SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
Baixar para ler offline
ใบความรู้ที่ 4
เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า
เซตที่เท่ากัน (equal sets or identical sets)
จากบทนิยาม เซต A เท่ากับเซต B หมายความว่า เซต A และเซต B มีสมาชิกเหมือนกันทุก
ตัว และเซต A ไม่เท่ากับเซต B หมายความว่า มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต A ที่ไม่ใช่สมาชิกของ
เซต B หรือมีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต B ที่ไม่ใช้สมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย A  B
ตัวอย่างที่ 1 กาหนด A = {2, 3} , B = {x | x2
– 5x + 6 = 0}
จงแสดงว่าเซต A เท่ากับ เซต B
วิธีทา  A = {2, 3}
B = {x | x2
– 5x + 6 = 0}
 x2
– 5x + 6 = 0
(x – 2)(x – 3) = 0
x = 2 หรือ x = 3
 B = {2, 3}
ดังนั้น A = B
ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A = {1, 1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6} ,
C = {1, 2, 4, 5, 5, 6, 7, 6} จงหาว่ามีเซตใดบ้างที่เท่ากัน
วิธีทา A = {1, 1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6}
จะได้ A = B เพราะว่ามีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว
บทนิยาม
เซต A และเซต B เป็นเซตที่เท่ากันก็ต่อเมื่อ เซต A และเซต B มีสมาชิกเหมือนกัน
กล่าวคือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B และสมาชิกทุกตัวของเซต B เป็น
สมาชิกของเซต A ใช้สัญลักษณ์ A = B แทน เซต A เท่ากับเซต B
เซตเทียบเท่า
ให้นักเรียนพิจารณาเซตต่อไปนี้
A = {1, 2, 3, 4, 5}
B = {a, b, c, d, e}
จะได้ว่า n(A) = 5 และ n(B) = 5 แต่ A  B เราจะเรียกทั้งสองเซตว่า A เทียบเท่า B
ตัวอย่างที่ 3 กาหนด A = {1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6} ,
C = {1, 2, 4, 5, 5, 8} จงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทั้งสามเซต
วิธีทา
1) A = B
2) A เทียบเท่า B
3) C เทียบเท่า B
4) A เทียบเท่า C
ใบกิจกรรมที่ 4
เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า
คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ข้อใดเป็นเซตที่เท่ากัน หรือเซตเทียบเท่า
แล้วกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ข้อที่ เซตที่กาหนดให้
คาตอบ
เซตที่เท่ากัน เซตเทียบเท่า
1
A = {1, 2, 3, 4}
B = {2, 4, 5, 6}
2
C = {2, 4, 6, 8, 10, ...}
D = {x I+
| x เป็นจานวนคู่บวก}
3
J = {x  I | x2
< 1}
M = {x  I | 4 < x  5}
4
D = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 5}
E = {1, 2, 3, 4}
5
G = {x  I | 0 < x < 7}
F = {0, 1, 2, 3, 4, 5}
6 A = {x  I | 0 < x < 1}
B = {x  I | x เป็นจานวนคู่ และ 4 < x < 6}
7 A = {1, 2, 3}
B = {2, 3, 1}
8 G = {x | x2 - 4 = 0}
H = {2, -2}
9 C = {x | (x - 2)(x + 3) = 0}
D = {-2, 3}
10 A = {x | x2 - 7x + 12 = 0}
B = {3, 4}
เฉลยใบกิจกรรมที่ 4
เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า
คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ข้อใดเป็นเซตที่เท่ากัน หรือเซตเทียบเท่า
แล้วกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ข้อที่ เซตที่กาหนดให้
คาตอบ
เซตที่เท่ากัน เซตเทียบเท่า
1
A = {1, 2, 3, 4}
B = {2, 4, 5, 6}

2
C = {2, 4, 6, 8, 10, ...}
D = {x I+
| x เป็นจานวนคู่บวก}
 
3
J = {x  I | x2
< 1}
M = {x  I | 4 < x 5}

4
D = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 5}
E = {1, 2, 3, 4}
 
5
G = {x  I | 0 < x < 7}
F = {0, 1, 2, 3, 4, 5}

6 A = {x  I | 0 < x < 1}
B = {x  I | x เป็นจานวนคู่ และ 4 < x < 6}
 
7 A = {1, 2, 3}
B = {2, 3, 1}
 
8 G = {x | x2 - 4 = 0}
H = {2, -2}
 
9 C = {x | (x - 2)(x + 3) = 0}
D = {-2, 3}

10 A = {x | x2 - 7x + 12 = 0}
B = {3, 4}
 
แบบทดสอบย่อยที่ 4
เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 5 ข้อ (5 คะแนน)
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คาตอบ แล้วทาเครื่องหมาย x ลงใน
กระดาษคาตอบ
3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที
.................................................................................................................................................................
1. กาหนดให้ A = {1, 2, 3, 5}, B = {2, 4, 5, 7}, C = {2, 4, 6, 8, 10, ...} และ
D = {x I+
| x เป็นจานวนคู่บวก} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. A = B
ข. A = C
ค. C = D
ง. C เทียบเท่า A
2. กาหนดให้ A = {x I+
| 4  x  8} ,B = {5, 6, 7, 8} และ C = {xI+
| 4  x  8} แล้ว
1) A = B
2) A = C
3) B เทียบเท่า C
4) A เทียบเท่า B
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. ข้อ 1) และข้อ 2)
ข. ข้อ 1) และข้อ 3)
ค. ข้อ 2) และข้อ 3)
ง. ข้อ 1) และข้อ 4)
3. กาหนดให้ B = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “โครงการ”}
C = {xI+
| 1 x  5}
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
ก. B = C
ข. B เทียบเท่า C
ค. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข
ง. ไม่มีข้อใดถูก
4. กาหนดให้ A = {ห, น, อ, ง, ว, ง}
B = {xI+
| 4  x  5}
C = {x I+
| 3  x  4}
D = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “หนองแวง”}
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. B เทียบเท่า C
ข. A = D
ค. A เทียบเท่า D
ง. A เทียบเท่า B
5. กาหนดให้ 1) A = {xI+
| 3  x  8}
2) B = {x I| -3  x  4}
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
ก. A = B
ข. A  B
ค. A เทียบเท่า B
ง. ทั้งข้อ ข และข้อ ค
เฉลยแบบทดสอบย่อยที่ 4
เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า
ข้อ 1 ค
ข้อ 2 ง
ข้อ 3 ข
ข้อ 4 ง
ข้อ 5 ง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์Aon Narinchoti
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...Nattapon
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4jirat thipprasert
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 

Mais procurados (20)

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
ยูเนียน
ยูเนียนยูเนียน
ยูเนียน
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 

Semelhante a การเท่ากัน

ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซตAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2kroojaja
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46kruben2501
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันAon Narinchoti
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซตแบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซตชื่อ ขวัญ
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 

Semelhante a การเท่ากัน (20)

ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
 
ppset
ppsetppset
ppset
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
E-book
E-bookE-book
E-book
 
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซตแบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

Mais de Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Mais de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

การเท่ากัน

  • 1. ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า เซตที่เท่ากัน (equal sets or identical sets) จากบทนิยาม เซต A เท่ากับเซต B หมายความว่า เซต A และเซต B มีสมาชิกเหมือนกันทุก ตัว และเซต A ไม่เท่ากับเซต B หมายความว่า มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต A ที่ไม่ใช่สมาชิกของ เซต B หรือมีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต B ที่ไม่ใช้สมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย A  B ตัวอย่างที่ 1 กาหนด A = {2, 3} , B = {x | x2 – 5x + 6 = 0} จงแสดงว่าเซต A เท่ากับ เซต B วิธีทา  A = {2, 3} B = {x | x2 – 5x + 6 = 0}  x2 – 5x + 6 = 0 (x – 2)(x – 3) = 0 x = 2 หรือ x = 3  B = {2, 3} ดังนั้น A = B ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A = {1, 1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6} , C = {1, 2, 4, 5, 5, 6, 7, 6} จงหาว่ามีเซตใดบ้างที่เท่ากัน วิธีทา A = {1, 1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6} จะได้ A = B เพราะว่ามีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว บทนิยาม เซต A และเซต B เป็นเซตที่เท่ากันก็ต่อเมื่อ เซต A และเซต B มีสมาชิกเหมือนกัน กล่าวคือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B และสมาชิกทุกตัวของเซต B เป็น สมาชิกของเซต A ใช้สัญลักษณ์ A = B แทน เซต A เท่ากับเซต B
  • 2. เซตเทียบเท่า ให้นักเรียนพิจารณาเซตต่อไปนี้ A = {1, 2, 3, 4, 5} B = {a, b, c, d, e} จะได้ว่า n(A) = 5 และ n(B) = 5 แต่ A  B เราจะเรียกทั้งสองเซตว่า A เทียบเท่า B ตัวอย่างที่ 3 กาหนด A = {1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6} , C = {1, 2, 4, 5, 5, 8} จงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทั้งสามเซต วิธีทา 1) A = B 2) A เทียบเท่า B 3) C เทียบเท่า B 4) A เทียบเท่า C
  • 3. ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ข้อใดเป็นเซตที่เท่ากัน หรือเซตเทียบเท่า แล้วกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ข้อที่ เซตที่กาหนดให้ คาตอบ เซตที่เท่ากัน เซตเทียบเท่า 1 A = {1, 2, 3, 4} B = {2, 4, 5, 6} 2 C = {2, 4, 6, 8, 10, ...} D = {x I+ | x เป็นจานวนคู่บวก} 3 J = {x  I | x2 < 1} M = {x  I | 4 < x  5} 4 D = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 5} E = {1, 2, 3, 4} 5 G = {x  I | 0 < x < 7} F = {0, 1, 2, 3, 4, 5} 6 A = {x  I | 0 < x < 1} B = {x  I | x เป็นจานวนคู่ และ 4 < x < 6} 7 A = {1, 2, 3} B = {2, 3, 1} 8 G = {x | x2 - 4 = 0} H = {2, -2} 9 C = {x | (x - 2)(x + 3) = 0} D = {-2, 3} 10 A = {x | x2 - 7x + 12 = 0} B = {3, 4}
  • 4. เฉลยใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ข้อใดเป็นเซตที่เท่ากัน หรือเซตเทียบเท่า แล้วกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ข้อที่ เซตที่กาหนดให้ คาตอบ เซตที่เท่ากัน เซตเทียบเท่า 1 A = {1, 2, 3, 4} B = {2, 4, 5, 6}  2 C = {2, 4, 6, 8, 10, ...} D = {x I+ | x เป็นจานวนคู่บวก}   3 J = {x  I | x2 < 1} M = {x  I | 4 < x 5}  4 D = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 5} E = {1, 2, 3, 4}   5 G = {x  I | 0 < x < 7} F = {0, 1, 2, 3, 4, 5}  6 A = {x  I | 0 < x < 1} B = {x  I | x เป็นจานวนคู่ และ 4 < x < 6}   7 A = {1, 2, 3} B = {2, 3, 1}   8 G = {x | x2 - 4 = 0} H = {2, -2}   9 C = {x | (x - 2)(x + 3) = 0} D = {-2, 3}  10 A = {x | x2 - 7x + 12 = 0} B = {3, 4}  
  • 5. แบบทดสอบย่อยที่ 4 เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 5 ข้อ (5 คะแนน) 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คาตอบ แล้วทาเครื่องหมาย x ลงใน กระดาษคาตอบ 3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที ................................................................................................................................................................. 1. กาหนดให้ A = {1, 2, 3, 5}, B = {2, 4, 5, 7}, C = {2, 4, 6, 8, 10, ...} และ D = {x I+ | x เป็นจานวนคู่บวก} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง ก. A = B ข. A = C ค. C = D ง. C เทียบเท่า A 2. กาหนดให้ A = {x I+ | 4  x  8} ,B = {5, 6, 7, 8} และ C = {xI+ | 4  x  8} แล้ว 1) A = B 2) A = C 3) B เทียบเท่า C 4) A เทียบเท่า B ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง ก. ข้อ 1) และข้อ 2) ข. ข้อ 1) และข้อ 3) ค. ข้อ 2) และข้อ 3) ง. ข้อ 1) และข้อ 4) 3. กาหนดให้ B = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “โครงการ”} C = {xI+ | 1 x  5} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง ก. B = C ข. B เทียบเท่า C ค. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก
  • 6. 4. กาหนดให้ A = {ห, น, อ, ง, ว, ง} B = {xI+ | 4  x  5} C = {x I+ | 3  x  4} D = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “หนองแวง”} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง ก. B เทียบเท่า C ข. A = D ค. A เทียบเท่า D ง. A เทียบเท่า B 5. กาหนดให้ 1) A = {xI+ | 3  x  8} 2) B = {x I| -3  x  4} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง ก. A = B ข. A  B ค. A เทียบเท่า B ง. ทั้งข้อ ข และข้อ ค