cloud Computing สำหรับงานสถาบันการศึกษาIMC Institute
 
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559Chanpen Thawornsak
 
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Adun Nanthakaew
 
Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality Ferin Bell
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...IMC Institute
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลHappy Sara
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of artbeverza
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 

Semelhante a Mi Magazine issue 01/2016 (20)

เทคโนโลยี Cloud Computing สำหรับงานสถาบันการศึกษา
เทคโนโลยี  Cloud Computing  สำหรับงานสถาบันการศึกษาเทคโนโลยี  Cloud Computing  สำหรับงานสถาบันการศึกษา
เทคโนโลยี Cloud Computing สำหรับงานสถาบันการศึกษา
 
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
 
Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562
 
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
 
Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
IoT for business huntra-seminar_26mar2019_dr.arnut
IoT for business huntra-seminar_26mar2019_dr.arnutIoT for business huntra-seminar_26mar2019_dr.arnut
IoT for business huntra-seminar_26mar2019_dr.arnut
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
 
Internet of things_bc46021_n_21mar2019_by_dr.arnut
Internet of things_bc46021_n_21mar2019_by_dr.arnutInternet of things_bc46021_n_21mar2019_by_dr.arnut
Internet of things_bc46021_n_21mar2019_by_dr.arnut
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of art
 
Chapter2 part1
Chapter2 part1Chapter2 part1
Chapter2 part1
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
 
Internet of things part i
Internet of things part iInternet of things part i
Internet of things part i
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 

Mi Magazine issue 01/2016

  • 1.
  • 2. Prapas Talks. ง่ายๆ แค่นั้น ใครก็ท�ำได้.. คุณก็ท�ำได้.. เมื่อ คุณออกแบบอะไรก็ได้เป็น 3 มิติ ผ่าน Software CAD ง่ายๆ เพียงปลายนิ้ว เมื่อ ระบบอัตโนมัติและ Robot เข้ามาแทนแรงงาน เมื่อ คุณสามารถควบคุมทุกอย่างผ่าน Internet เมื่อ คุณผลิตอะไรก็ได้ ผ่าน 3D Printer เหล่ากูรูทั้งหลายจึงออกมานิยามยุคใหม่ของอุตสาหกรรมว่า Industry 4.0 (บางคนอาจมีค�ำถามคือ อยู่ดีๆ ก็มา 4.0 แล้วเราผ่าน 3.0 มาตอนไหนฟระ) ค.อ.ผ. คิด ออกแบบ แล้วก็ผลิต เขาว่ากันว่าในอีก 20 ปี ข้างหน้าเราจะ สามารถสั่งผลิตข้าวของเครื่องใช้ได้เอง โดย ผ่าน Internet Device ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ ตั้งโต๊ะ แบบพกพา โทรศัพท์มือถือ หรือแม้แต่ ผ่านหน้าจอ TV. ในห้องนอนได้เลย โดยค�ำสั่ง ผลิตจะถูกส่งต่อไปที่ระบบอัตโนมัติในโรงงาน ผลิตผ่าน 3D Printer โดยมี Robot ท�ำหน้าที่ เคลื่อนย้ายชิ้นงานจาก Station หนึ่ง ไปยังอีก Station หนึ่ง โดยที่เราสามารถรับรู้ได้ หรือดู ผ่าน Application ได้ว่าตอนนี้ของที่เราสั่งผลิต มันไปถึงไหนแล้ว โดยแทบจะไม่ต้องคุยกับคนอีก ต่อไป เขาว่ากันว่าคนเราในยุคต่อไปจะต้องการความ เป็นเอกลักษณ์ ต้องการใช้ของที่มันไม่เหมือนใคร หรือเรียกว่าพวก HIPster ดูง่ายๆ อย่าง โทรศัพท์ Apple iPhone ที่เขาอุตส่าห์ออกแบบ ให้สวยงามสุดยอด แต่พอเราซื้อปุ๊บ เป็นไงครับ ไปซื้อเคสใส่.. พี่โจนาธาน ไอป คนออกแบบคง น�้ำตาไหล แต่นั่นละครับ ทุกคนอยากเป็นตัวของ ตัวเองครับ สินค้าทุกอย่างในอนาคตจะต้อง สามารถ Customized ให้ได้มากที่สุด ซึ่งการ ผลิตแบบเก่าที่ใช้ระบบสายพานการผลิตและ ผลิตครั้งละมากๆ ไม่อาจตอบโจทย์ของผู้บริโภค ได้อีกต่อไป Internet ท�ำให้โอกาสทางธุรกิจเปิดกว้างให้ทุกๆ คน ไม่ว่าจะเล็กใหญ่ขนาดไหน ขอให้มีความคิด ดีๆ ก็สามารถท�ำธุรกิจได้ และข้อดีในแง่ของผู้ บริโภคอย่างเราๆ ก็คือ เราจะมีคนเป็นพันล้าน ที่พยายามคิดท�ำอะไรต่างๆ นานา เพื่อให้ชีวิต เขาดีขึ้น เพื่อให้สังคมดีขึ้น และให้โลกนี้น่าอยู่มาก ขึ้น แทนที่จะรอพึ่งบริษัทใหญ่ๆ คิดให้เราอย่าง เดียวอีกต่อไป คู่แข่งที่น่ากลัวของบริษัทยักษ์ใหญ่ อาจจะไม่ใช่ ยักษ์ใหญ่ด้วยกันอีกต่อไป ต่อไปนี้บริษัท Start up เล็กๆ ก็สามารถสั่นสะเทือนบัลลังก์ยักษ์ใหญ่ ได้ไม่ยาก หากเขามีของ มีความมุ่งมั่น ตั้งใจจริง ยุคต่อไปนี้การเริ่มต้นธุรกิจ ท�ำอะไรออกมาขาย สักอย่างไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป ทุกคนสามารถ ท�ำผลิตภัณฑ์ของตัวเองด้วยเงินทุนเริ่มต้นที่ต�่ำ แบบที่ไม่มีมาก่อน ทั้งยังสามารถระดมทุนผ่าน Cloud Funding อย่าง Kick Starter อีกต่าง หาก ท�ำของเสร็จก็ขายผ่าน Internet ง่ายๆ แค่ นี้ครับ ผมอยากเชิญชวนทุกท่านที่มีของ มี Idea ดีๆ มาช่วยกันท�ำอะไรสักอย่าง Make Something โดยให้เราเป็นผู้ช่วยของท่าน AppliCAD และ บริษัทในเครือ พร้อมให้ค�ำปรึกษาและบริการ เรามี Hardware ตั้งแต่เครื่อง 3D Scanner, 3D Printer, CNC เรามี Software ออกแบบ เครื่องกล ออกแบบ Product ออกแบบบ้าน ตึก ไปจนถึงออกแบบสิ่งพิมพ์เรามี People ware ที่มากความรู้และประสบการณ์ที่สั่งสมยาวนาน กว่า 20 ปี และปีนี้ 2016 ผมขอแนะน�ำปฐมบทของ Industry 4.0 ร้านใหม่ FAB CAFE @ One Udomsuk ติด สถานีรถไฟฟ้าอุดมสุข สนับสนุนทุกความเป็นไปได้ ศุนย์รวมคนเล็ก คนน้อยที่มี Idea ไม่ว่าจะเล็กๆ แค่อยากท�ำแจกันสักอัน หรือฝันใหญ่ๆ ท�ำ มอเตอร์ไซค์ขี่เองสักคัน ขอเรียนเชิญทุกคนมา พบปะพวกเดียวกันได้ที่นี่ครับ ไว้แวะมาเจอกัน นะครับ Let’s make it happen! บุญรักษาครับ ประภาส ตั้ง #iammaker3d Prapas Talks02
  • 3. ณ ปัจจุบันหลายท่านอาจเคยได้ยินเรื่อง 4.0 ไม่ว่าจะเป็น WEB 4.0, Marketing 4.0, IMC 4.0, Retail 4.0 ในเล่มนี้เราจะมาพูดถึงเรื่องที่ใกล้ตัวเรา ในภาคอุตสาหกรรมคือ Engineering 4.0 ที่จะก�ำหนด ทิศทางในอนาคตว่าจะมาถึงยุคปัจจุบันนี้ได้ ก็ผ่านมาหลายยุค ผมขอสรุปคร่าวๆ ดังนี้ Engineering 1.0 – 1760 to 1970 ยุคการออกแบบบนกระดาษ Engineering 2.0 – 1970’s-1995 ยุคการออกแบบ 2D บนคอมพิวเตอร์ Engineering 3.0 – 1995-2015 ยุคการออกแบบ 3D และต่อยอดจาก 3D (CAE / CAM / 3D Printer) Engineering 4.0 – 2015 – ? จะไปในทิคทางใด (ติดตามเนื้อหาได้ภายในเล่ม) และเล่มนี้จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับ Industry 4.0 หรือยุค Internet of Things (IoT) โดยสรุปดังนี้ Industry 1.0 สร้างเครื่องจักรไอน�้ำในปี คศ. 1784 มันถูกน�ำมาใช้ทดแทนพลังงานที่ได้จากธรรมชาติในการ ผลิต รวมทั้งเกิดการสร้างรถไฟ ซึ่งท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการคมนาคมขนส่ง กระตุ้นการบริโภค สินค้าอุตสาหกรรม Industry 2.0 ปลายศตวรรษที่ 19 การพัฒนาเครื่องก�ำเนิดพลังงานไฟฟ้า และเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต มาเป็นระบบโรงงาน ท�ำให้เกิดการผลิตสินค้าครั้งละมากๆ ราคาไม่แพงท�ำให้ทุกคนสามารถเข้าถึงสินค้า อุตสาหกรรมได้ Industry 3.0 เกิดขึ้นในปี 1970 เมื่อการพัฒนาด้านอิเล็กทรอนิกส์ และด้าน IT ถูกน�ำมาใช้ในกระบวนการ ผลิต มีการปรับปรุงกระบวนการผลิตและระบบบริหารจัดการด้านคุณภาพ การพัฒนาเครื่องจักรให้มีความ สามารถในด้านความเร็วและความละเอียดแม่นย�ำ รวมถึงการน�ำเอาระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์มาใช้ใน กระบวนการผลิต Industry 4.0 (Internet of Things (IoT)) ยุคการเชื่อมต่อกับ Internet เป็นยุคที่เชื่อมโยงลูกค้า กับการ ใช้เครื่องจักรในการผลิตอัตโนมัติไม่ว่าจะเป็น Robot, 3D Printing และอื่นๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ ลูกค้าแบบรายบุคคล ลูกค้าสามารถสั่งผลิตผ่านทาง Internet หรือปรับเปลี่ยนได้แบบ Real Time ได้ตลอดเวลา เล่มนี้จะน�ำเสนอเครื่องมือ และแนวทางการรับมือการเปลี่ยนแปลงไปของเศรษฐกิจโลกที่เข้าสู่ช่วงขาลง ส่งผลให้ผู้ประกอบการบางรายต้องปรับตัว มีการน�ำเครื่องจักรมาใช้ทดแทนการใช้แรงงานคนมากขึ้นเพื่อ ลดค่าใช้จ่าย ในส่วนของเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ต่างๆ เมื่อเกิดพังหรือเสียเดิมอาจเคยซื้อใหม่ แต่ด้วย เศรษฐกิจแย่จึงต้องปรับมาเปลี่ยนเป็นการซ่อมบ�ำรุงหรือประยุกต์ใช้แทน (Maintenance, Reuse, Recycle, Reduce) โดยใช้กระบวนการผลิตที่ประหยัดเวลา และมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีแบบครบวงจรจนไปสู่ค�ำ ว่า Smart Factory ชโย เพ็ชรรัตน์ ผู้อ�ำนวยการฝ่าย ContentPrapas Talks SOLIDWORKS vs Engineering 4.0 ตอบโจทย์การบริการลูกค้ายุคใหม่ด้วย TeamViewer SolidCAM for The Generation Factory ยกระดับ SME พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย SolidCAM ปิดจ๊อบงานวิเคราะห์ได้อย่างเก๋ๆ ด้วยการ Simplify ชิ้นงาน Alternative Tooling ทางเลือกใหม่ส�ำหรับการสร้าง Tooling เพื่อการผลิตในยุค อุตสาหกรรม 4.0 พลิกโฉมหน้าการผลิต ปฏิวัติโลกอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 (INDUSTRY 4.0) The New Era of Electrical Design What’s new SolidPlant 2016? การพัฒนาอุตสาหกรรมไทยสู่ Smart Factory SolidWorks Composer ตอบทุกโจทย์ปัญหาเรื่องการท�ำคู่มือ เปลี่ยนขั้นตอนการตามลายเซ็นแบบใหม่ไร้กระดาษด้วย Acrobat Pro Document Cloud (DC) Education 4.0 เขียนงานระบบท่อภายในอาคารง่ายกว่าที่เคย เทคนิคเพิ่มประสิทธิภาพกับการท�ำงานไฟล์ CAD ขนาดใหญ่ให้เร็วขึ้น AppliCAD Events 02 04 08 10 13 16 18 21 24 26 28 30 32 34 36 37 38 Editor Talks 03
  • 4. บทความ: จเร เมฆแก้ว SOLIDWORKS vs Engineering 4.0 การที่เราจะสามารถมองภาพในอนาคตของงาน ด้านวิศวกรรมว่าเป็นอย่างไร เราคงต้องมองย้อนกลับไปในอดีต ว่าเรามาถึงจุดนี้ได้อย่างไร ในอดีตเราได้ปฏิบัติงานกันแบบไหนอย่างไร Engineering 1.0 1760 - 1970 เป็นยุคที่มนุษย์เราสามารถน�ำกกมาผลิตเป็นกระดาษบางๆ ได้ตั้งแต่ 2550 ปีก่อนคริสต์กาล การออกแบบที่ทันสมัยและงานด้านวิศวกรรม ที่มีการพัฒนาก้าวหน้าไปสูงมากถ้าเทียบกับช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรรมในปีคริสตศักราช 1760 สิ่งประดิษฐ์ที่น่าทึ่งที่ได้รับการออกแบบและผลิตใน ช่วงต้นปีคริสตศักราช 1900 นั้นใช้เพียงแค่กระดาษและดินสอ เท่านั้น ยกตัวอย่างเช่น เครื่องยนต์ไอน�้ำ โรงงานปั่นฝ้าย เครื่องโทรเลข จักรเย็บผ้า รถยนต์และเครื่องบิน ในขณะที่วัสดุและวิธีการผลิตต่างๆ มีความซับซ้อน มากขึ้น วิธีการเขียนแบบ ออกแบบทางด้าน วิศวกรรมยังคงไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ จนเข้าสู่ ยุคของคอมพิวเตอร์ SOLIDWORKS vs Engineering 4.004
  • 5. Engineering 2.0 1970’s - 1995 ในยุคนี้ ก็ถือเป็นยุคที่ก�ำเนิดคอมพิวเตอร์เมนเฟรมขนาดใหญ่ แน่นอนว่าราคาสูงลิ่วเพราะเป็นของใหม่ และมีการพัฒนาต่อกลายเป็น คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในราคาที่จับต้องได้ กลุ่มวิศวกร นักออกแบบ รวมถึงนักประดิษฐ์ต่างๆ สามารถที่จะเขียน วงกลม เส้นโค้ง และสิ่งต่างๆ บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้โดยง่าย การปฏิวัติในยุคนี้ถือว่าดีขึ้นร่วม 20-30 ปี โดยที่ยังมีการใช้ งานทั้งในส่วนงานบุคคลและองค์กรอยู่จนถึงปัจจุบัน โดยสิ่งที่เห็นชัดเจน อย่างมีนัยส�ำคัญคือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในอดีตนั้นคงต้องพึ่งพา ยางลบ แต่ปัจจุบันเรามียางลบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถลบได้ง่ายและ ท�ำใหม่เท่าไรก็ได้ตามต้องการ เครื่องมือหลายๆ ส่วนที่ช่วยค�ำนวณในการออกแบบ เช่น การ หาจุดศูนย์กลาง พื้นที่ จุดศูนย์ถ่วง ฯลฯ อีกทั้งยังสามารถค�ำนวณภาพ ฉายที่ซับซ้อนให้กลายเป็นเรื่องง่ายๆ ด้วยเทคนิคทางคอมพิวเตอร์ Engineering 3.0 1995 - 2015 ในขณะที่ความสามารถของโปรแกรมสามมิติ หรือ 3D CAD เป็นที่รู้จักและมีการใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมการบิน อวกาศ และยานยนต์ แต่ในตลาดส่วนใหญ่ ยังไม่ได้รู้จักกับเทคโนโลยีพวกนี้มาก นัก จนถึงต้นปี 1990 SOLIDWORKS ได้เปิดตัวสุดยอดโปรแกรมที่ท�ำให้ วิศวกรและนักออกแบบทุกคนได้สัมผัสกับโปรแกรมสามมิติบนเครื่อง เดสก์ทอป ซึ่งวิศวกรทุกคนเริ่มต้นใช้กันจริงจังในปี ค.ศ. 1995 และตั้งแต่ วันนั้นจนถึงวันนี้ก็มีผู้ใช้ทั่วโลกมากกว่า 2 ล้านคน ทั้งในเชิงพาณิชย์และ ในหน่วยงานการศึกษา 3D CAD อย่าง SOLIDWORKS มีการพัฒนา ตลอดเวลา ในแต่ละปีจะเพิ่มความสามารถใหม่ๆ ความเร็วในการใช้งาน รวมถึงความสามารถในการแสดงผลที่สมจริงมากขึ้น เพื่อตอบสนอง การคิดประดิษฐ์อะไรใหม่ๆ นอกเหนือจากการสร้างงานด้านการออกแบบ และถ่ายทอดไอเดียมาใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้อย่างยอดเยี่ยมแล้ว วิศวกร ก็ยังสามารถจ�ำลองหรือทดสอบการท�ำงานของงานที่ออกแบบนั้นก่อน ที่จะมีการผลิตจริง ชิ้นส่วนสามารถทดสอบความแข็งแรง ความทนทาน ภายใต้เงื่อนไขที่แตกต่างกัน วิเคราะห์เกี่ยวกับความเสียหายอันเนื่องมา จากความร้อนของอุณหภูมิ วิเคราะห์การสั่นสะเทือน การโก่งงอและความ ล้าของตัววัสดุได้อย่างแม่นย�ำ งานพวกแผงวงจรไฟฟ้าก็สามารถ จ�ำลองได้เช่นกัน ไม่เว้นแม้แต่การทดสอบเกี่ยวกับของไหลที่สามารถหา คุณสมบัติและผลกระทบต่างๆ รวมไปถึงงานที่เป็นลักษณะงานฉีด พลาสติก (injection molding) ซึ่งสามารถจ�ำลองงานฉีดก่อนมีการส่ง เข้าสู่กระบวนการผลิตจริงๆ ซึ่งทั้งงานออกแบบและผลการจ�ำลองเหล่า นี้สามารถจัดเก็บภูมิความรู้หรือผลลัพธ์ทั้งหมดไว้ในระบบที่มีการรักษา ความปลอดภัยอย่างดีซึ่งจะเรียกว่าระบบPDM(ProductDataManagement) ระบบนี้ไม่เพียงแต่จัดการไฟล์เรื่องความปลอดภัยเท่านั้น แต่สามารถ จัดการเรื่องการแก้ไข การป้องกันไม่ให้ข้อมูลเขียนทับกัน อีกทั้งยังสามารถ ติดตามตรวจเช็คการเชื่อมโยงของไฟล์ นอกเหนือจากนั้นตัวโปรแกรมยัง สามารถสร้างงานเรนเดอร์เพื่อสร้างภาพที่เสมือนจริง และท�ำภาพ เคลื่อนไหวเพื่อใช้กับงานน�ำเสนอได้ Engineering 4.0 2015 – ? ดังนั้นอนาคตต่อไปของงาน ด้านวิศวกรรมจะไปทิศทางไหน ? การแชร์ข้อมูลในยุคอนาคตมีความส�ำคัญมากๆ การที่จะต้อง มีการเริ่มงานจากศูนย์เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระท�ำ เพราะว่าข้อมูลต่างๆ ได้มี การสร้างไว้บ้างแล้ว สามารถที่จะดึงข้อมูลมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างเหมาะสมในยุคนี้เป็นกุญแจส�ำคัญในการเริ่มต้น งานวิศวกรรม 4.0 ผู้ร่วมทุนในองค์กร ทีมงาน ทีมเทคนิคแต่ละคนควรมีการเข้า ถึงข้อมูลที่ต้องการในรูปแบบเฉพาะภายใต้เงื่อนไขที่ก�ำหนด โดยสามารถ เข้าได้ตลอดเวลา และจะมีระบบรักษาความปลอดภัยที่สูงจากส่วนกลาง ซึ่งข้อมูลที่จ�ำเป็นในการแชร์ เช่น การเสนอราคาส�ำหรับงานขาย ค่าวัสดุ ส�ำหรับการจัดซื้อ การตลาด รวมถึงเอกสารที่แสดงภาพเคลื่อนไหว เอกสารตรวจสอบคุณภาพ รวมถึงไฟล์หลากหลายรูปแบบที่จ�ำเป็นในการ ท�ำงาน เช่น eDrawings, 3D PDF, STEP, IGES etc... ทุกๆ ฝ่ายจะมี เวลามากขึ้นในการท�ำงาน และใช้เวลาน้อยในการท�ำความเข้าใจนั้นๆ SOLIDWORKS vs Engineering 4.0 05
  • 6. วิศวกรสามารถใช้ประโยชน์จากงานที่ออกแบบเพื่อให้แชร์ภาพ เคลื่อนไหวและภาพนิ่ง (.jpg, MP4) เพื่อฝ่ายการตลาดน�ำไปใช้ส�ำหรับ ไปจัดท�ำเว็บไซต์ การแชร์ Drawing ในลักษณะมุมมองภาพระเบิด (Explode View) และตารางวัสดุ (xlsx) เพื่อเอกสารทางเทคนิคส�ำหรับ ผู้ที่จ�ำเป็นต้องใช้งาน เอกสารการประกันคุณภาพ Ballooned รวมถึง รายงานการตรวจสอบที่สามารถสร้างขึ้นโดยอัตโนมัติจาก PDF และ CAD (.slddrw) ซึ่งเป็นประโยชน์กับฝ่ายตรวจสอบคุณภาพ และสามารถลด เวลาในการท�ำงานได้อย่างมหาศาล แบบงานทางด้านไฟฟ้าที่สมบูรณ์ รวมถึงตารางวัสดุที่สามารถใช้ร่วมกันกับฝ่ายจัดซื้อ เพื่อตรวจเช็คก่อน เข้าสู่การผลิต โดยที่ฝ่ายสินค้าคงคลังและคนที่ท�ำงานร่วมในโปรเจคนั้นๆ สามารถจัดการงานที่รับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง การท�ำงานแบบครบ วงจรในงานออกแบบคือ มีการออกแบบงานและวิเคราะห์จนสามารถ การันตีงานได้ ทั้งหมดทั้งมวลสามารถจัดการให้ท�ำงานได้แบบสมบูรณ์ ด้วยระบบ PDM จากที่ได้กล่าวมาเป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งของวิศวกรรม 4.0 โดย การท�ำงานในปัจจุบันยังมุ่งเน้นการท�ำงานที่เป็นอัตโนมัติมากขึ้น ง่าย เร็ว และความผิดพลาดน้อยลง ลดการใช้ทรัพยากรมนุษย์ ยกตัวอย่างอีก ความสามารถของ SOLIDWORKS ที่สนับสนุนงานวิศวกรรม 4.0 คือ งานปริ้นสามมิติ (3D Printing) ซึ่งนอกจากที่ตัวโปรแกรมเองสามารถที่ จะออกแบบและเขียนแบบได้อย่างดีเยี่ยม หลังจากนั้นสามารถเลือก ออฟชั่น Print 3D โดยก�ำหนดคุณสมบัติที่ต้องการเพียงเล็กน้อย ก็ สามารถปริ้นได้อย่างง่าย ผิดกับยุคเก่าก่อนที่จะต้องมีการผลิตงานม็อคอัพ (Mockup) หรืองานโมเดล (Model) ก่อน-หลัง จากนั้นปรับแก้และค่อย ผลิตจริง ซึ่งใช้ทั้งเวลาเยอะมากกว่าจะจบโปรเจค แต่งานปริ้นสามมิติช่วย ท�ำให้ชีวิตง่ายขึ้นอย่างมหาศาล รวดเร็ว ลดต้นทุน ออกสู่ตลอดได้อย่าง รวดเร็ว และมั่นใจในคุณภาพงาน จนถึงปัจจุบันการพัฒนาด้านเทคโนยี มีอยู่ตลอดเวลา การแข่งขันด้านธุรกิจ ไม่สามารถหยุดได้ ใครมีแนวทาง ใครมี ความคิดเหนือกว่า ก็สามารถชนะได้ อย่างสบายๆ แต่ที่ส�ำคัญใครมีเทคโนโลยี ที่เหนือกว่าย่อมได้เปรียบคู่แข่ง ใครมี ระบบการจัดการที่ดีเยี่ยมย่อมจะล่าช้าบ้าง ในตอนแรก แต่ในระยะยาวจะมีแต่ ความง่าย รวดเร็ว และมีความมั่นคง SOLIDWORKS vs Engineering 4.006
  • 7. หลักสูตรอบรมวันเสาร เปดใหบริการแลว!!!! Hot! Hit! สนใจสอบถาม หลักสูตรเพิ่มเติมไดที่ 02 744 7827 8 DETI Training Center พ�เศษ หลักสูตร Customize on-site training course ตามความตองการลูกคา www.deti.co.th AutoCAD 2D Basic (สอนดวย AutoCAD 2016) SolidWorks Essential SolidWorks Advanced Parts Modeling SolidWorks Assemblies Modeling SolidWorks Surface Modeling SolidWorks Simulation ผานการรับรองมาตรฐานจาก SolidWorks และ Autodesk Authorized Trainning Center ศูนยอบรมการใชงานโปรแกรมออกแบบดานวิศวกรรม หลักสูตร T W I am MAKER 3D Printing Cafe & Store #iammaker3d 3D Printing Services Coffee Shop 3D Printer Sale 3D Scanner Services I am MAKER บริการ 3D Printing เริ่มตน 300 บาท/ชม. จำหนาย 3D Printer "เริ่มตนที่ 13,900 บาท เทานั้น” Stratasys/ Makerbot / Ultimaker/ Zortrax / Davinci / 3Dison/ Wise นั่งรอ นั่งคุยงาน คุยโปรเจคกัน แบบสบายๆ Style Coffee Shop กับกาแฟหอมๆ เครื่องดื่มเย็นๆ “The Largest 3D Printer Store in Thailand” #iammaker3d
  • 8. ตอบโจทย์การบริการลูกค้ายุคใหม่ด้วย TeamViewer จากบทสนทนาข้างต้นเห็นชัดว่าช่องทางการให้ บริการโดยการ Remote ได้รับความนิยมมาก เมื่อเทียบกับ ช่องทางการให้บริการอื่นๆ ของ AppliCAD เรามาท�ำความ รู้จักกับโปรแกรม TeamViewer ที่ทาง AppliCAD น�ำมาเป็น ตัวเอกหลัก เพื่อช่วยบริการลูกค้ากันสักนิดนะครับ TeamViewer เป็นโปรแกรม Remote Desktop ส�ำหรับการใช้งานในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์จากระยะ ไกล โดยมีฟังก์ชั่นการใช้งานอย่างง่าย ขนาดโปรแกรมไม่ใหญ่ มาก และมีระบบความปลอดภัยที่น่าเชื่อถือ สิ่งที่ลูกค้าชอบให้ AppliCAD ช่วยแก้ไข ผ่านช่องทาง Remote นั้น เป็นเพราะช่องทางนี้เสมือนมีเจ้าหน้าที่ของ AppliCAD เข้าไปช่วยแก้ไขปัญหาให้ได้ทันที โดยไม่ต้องอธิบาย ปัญหาให้ฟังยืดยาว หรือมัวแต่หาปุ่มค�ำสั่ง หรือเมนู ตามที่ เจ้าหน้าที่บอก และที่ส�ำคัญช่วยประหยัดเวลาในการรอคอย เจ้าหน้าที่เข้าไปแก้ไข หากปัญหานั้นไม่สามารถแนะน�ำให้ลูกค้า แก้ไขเองทางโทรศัพท์ได้ ซึ่งแน่นอนว่างานที่ท�ำค้างอยู่จะต้อง ชะงัก และเสร็จไม่ทันตามก�ำหนดเป็นแน่ จากประโยชน์ดังกล่าว AppliCAD จึงได้น�ำโปรแกรม TeamViewer มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง เพื่อยกระดับการให้ บริการลูกค้าที่เป็นสมาชิก Subscription หากลูกค้า ได้ติดตั้ง AppliCAD Menu อยู่แล้วก็ยิ่งสะดวกมาก ยิ่งขึ้น โดยลูกค้าเลือกช่องทาง TeamViewer ใน Menu ของ AppliCAD Menu ได้ทันที จากนั้นลูกค้า สามารถติดต่อเข้ามาที่ AppliCAD Hotline เพื่อแจ้ง เรื่องขอรับบริการ Remote โดยแจ้ง User Name กับ Password ของ TeamViewer เพื่อเป็นการ อนุญาตให้ทางเจ้าหน้าที่ Hotline สามารถเข้าไป Remote ได้ เท่านี้ลูกค้าก็ปล่อยให้เจ้าหน้าที่ของเรา ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาให้ลูกค้าได้แล้ว แต่หาก Remote แล้วพบว่าต้องเข้าไปแก้ไขที่ Site งานของลูกค้า ทาง เจ้าหน้าที่ AppliCAD ก็จะทราบปัญหา และตระเตรียม วิธีการแก้ไขปัญหา โดยไม่ต้องไปตรวจสอบที่เครื่อง ของลูกค้าก่อนท�ำการแก้ไขให้เสียเวลาอีกรอบ ฉะนั้นแล้ว AppliCAD จึงอยากเชิญชวนลูกค้า Subscription มาใช้บริการ ผ่านช่องทาง TeamViewer กันเพื่อเพิ่มความสะดวกในการใช้งานและประหยัดเวลาของ ลูกค้า หรือถ้าในอนาคต AppliCAD มีช่องทางบริการใดเจ๋งๆ เราจะรีบน�ำมาเสริมทัพ การให้บริการ เพื่อเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้ายิ่งขึ้นต่อไป หากต้องการขอค�ำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญของ AppliCAD สามารถติดต่อ เจ้าหน้าที่หลังการขายที่ดูแลของท่านได้ หรือสามารถสอบถามและศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ www.applicadthai.com, เบอร์ 02-744-9045 AppliCAD Hotline : สวัสดีครับ AppliCAD Hotline 02-744-9044 ยินดีให้บริการครับ ลูกค้า A : สวัสดีครับ ผมนาย A จากบริษัท B ต้องการขอค�ำปรึกษาปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรม SolidWorks ครับ AppliCAD Hotline : ยินดีครับ ไม่ทราบคุณลูกค้ามีปัญหาเรื่องใดให้ช่วยครับ ลูกค้า A : ผมก็ไม่รู้จะอธิบายอย่างไร ช่วย Remote เข้ามาดูที่เครื่องให้ทันทีได้หรือไม่ครับ.. ตอบโจทย์การบริการลูกค้ายุคใหม่ด้วย บทความ : สุนทร ลายลักษณ์ด�ำรง AppliCAD Menu APP MENU Team viewver Quick support 08
  • 9. Why BIM, Why ArchiCAD 19?
  • 10. การเปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญของวงการ อุตสาหกรรมก�ำลังจะเกิดขึ้นอีกครั้ง นับตั้งแต่การก�ำเนิดขึ้นของเครื่องจักร ไอน�้ำในศตวรรษที่ 18 ที่โลกได้รู้จัก ค�ำว่าอุตสาหกรรม มาจนถึงปัจจุบันที่ ภาคอุตสาหกรรมได้รับการพัฒนา ควบคู่ไปกับความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีด้านต่างๆ บทความ : อาจารย์มนูญ เหล็กไหล SolidCAM for The Generation Factory 4.0 SolidCAM for The Generation Factory 4.0 10
  • 11. เมื่อมีการบูรณาการเทคโนโลยี และองค์ความรู้สาขาต่างๆ มา ต่อยอดให้กับอุตสาหกรรม ซึ่งจะน�ำไปสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 หรือ INDUSTRY 4.0 ประกอบกับความต้องการของผลิตภัณฑ์ของลูกค้า มีความหลากหลายขึ้น ในขณะที่จ�ำนวนผลิตต่อล็อตมีแนวโน้มน้อยลง เรื่อยๆ ดังนั้นระบบอัตโนมัติส�ำหรับอุตสาหกรรม 4.0 จะต้องมีความ ยืดหยุ่นอย่างสูง ซึ่งแน่นอนว่ามันต้องได้รับการควบคุมจากอุปกรณ์ อัจฉริยะ (Smart Sensors) เพื่อให้มันสามารถท�ำการรับรู้ การวิเคราะห์ และการก�ำหนดรูปแบบการท�ำงานได้ด้วยตัวเอง ซอฟต์แวร์ SolidCAM ส�ำหรับอุตสาหกรรมการผลิต ได้มีการ รวมเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ IT ระบบฐานข้อมูล (Database) ที่จะเข้า มาเป็นตัวกลางช่วยท�ำให้การสื่อสารระหว่างคนกับเครื่องจักรเข้าด้วยกัน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เทคโนโลยีที่กล่าวถึงทั้งหมดนี้จะท�ำให้ ระบบการผลิตเปลี่ยนโฉมหน้าไปอย่างสิ้นเชิง เพื่อประสิทธิภาพของการ ผลิต และการตอบสนองเครื่องจักรกล (Efficiency) จะมีความสามารถ ที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก ประกอบด้วย เวลาในการผลิตน้อยลง (Down Time) เครื่องมือตัดใช้งานเต็มประสิทธิภาพเต็มราคา (Full Performance & Cost) ทั้งในด้านการท�ำงานด้วยตนเอง ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ให้เข้ากับเงื่อนไขการผลิต (Cutting Condition) ความสามารถในการ มอนิเตอร์ตัวเอง และการพยากรณ์จะท�ำให้สมาร์ทแมชชีนสามารถ วิเคราะห์ข้อมูลจากการผลิตโดยการได้รับข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล (IMachine Database & Material Database) ท�ำให้มันสามารถปรับเงื่อนไขการท�ำงาน (Machining Envelopment) เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น เพื่อช่วยยืด อายุการท�ำงานของเครื่องจักร ซึ่งข้อมูลสุขภาพของเครื่องจักรจะเป็น ประโยชน์อย่างมากในการวางแผนการผลิต และประเมินศักยภาพโดยรวม ของระบบการผลิต รวมทั้งท�ำให้ฝ่ายซ่อมบ�ำรุงสามารถปรับแผนการบ�ำรุง รักษาและก�ำหนดรอบของการบ�ำรุงรักษาที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มเวลา Uptime ให้ได้สูงสุด หากเราพิจารณาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงของโรงงาน การผลิตในปัจจุบัน เช่น กรณีมีเครื่องจักรที่ก�ำลังจะหมดอายุ การใช้งาน ที่ท�ำให้เกิด Downtime หรือต้องการการบ�ำรุงรักษามากเกินไป ใน สถานการณ์เช่นนี้ผู้ประกอบการอาจต้องพิจารณาทางเลือกว่าจะท�ำการ ฟื้นฟู เครื่องจักรใหม่ หรือเปลี่ยนเครื่องใหม่ (Maintenance, Reuse, Recycle, Reduce) ส�ำหรับเครื่องจักรกลก็สามารถน�ำไปสู่การปรับปรุง แผนงานการบ�ำรุงรักษา (PM : Preventive Maintenances) อันส่งผล ต่อการเพิ่มจ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานของเครื่อง และลดค่าใช้จ่ายในการ บ�ำรุงรักษา SolidCAM for The Generation Factory 4.0 11
  • 12. SolidCAM for The Generation Factory 4.0 ซอฟต์แวร์ SolidCAM ได้พัฒนาเทคโนโลยีที่ตอบสนองสภาวะการท�ำงาน ของเครื่องจักรที่เกิดขึ้นจริงโดยการควบคุมพารามิเตอร์ที่จ�ำเป็นอันจะส่ง ผลต่อการท�ำงานของเครื่องจักร ในขณะท�ำการปฏิบัติงานลดปัญหาที่ เกิดจากช่างผู้ควบคุมเครื่องที่ขาดประสบการณ์ ในการปรับแต่งเงื่อนไขใน การตัดเฉือน (Cutting Condition) อันจะส่งผลให้กระบวนการผลิตเกิด การสูญเสีย 7 ประการ (7 West) ปัจจุ บันภาคธุ รกิจมีการแข่งขันกันสูงมากขึ้นในส่วน อุตสาหกรรมการผลิต ลักษณะของผลิตภัณฑ์ถูกก�ำหนดด้วยความ ต้องการของลูกค้าที่ประกอบไปด้วย 1.ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ 2.ตามปริมาณที่ต้องการที่มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น/ลดลง 3.ผลิตภัณฑ์ คุณภาพสูง 4.ราคาไม่แพง 5.มีการส่งมอบที่รวดเร็ว เป็นอันที่แน่นอน ส�ำหรับกระบวนการการผลิต จึงมีความจ�ำเป็นที่ต้องตอบสนองจาก ความต้องการ (Flexible Production) ของลูกค้าซอฟต์แวร์ SolidCAM ได้มีการพัฒนาทั้งในส่วนของการควบคุม (User Interface) ที่ผู้ใช้ สามารถเข้าใจเรียงล�ำดับขั้นการใช้ได้ต่อเนื่อง ลดขั้นตอนการก�ำหนดข้อมูล ที่ไม่จ�ำเป็นผู้ใช้สามารถบริหารจัดการองค์ความรู้ที่เป็นทักษะเฉพาะงาน นั้นๆ ไว้ในรูปแบบเทมเพลท (KM: Knowledge Management) ซึ่งช่วย ในการลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตได้มากขึ้น (Loss Over Production, Loss Inventory, Loss Waiting, Loss Motion, Loss Transportation, Loss Rework, Loss Over Processing) 12
  • 13. ยกระดับ SME พัฒนาขีด ความสามารถในการแข่งขันด้วย จากภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยส่งผลให้ SME ประสบปัญหาอย่าง มากในการท�ำธุรกิจ ทั้งในเรื่องของต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้น ตลอดจน ตัวแปรด้านบุคลากร และแม้ว่า SME จะเข้าใจว่าการน�ำเอา เทคโนโลยีเข้ามาใช้นั้นเป็นทางออก แต่ก็ยังติดปัญหาหลายอย่าง ไม่ ว่าจะเป็นความไม่รู้ ความไม่เข้าใจ และยังคิดว่าไม่สามารถเป็น เจ้าของเทคโนโลยีเหล่านั้นได้เพราะไม่มีเงินทุนมาก ตลอดจนเข้าใจ ว่าการน�ำเอาโซลูชั่นที่ดีและมีประสิทธิภาพสูงๆ นั้นต้องลงทุนด้วย เม็ดเงินที่มากเกินกว่าธุรกิจขนาด SME จะลงทุนได้ วันนี้เรามีบท สัมภาษณ์พิเศษจากคุณสมศักดิ์ ชื่นอยู่ Engineering & Design Manager จาก ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ศักดิ์ศิริ เอ็นจิเนียริ่ง ผู้อยู่ใน วงการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์มานาน และต้องการท�ำธุรกิจเป็นของ ตนเอง เจาะลึกแนวความคิด SME รายเล็ก แต่ใจที่จะกล้าลงทุน ไปกับเทคโนโลยีด้านซอฟต์แวร์เพื่อการเติบโตของธุรกิจ เมื่อก่อนผมเคยท�ำงานอยู่บริษัทผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ ผมได้มีโอกาสอยู่ในส่วนของวิศวกรรม (Engineering) ท�ำให้มีความรู้ในส่วนของการออกแบบเครื่องจักร และ Jigs & Fixtures ต่างๆ ผม อยู่ในสายงานนี้มา 15 ปี ท�ำให้เริ่มมีไอเดียว่าเราน่าจะท�ำทางด้านนี้ได้ ระหว่างที่ท�ำงานอยู่ก็เริ่มเปิด บริษัทของตัวเองช่วงปี 2010 ตอนนั้นมีคอมพิวเตอร์เพียง 1 ตัว ใช้ออกแบบ เขียนแบบ แรกๆ ที่ยัง ไม่มีเครื่องจักรก็ใช้วิธีการส่งให้ Supplier แต่หลังจากที่ท�ำได้ซักระยะหนึ่งจนพอได้ก�ำไรจึงลงทุนซื้อ เครื่องจักร Concept ของผมคือ จะไม่เอาเงินทุนมาลงเครื่องจักรเลยทีเดียว ต้องประเมินสถานการณ์ ก่อนว่าธุรกิจที่เราก�ำลังท�ำมีก�ำไรมากน้อยแค่ไหน ที่เราสามารถแบกรับภาระที่จะซื้อเครื่องจักรได้ หลัง จากที่ท�ำเข้าปีที่ 4-5 งานก็เริ่มเยอะจึงจ�ำเป็นที่จะต้องออกจากงานประจ�ำที่บริษัท จุดเด่นของศักดิ์ศิริ คือ การท�ำงานแบบ One Stop Service เรามั่นใจว่างานของลูกค้าสามารถจบ และส�ำเร็จได้ที่เราที่เดียว ด้วยประสบการณ์การท�ำงานท�ำให้เราค่อนข้างเห็นปัญหาของลูกค้าได้ชัดเจน เมื่อเราเห็นปัญหา และรู้ความต้องการของลูกค้าแล้ว เราจะเริ่มตั้งแต่ Concept Design หลังจากนั้น ก็จะส่งขั้นตอนการท�ำงาน และออกแบบเป็นตัวเครื่องจักรคร่าวๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์สามมิติเพื่อเสนอ ให้ลูกค้าดู ทั้งนี้งานของเราได้ผ่านการวิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยงโอกาสที่ลูกค้า ซึ่งเป็นผู้ผลิตชิ้น ส่วนยานยนต์จะจัดส่งชิ้นงานที่ไม่ได้คุณภาพหลุดไปถึงผู้ประกอบการยานยนต์ ปัญหาและอุปสรรคที่ประสบในการท�ำงาน ในส่วนของงาน Design เราจะไม่ค่อยพบปัญหาเท่าไหร่ คือ เราท�ำแบบเองเราสามารถ Control แบบ ได้ แต่ในส่วนของ Machine Parts เราต้องจ้าง Supplier ซึ่งบางครั้งเราไม่สามารถ Control Sup- plier ได้ เช่นถ้า Supplier เจ้านี้ท�ำไม่ได้เราก็ต้องเปลี่ยนเป็นเจ้าอื่น หรือพรุ่งนี้ลูกค้าต้องการได้งาน แต่ Supplier เค้าท�ำงานให้ไม่ได้ ซึ่ง Concept ของผมคือ ถ้าลูกค้าต้องการ ต้องได้ และต้องได้ของดี ด้วย ท�ำให้เราต้องยืนให้ได้ด้วยตัวเอง เราต้องมีเครื่องไม้เครื่องมือ เครื่องจักร และซอฟต์แวร์ที่ดีเพื่อ ช่วยในการท�ำงานปัญหาอีกอย่างก็คือ เมื่อเราออกแบบไฟล์งานสามมิติเสร็จ และจะไปผลิตชิ้นส่วน งานเอง เราไม่สามารถท�ำได้เลย ต้องไปคีย์ข้อมูลหน้าเครื่องในการป้อน X Y Z ซึ่งมันช้า เพราะในการ คีย์แต่ละครั้งเครื่องจะหยุดการท�ำงาน นั้นหมายถึงเราก�ำลังสูญเสียโอกาสที่จะได้รับก�ำไรจากการท�ำ ธุรกิจ แต่กับต้องเป็นการเพิ่มต้นทุนโดยไม่รู้ตัว แต่ส�ำหรับ SolidCAM หลังจากที่ออกแบบสามมิติเสร็จ พอเราเตรียมข้อมูล CAD/CAM เสร็จ เอาข้อมูลไปเสียบเข้าเครื่องก็สามารถด�ำเนินงานต่อเนื่องได้เลย Success Case : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ศักดิ์ศิริ เอ็นจิเนียริ่ง คุณสมศักดิ์ ชื่นอยู่ Engineering & Design Manager ท�ำความรู้จัก ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ศักดิ์ศิริ เอ็นจิเนียริ่ง ความรู้สึกที่มีต่อ SolidWorks และ SolidCAM เมื่อได้ใช้งาน ผมรู้จัก SolidWorks และ SolidCAM เพราะน้องที่ท�ำงานด้วยกันแนะน�ำมาครับ ผมเห็นว่าทาง AppliCAD มีซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการท�ำงานของผมได้ และมีหลักการเดียวกันคือ One Stop Service เลยสนใจ หลังจากที่ได้รับข้อมูลซอฟต์แวร์สามารถท�ำงานสืบเนื่องกันได้เป็นอย่างดี ช่วยให้ไม่ต้องเสีย เวลาในการท�ำงาน และเท่าที่ผมประเมินราคาเบื้องต้นก็ค่อนข้างคุ้มที่จะลงทุน ด้านการใช้งาน ผมซึ่ง เคยมีโอกาสได้ใช้โปรแกรม CAD ลักษณะนี้มาบ้าง ผมว่าก็ไม่ได้ยาก แต่พอได้ใช้ SolidWorks ซึ่งมี ยกระดับ SME พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย SolidCAM 13
  • 14. คุณศักดิ์สิทธิ์ อินทชัย Project Management Asst. Manager โอกาสเข้าไปเทรนมา 1 คอร์ส รู้สึกว่าใช้ง่ายกว่าโปรแกรมเดิมที่เคยใช้ สะดวก และไม่ยุ่งยากครับ ส�ำหรับ SolidCAM ถ้าเป็นงานแมทชีนนิ่งผมใช้เกือบ 100 % เพราะเราเขียนไฟล์สามมิติด้วย SolidWorks เสร็จแล้ว เค้าจะอยู่ หน้าจอเมนูเดียวกันก็สามารถใช้โปรแกรม SolidCAM ต่อได้เลย พอท�ำเสร็จ ก็ Copy ใส่ USB สามารถน�ำไปเสียบที่ตัวเครื่องจักรได้เลยทันที ในเรื่องจุด เด่นของ SolidCAM iMachining ที่ช่วยลดต้นทุนได้ 70 % ถามว่าใช้ได้จริง ไหม จากประสบการณ์ที่ผมใช้ท�ำงานมาก็จริงครับ ช่วยให้ท�ำงานเสร็จไวขึ้น ที่ส�ำคัญช่วยให้ผมสามารถท�ำใบเสนอราคาไปแข่งขันกับเจ้าอื่นๆ ได้ดี เพราะ บางเจ้ายังไม่สามารถผลิตงานเสร็จได้เร็วเท่า ช่วยให้ SME แบบผมสามารถ แข่งขันกับคู่แข่งได้ ช่วยให้ธุรกิจสามารถอยู่ได้ เนื่องด้วยในปัจจุบันเศรษฐกิจ ก็ไม่ค่อยดี ราคาขายในตลาดก็ต�่ำลง ต่างคนต่างลดราคา ถ้าเรามุ่งแต่จะลด ราคา แต่ไม่มีเครื่องมืออะไรที่จะเข้ามาช่วยลดความศูนย์เปล่า เราก็ไม่สามารถ แข่งขันในตลาดได้ เพราะไม่มีอะไรที่จะไปสู้กับเจ้าอื่นได้ ปัจจุบันงานผมเสร็จไว มาก เพราะมี SolidCAM iMachining เข้ามาช่วย ท�ำให้ผมสามารถรับงา นอื่นๆ เพิ่มได้อีก "โดยส่วนตัวไม่เคยใช้ CAM มาก่อนเลยครับ รู้จักแค่ว่าเป็นโปรแกรมที่ช่วยคีย์ G code ที่ได้มาเริ่มใช้ ก็เพราะบริษัทเปลี่ยนมาใช้ SolidCAM โดยเริ่มต้นศึกษาจากวีดีโอ และลองฝึกเล่นดู จากที่ไม่เป็นเลย ใช้เวลาแค่ประมาณ 2 สัปดาห์ก็สามารถเรียนรู้และใช้งานได้ (มีพื้นฐานเบสิคเขียนแบบ) เพราะโปรแกรม ใช้งานง่ายครับ เรียนรู้ได้ไว จากงานที่ยากๆ พอมีโปรแกรมนี้เข้ามาช่วยก็สามารถท�ำงานได้ง่ายขึ้น สิ่ง ที่เปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือ เวลาในการผลิตงานให้ลูกค้าเร็วขึ้น เราสามารถรับงานลูกค้าที่เป็นเคสยากๆ ได้ เมื่อก่อนเวลามีเคสยากๆ มาจะท�ำให้เราค่อนข้างเสียเวลาในการผลิตงานนานมาก" เหตุผลในการตัดสินใจลงทุน ผมมองว่านี่เป็นโอกาสที่จะช่วยให้ขายของได้ไวขึ้น ท�ำให้เพิ่มโอกาสที่ออเดอร์ จะเข้ามามากขึ้น ถ้าเราผลิตช้าเมื่อไหร่ถึงจะได้ออเดอร์ใหม่? เมื่อไหร่เราจะ Support ลูกค้าได้? หรือเมื่อมีงานที่ยาก มีความซับซ้อนมากขึ้น ถ้าเรายังใช้ ซอฟต์แวร์ที่ Non license ปัญหาที่เกิดที่มีความซับซ้อน ความยากเราไม่ สามารถท�ำให้จบได้ แต่เมื่อเรามาใช้ SolidWorks และ SolidCAM ปัญหาทุก อย่างก็จบ เพราะทาง AppliCAD จะมีทีมผู้เชี่ยวชาญเข้ามาช่วย Support ให้ความรู้ ช่วยแก้ไขปัญหา ซึ่งผมมองว่าเป็นความคุ้ม บางคนอาจจะมอง ว่าเป็นการลงทุนก้อนใหญ่ แต่เราลงทุนแค่ทีเดียวและเราสามารถใช้ได้ยาว ที่ ส�ำคัญเวลาไปหาลูกค้าเราสามารถบอกกับลูกค้าได้ว่าใช้ซอฟต์แวร์ License เป็นการเพิ่มความมั่นใจและความน่าเชื่อถือให้กับลูกค้าได้ด้วยครับ กับ AppliCAD ผมก็เพิ่งจะมีโอกาสได้เข้ามาเป็นคู่ค้าครั้งแรก ก็มีการน�ำซอฟต์แวร์ มาให้ทดลองใช้นานมากก่อนตัดสินใจซื้อ พอลองใช้แล้วเราก็รู้ว่าซอฟต์แวร์ ใช้ดี แต่ยังไม่สามารถซื้อได้ในทันที เพราะเราเป็น SME เล็กๆ ก�ำลังซื้อก็คงไม่ เท่ากับบริษัทใหญ่ๆ ที่สามารถตัดสินใจซื้อได้เลย ทาง AppliCAD ก็ให้ความ เข้าใจในสถานะของบริษัท ผมมองว่า AppliCAD มีน�้ำใจและให้โอกาสกับศักดิ์ ศิริมาก และหลังจากที่ซื้อแล้ว เวลาเราติดปัญหาอะไรก็คอยช่วยแก้ไข ให้ค�ำ แนะน�ำ และความช่วยเหลือตลอดครับ ยกระดับ SME พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย SolidCAM14
  • 15. การใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการท�ำงาน เมื่อก่อนเศรษฐกิจค่อนข้างดี งานจะเยอะ เวลาท�ำราคาขายเราจะไม่ได้สนใจ เรื่องต้นทุนมากนัก เพราะสามารถบวกก�ำไรได้เยอะ แต่ปัจจุบันเศรษฐกิจไม่ ค่อยดี คู่แข่งทางการตลาดเยอะมาก ทั้งตลาดเองต้องการสินค้าที่ผลิตได้ รวดเร็ว และต้องมีคุณภาพ ปัจจุบันนี้แค่ท�ำให้ลูกค้าพึงพอใจอย่างเดียวยัง ไม่พอ แต่ต้องให้ลูกค้ารู้สึกว่า “ท�ำได้อย่างไร? ท�ำไมเร็วขนาดนี้? ท�ำไมราคา ถูกขนาดนี้?” และสิ่งที่จะท�ำให้ทั้งหมดเหล่านี้เกิดขึ้นได้ก็คือ เราก็ต้องน�ำ เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ถ้าเรายังไปป้อนโปรแกรมหน้าเครื่องจะท�ำให้ใช้เวลานาน และเสียเวลามาก ถ้ายังเขียนแบบด้วยมือและส่งแบบไปพร้อมกับใบเสนอราคา ลูกค้าจะมองไม่เห็นภาพท�ำให้ใช้เวลาในการเสนอราคานานมาก ฉะนั้นถ้าไม่ใช้ เทคโนโลยีเราก็อาจจะไม่มีโอกาสในการได้รับออเดอร์ และอีกส่วนนึงหากเรา ใช้แค่ความช�ำนาญและประสบการณ์ของช่างหน้าเครื่องโดยไม่ผ่านโปรแกรม หากบุคลากรเก่งๆ จากไป ก็จะเกิดความเสียหายตามมา อาจจะต้องเพิ่ม คอร์สจ้างคนเก่งๆ หรืออาจจะต้องจ้างมากกว่า 1 คน เพื่อท�ำงานทดแทน และการใช้เทคโนโลยีในปัจจุบันก็ไม่ใช่เรื่องยาก สมัยก่อนช่างท�ำงานหน้าเครื่อง ก็ใช้ CAD / CAM ทั่วไป โดยที่เค้าท�ำงานทุกวันเหมือนเดิม แต่เค้าไม่ได้รับรู้ เทคโนโลยีใหม่ๆ แต่เมื่อเราได้มีโอกาสใช้ SolidWorks และ SolidCAM เอ็นจิเนียร์ที่ท�ำงานตรงนี้เขาไม่ได้เป็น CAM มาก่อนเลย แต่พอมีโอกาสได้ ลองใช้งาน เขาก็สามารถท�ำงาน CAM ได้เหมือนกับคนที่ท�ำงานมานาน ท�ำให้ รู้ว่าเทคโนโลยีมันไม่ยาก แถมช่วยให้การท�ำงานง่ายขึ้น เร็วขึ้น งานที่เราไม่ เคยท�ำ อย่างเช่น 3D อาจจะต้องใช้เวลา และคนมีประสบการณ์ท�ำ แต่ ซอฟต์แวร์สามารถช่วยย่นเวลาและประสบการณ์ได้จริงครับ แค่คลิกไม่กี่ครั้ง ก็สามารถท�ำให้งานที่เราต้องการออกมาได้ ฉะนั้นเราควรน�ำเทคโนโลยีเข้ามา ใช้ เพราะมันท�ำให้เรามีโอกาสส่งงานได้เร็ว ขายงานได้เร็ว มีโอกาสได้รับออ เดอร์เร็ว อันนี้ผมสัมผัสได้จากประสบการณ์ของตัวผมเอง เพราะผมเป็น เจ้าของกิจการที่ท�ำงานเองทุกขั้นตอนตั้งแต่งานระดับล่างถึงระดับบน เนื่องจากบริษัทของผมเล็ก ผมจะเห็นหมดทุกอย่างว่าอะไรดี ไม่ดีอย่างไร ใน การเป็นเจ้าของกิจการ หรือผู้บริหารหากเรารู้ทันซอฟต์แวร์ รู้ทันเทคโนโลยี เราก็จะสามารถท�ำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาของเราใช้มันได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ กับสิ่งที่เราได้ลงทุนไปแล้ว เรียบเรียง : กองบรรณาธิการ ยกระดับ SME พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย SolidCAM 15
  • 16. ในช่วงนี้หลายๆ บริษัทต่าง พยายามปรับกระบวนการในการท�ำงาน เพื่อรองรับเศรษฐกิจที่ยังซบเซา โจทย์ หนึ่งในนั้นก็คือ การลดต้นทุน และมี ปริมาณของเสียในการผลิตให้น้อย ที่สุด ท�ำให้โปรแกรมที่ใช้วิเคราะห์ความ เสียหายที่จะเกิดขึ้นก่อนการผลิตจริง เริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น และหลายๆ คนอาจจะยังเป็นมือใหม่ในการเริ่มใช้ โปรแกรมวิเคราะห์ชิ้นงาน ดังนั้นใน บทความชิ้นนี้จะขอกล่าวถึงพื้นฐานที่ ส�ำคัญมากๆ ในการวิเคราะห์ที่จะท�ำให้ สามารถสร้างสรรค์งานวิเคราะห์ได้อย่าง รวดเร็ว ทันใจมากยิ่งขึ้น แม้เทคโนโลยีในปัจจุ บันอย่างเช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ จะมีสเปคอลังการงาน สร้างเป็นอย่างมาก แต่ก็ยังไม่สามารถน�ำมาใช้ ประโยชน์ในการวิเคราะห์ได้เต็มประสิทธิภาพมาก นัก บางครั้งอาจเป็นที่โปรแกรมยังไม่ Support เต็มที่หรือถ้าจะใช้ได้เต็มที่ก็อาจจะต้องลงทุน หรือมีค่าใช้จ่ายสูงมาก ดังนั้นเทคนิคเก่าแก่ที่มา พร้อมกับงานวิเคราะห์ทุกยุคทุกสมัยที่มักจะ เรียกว่าการ Simplify จึงยังมีความส�ำคัญ อย่างยิ่งยวด ยิ่งสามารถท�ำการ Simplify ได้ ดีก็จะยิ่งท�ำให้ได้ผลลัพธ์รวดเร็วทันใจและได้ผล ใกล้เคียงกับความถูกต้องสูง พิจารณาชิ้นงานโดยรวมแล้ว อาจจะดูไม่เยอะ แต่ถ้าไม่ปรับลดชิ้นงาน หรือไม่ Simplify เลยคงต้องใช้เครื่องแรงมากๆ และใช้เวลาไม่น้อย โดยเฉพาะในส่วนของบันไดกับตัวคนที่ค่อนข้างมี รายละเอียดเยอะมาก ดังนั้นต้องปรับปรุง 2 ส่วนนี้ หน่วยการหาแรงที่เกิดจากลมมาปะทะที่ค่อนข้าง จะได้ผลดีที่สุด ก็คงไม่พ้นใช้ Flow Simulation มาช่วยด้วย ส่วนนี้การลงทุนอาจจะค่อนข้างสูง หน่อย แต่ก็มีวิธีการจัดการได้ระดับนึง ภาระโหลด : มีคนหนึ่งคนยืนอยู่บนบันได ส่วนอีก คนยืนอยู่บนเสาหลังแป้นบาส (ก�ำหนดน�้ำหนัก สูงสุดอยู่ที่ = 250 lbs.) มีลมมาปะทะวัดได้ที่ 10 mph นอกจากนี้ยังมีน�้ำหนักของแป้นบาส บันได รวมอยู่ด้วย ต้องการหา : การกระจายของ Stress ที่เกิดขึ้นกับ เสา จะท�ำให้เสาพังหรือไม่ กระบวนการวิเคราะห์ : ประเมินเบื้องต้นต้องใช้ Flow Simulation เพื่อหาขนาดของแรงที่มาปะทะ และใช้ Linear Static หาความเสียหายที่เกิดขึ้น บทความ: วสันต์ จันทร์หยวก ปิดจ๊อบงานวิเคราะห์ ได้อย่างเก๋ๆ ด้วยการ Simplify ชิ้นงาน ท�ำไมต้อง Simplify ? ช่วยท�ำให้ชีวิตของเราดีขึ้นได้ยังไง? • ลดขนาดของปัญหา • ท�ำเมชได้รวดเร็วขึ้น • ได้ผลลัพธ์อย่างไว • ลดปริมาณความยุ่งยาก • ใช้ทรัพยากรเครื่องน้อยลง • พบหนทางการปรับชิ้นงาน ในระยะเวลาอันสั้น • สามารถเน้นเฉพาะบริเวณที่สนใจได้ง่าย และเร็ว กรณีศึกษา วิเคราะห์การรับน�้ำหนักของเสาห่วงบาสเก็ตบอลกลางแจ้งพร้อมบันได ปิดจ๊อบ งานวิเคราะห์ได้อย่างเก๋ๆ ด้วยการ Simplify ชิ้นงาน16
  • 17. ขั้นตอนการวิเคราะห์ เฟสที่ 1 : Flow Analysis ตั้งสมมุติฐาน : เป็นการท�ำ Simplify เบื้องต้นนั่นเอง จัดเลยครับ • ตัดผลกระทบของลมที่มาปะทะบันไดและคนทั้งสองทิ้งไป ประเมินแล้ว น่าจะมีผลกระทบต่อการรับน�้ำหนักของเสาน้อยมาก ข้อดีคือลดการ วิเคราะห์ในเรื่องของ Flow ในส่วนนี้ออกไปท�ำให้ลดเวลาลงได้ อย่างมาก • จากข้อที่ 1 ท�ำคอนฟิกใน SOLIDWORKS โดยตัดคนและบันไดออก • วิเคราะห์แบบ External Flow ในคอนฟิกใหม่นี้เพื่อหาผลกระทบ ของลม • รูปฝั่งขวา Linear Static น�ำภาระแรงจากผลของลมที่ได้ในข้อ 3 มาใช้ • ได้ค่า Reaction Force ที่ฐานด้านล่างของเสามาดังรูป เฟสที่ 2 : เทคนิคแปลงผลจาก Flow มาเป็นแรงที่เราสามารถ ก�ำหนดได้เองใน Structural Simulation สมมุติว่าเราอยากน�ำค่าผลของลมไปใช้ต่อกับชิ้นงานอื่นที่มี รูปร่างดียวกันหรือไม่ต่างกันมาก เราสามารถท�ำตามขั้นตอนได้ดังนี้ครับ • Copy งานวิเคราะห์จากเฟสที่ 1 ลบแรงลมออกให้หมด • ใส่แรงเข้าไปโดยเลือกเป็น Point Load ที่จุด CG มีทิศทางตามแรงลม • วิเคราะห์และปรับค่าแรงในข้อ 2 ไปเรื่อย ๆ จนได้ค่า Reaction Force ที่ฐานด้านล่างของเสาตรงกันกับเฟสที่ 1 เฟสที่ 3 : Simplify ต่อ บันได : • แทนที่รูปทรงที่ซับซ้อนด้วยก้อนสี่เหลี่ยมตันๆ • ก�ำหนดวัสดุใหม่โดยใส่ค่าความหนาแน่น ให้โปรแกรมค�ำนวณน�้ำหนัก ออกมาแล้วมีน�้ำหนักเท่าบันไดจริง • สร้าง Static Study ใหม่ Copy แรงและจุดจับยึดจากเฟสที่ 2 เฟสที่ 4 : Simplify ต่อ คน : • ใส่แรง ป้อนค่าเท่าน�้ำหนักของคนโดยใช้ Distributed Mass • ก�ำหนดจุดข้างล่างของบันไดให้สามารถขยับได้ในแนวนอน เสมือน ว่ามีล้อ • จากการ Simplify เราจะเหลือชิ้นงานอย่างง่าย ตามรูป ซึ่งสามารถ วิเคราะห์ได้ง่ายและเร็วขึ้นมาก • จัดไป เริ่มวิเคราะห์ได้เลย สรุป เมื่อน�ำชิ้นงานมาเปรียบเทียบกันระหว่างชิ้นงานเริ่มต้นกับ ชิ้นงานที่ผ่านการ Simplify แล้วพบว่า บันไดของชิ้นงานเริ่มต้นมีรูปร่างที่ซับซ้อน ต่อการสร้างเมช ท�ำให้มีโอกาสวิเคราะห์ไม่ได้หรืออาจจะใช้เวลานานมาก รูปร่างของคนก็ เช่นเดียวกันสามารถลดรูปจนเหลือแค่แรงได้ เพราะไม่จ�ำเป็นต้องคิด Stress หรือการเสียรูปที่ตัวคน ตรงล้อด้านล่างสามารถทดแทนได้ด้วย การก�ำหนดจุดจับยึด ให้มีพฤติกรรมการเคลื่อนที่เหมือนกันกับล้อ ท�ำให้ สามารถตัดล้อทิ้งออกไปได้ การลดรูปด้วยการ Simplify แบบนี้หลายครั้ง อาจจะต้องใช้ประสบการณ์ หรือถ้าประสบการณ์ยังมีไม่มากก็สามารถ ลองท�ำเทียบกับผลทดสอบจริงก่อนก็ได้ เพื่อใช้อ้างอิงผลลัพธ์ที่ได้จาก Simplify ถึงจุดๆ หนึ่งก็จะสามารถประเมินได้ว่าต้อง Simplify ขนาดไหน ถึง บางชิ้นงานอาจจะได้ค่าผลลัพธ์ที่ไม่ตรงมากนัก แต่ก็ยังสามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ได้มาก และหลายๆ ครั้งดีกว่าการฝืนท�ำแบบเดิมๆ จนไม่ได้ข้อมูล หรือผลลัพธ์อะไรเลย มีโอกาสลองเลยนะครับ แล้วจะรู้ว่า งาน Simulation ไม่ได้ยากอย่างที่คิด Flow Analysis Stress Analysis ปิดจ๊อบ งานวิเคราะห์ได้อย่างเก๋ๆ ด้วยการ Simplify ชิ้นงาน 17
  • 18. เชื่อว่าหลายๆ ท่านในวงการอุตสาหกรรมคงจะเคยได้ยินค�ำว่า Rapid Prototyping กันมานานแล้ว แม้ว่าปัจจุบันนี้จะเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น 3D Printing หรือเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ กับกระแสที่เรียกว่าแรงดีไม่มีตกอยู่ทุกวันนี้ จริงๆ แล้วไม่ว่าจะชื่อไหนก็มาจากหลักการเดียวกันก็คือ Additive Manufacturing (AM) หรือการผลิตแบบเพิ่มเนื้อนั่นเอง และแตกต่างโดยสิ้นเชิงกับการผลิตแบบเดิมที่เราใช้กันโดยแพร่หลายซึ่งเรียกว่า Subtractive Manufacturing หรือการผลิตแบบตัดเนื้อออก ตัวอย่างเช่น เครื่องจักร CNC เป็นต้น หลายๆ ข้อจ�ำกัดที่กล่าวไปนั้น เป็นอุปสรรคต่อการท�ำงานใน อุตสาหกรรมในยุค 4.0 ที่เน้นการเชื่อมโยงข้อมูลแบบอัตโนมัติและเป็นระบบ ที่ใช้คนน้อยมากๆ เพราะเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่างๆ จะสามารถประสานงาน กันได้เองผ่าน Internet หรือที่เรียกกันว่า Internet of Thing (IOT) แล้วอะไรคือ Alternative Tooling หรือ Tooling ทางเลือกล่ะ จริงๆ แล้วความน่าสนใจก็คือ ต้องยอมรับว่าเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนในโลก ของการผลิตในแทบจะทุกจุด ใครมองเห็นโอกาสก่อนกัน และเห็นมุมที่จะ ใช้เทคโนโลยีได้มากกว่ากัน ซึ่งทุกๆ โอกาสที่ผู้ผลิตต่างมองหาคงหนีไม่พ้น ว่าจะท�ำอย่างไรถึงจะผลิตของได้คุณภาพดีขึ้น ราคาต้นทุนต่างๆ ลดลง เพื่อแข่งขันได้ และเวลาที่เร็วขึ้นในทุกๆ ขั้นตอนนั่นเอง โจทย์ใหญ่ตรงนี้ เกือบทุกครั้งเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเสมอ Design for Machining (เน้นผลิตง่าย แล้วมาประกอบ เข้าด้วยกัน) Design for Additive Manufacturing (AM) (ออกแบบได้ตรงวัตถุประสงค์และ ยังผลิตง่ายขึ้นด้วย) บทความ: สุชนม์ โพธิ์พริก 3D Printing Solution Dept. Alternative Tooling ทางเลือกใหม่ส�ำหรับการสร้าง Tooling เพื่อการผลิตในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ก่อนอื่นเราต้องเข้าใจความแตกต่างของกรรมวิธีการผลิตทั้ง 2 แบบ ก่อนนะครับ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากในการเลือกใช้ เพราะ แต่ละวิธีต่างมีจุดเด่นกันคนละด้าน และเราคงไม่สามารถปฏิเสธเทคโนโลยี เดิมได้ แล้วเทคโนโลยี Subtractive Manufacturing มีข้อจ�ำกัดอะไรใน การผลิตบ้างล่ะ - มีข้อจ�ำกัดเรื่องรูปทรง ความซับซ้อนของงาน เช่น ต้องไม่มี Undercut - มีของเสียในกระบวนการท�ำงานเยอะ - ไม่เอื้อต่อการผลิตจ�ำนวนน้อย เพราะราคาจะสูงมาก - มีความยุ่งยากในกระบวนการท�ำงานและมีขั้นตอนเยอะ - ต้องอาศัยทักษะและแรงงานของมนุษย์ในเกือบทุกขั้นตอนการท�ำงาน - ต้องจัดท�ำเอกสารข้อมูล เพื่อใช้ในการสั่งงาน กระจายงาน - บ่อยครั้งต้องมีการว่าจ้างผู้ผลิตภายนอก หรือ Outsource นับจากอดีตเมื่อเริ่มมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคแรกๆ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบันที่เราก�ำลังเผชิญความท้าทาย ครั้งใหม่ ในการเข้าสู่อุตสาหกรรมในยุค 4.0 (Industry 4.0) เทคโนโลยีการผลิตได้พัฒนาไปอย่างมาก จน เรียกได้ว่าก้าวล�้ำอนาคตเข้าไปทุกวัน และหนึ่งในเทคโนโลยีส�ำคัญที่ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมาก แน่นอนเราก�ำลัง พูดถึง 3D Printing นั่นเอง แล้วเราจะได้ประโยชน์จากการใช้งานเทคโนโลยีการพิมพ์แบบ 3 มิติ นี้ได้อย่างไร เจ้าสิ่งนี้จะช่วยเราได้น้อยแค่ไหนในโลกการผลิตยุคใหม่ ตามผมมาเลยครับ Alternative Toolingทางเลือกใหม่ส�ำหรับการสร้าง Tooling เพื่อการผลิตในยุคอุตสาหกรรม 4.0 18
  • 19. การสร้าง Tooling ทางเลือกใหม่ก็เพียงการดึงเอาจุดเด่นของ การผลิตแบบเพิ่มเนื้อมาใช้นั่นเอง ทั้งเรื่องของรูปทรงของงานที่เกือบจะ เรียกได้ว่าไม่มีข้อจ�ำกัด เราจึงจะได้เห็นรูปร่างหน้าตาที่เปลี่ยนไป แต่เปลี่ยน ไปในลักษณะของการออกแบบได้ตรงตามความต้องการใช้งานมากขึ้น งานประกอบก็น้อยลง ซึ่งหมายถึงค่า Error ต่างๆ ก็ลดลงไปด้วย ด้าน ของเสียในกระบวนการผลิตก็ลดลง เพราะไม่ต้องมีส่วนของเนื้อวัสดุที่ถูก ตัดออกไป ส่วนประโยชน์ด้านอื่นๆ เช่น ลดในส่วนของการท�ำแบบหรือ Drawing และงานเอกสาร งานจัดซื้อจัดจ้าง งานที่ใช้เครื่องจักรหลายๆ ตัวมาช่วยกันท�ำ Tooling จนถึงงาน Outsource ก็ลดลง เพราะเรา สามารถท�ำเองได้ด้วยเครื่อง 3D Printer เพียงเครื่องเดียว แถมยังใช้คน เพียงคนเดียวก็สามารถท�ำงานทั้งหมดนี้ได้อีกด้วย การผสมผสานที่ลงตัว อย่างที่ทราบว่าทั้ง 2 เทคโนโลยีต่างมีข้อดีกันคนละแบบ ในบางครั้ง เราก็สามารถท�ำงานแบบผสมผสานเข้าด้วยกันได้เลย เช่น บางจุดที่เรา ต้องการควมคุมค่า Accuracy ให้ได้ในระดับพรีซิชั่นสูงๆ ก็สามารถใช้การ กัดด้วยเครื่อง CNC เฉพาะจุดหรือบริเวณนั้นๆ ได้ รวมถึงการเจาะและ การต๊าปเกลียวต่างๆ นอกจากนั้นยังสามารถใช้การประกอบงานที่ผลิต จากเครื่อง 3D Printer เป็นชุดย่อยเข้ากับแผ่นฐานที่เป็นโครงสร้างหลัก ของ Jig & Fixture เพื่อให้งานแข็งแรงหรือส�ำหรับงานใหญ่ๆ ได้ ถึงบทนี้หวังว่าคุณผู้อ่านคงจะได้ความรู้และไอเดียในการน�ำเทคโนโลยี Additive Manufacturing (AM) มาใช้งานสร้าง Tooling เพื่อการผลิต ได้บ้างไม่มากก็น้อย ส�ำคัญคือ ไม่ได้เน้นการใช้แทนเทคโนโลยีเดิมได้ทั้งหมด แต่เป็นการเติมเต็มจุดด้อยและข้อจ�ำกัดเพื่อให้ได้งานที่ตอบโจทย์กับโลก อุตสาหกรรมยุคใหม่ ที่ต้องเร็ว ต้องแข่งขันด้านราคากับคู่แข่งได้ และยังตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาดอยู่เสมอ เพราะเทคโนโลยีเปลี่ยนเร็ว การ รู้จักและเรียนรู้แต่เนิ่นๆ ล้วนสร้างความได้เปรียบแก่เรานะครับ และบริษัทแอพพลิแคดก็พร้อมจะเดินไปข้างหน้ากับเพื่อนๆ ผู้ประกอบการทุกท่านเพื่อก้าว เข้าสู่โลกการผลิตของอุตสาหกรรมในยุค 4.0 ที่มีความสนุกและความท้าท้ายรอเราอยู่ ขอบพระคุณครับ ส�ำหรับเครื่อง 3D Printer ซึ่งเป็นหัวใจหลักของ Alternative Tooling นั้นบริษัท Stratasys ก็เป็นผู้บุกเบิกที่ส�ำคัญในการน�ำเอา เทคโนโลยี Additive Manufacturing (AM) นี้มาใช้ในงานสายการผลิต เพราะผลิตภัณฑ์ของบริษัทมีจุดเด่นในเรื่องคุณภาพงานและวัสดุที่ผลิต ด้วยเครื่อง 3D Printer ของ Stratasys มีให้เลือกใช้ตรงตามความ ต้องการของ Tooling ที่เราก�ำหนด นอกจากนี้ยังได้มีการเก็บรวบรวม ข้อมูลและ Case Study งานที่ได้ร่วมกันท�ำและเรื่องราวความส�ำเร็จจาก บริษัทชั้นน�ำทั่วโลกถึงประสิทธิภาพและประโยชน์ของ Alternative Tooling ซึ่งรวมถึงอุตสาหกรรมการผลิตของไทยเราด้วยเช่นกัน นอกจากความสามารถของ Alternative Tooling ที่กล่าวมา แล้วนั้น ด้วยเทคโนโลยีรูปแบบนี้ท�ำให้เหมาะที่จะรองรับความต้องการสั่ง ผลิตในลักษณะ Mass Customization ของอุตสาหกรรมในยุค 4.0 ที่ พฤติกรรมผู้บริโภคและโลกการผลิตเปลี่ยนไป เพราะมีต้นทุนการผลิตต่อ ชิ้นที่ต�่ำมาก และมีรอบการเปลี่ยนแบบได้บ่อยๆ ซึ่งตัว Tooling นั้นต้อง ปรับตามไปด้วย แล้วตอนนี้มีใครที่น�ำ Alternative Tooling ไปใช้งานบ้าง เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ส�ำหรับวงการผลิตแล้วนะครับ โดยเฉพาะในต่าง ประเทศเริ่มน�ำมาใช้กันสักระยะหนึ่งแล้ว และได้มีการปรับปรุงพัฒนากันมา อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เหมาะสมกับงานและกระบวนการผลิตในต่างละสาขา และแน่นอนว่ามีหลายๆ บริษัทในประเทศไทยของเราที่ได้น�ำเทคโนโลยีนี้เข้า มาช่วยงานด้วยเช่นกัน Alternative Tooling ทางเลือกใหม่ส�ำหรับการสร้าง Tooling เพื่อการผลิตในยุคอุตสาหกรรม 4.0 19