SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 40
Baixar para ler offline
ตรรกศาสตร์ เบืองต้ น
                                                       ้

       ประพจน์
    หมายถึง ประโยคหรื อข้อความที่ใช้สาหรับบอกค่าความเป็ นจริ งหรื อเท็จเพียงอย่างใดอย่าง หนึ่ง ส่ วน
ประโยคหรื อข้อความที่ไม่สามารถบอกค่าความจริ งหรื อเป็ นเท็จได้จะไม่เรี ยกว่า ประพจน์
    ตัวอย่างของประโยคหรื อข้อความที่เป็ นประพจน์ เช่น
           ดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก
           สุ นขมี 4 ขา
               ั
           ประเทศไทยมีชายแดนติดกับประเทศอินเดีย
           เดือนมกราคมมี 30 วัน
    ตัวอย่างของประโยคหรื อข้อความที่ไม่เป็ นประพจน์ เช่น
           ห้ามเดินลัดสนาม
           กรุ ณาปิ ดไฟก่อนออกจากห้อง
           เธอกาลังจะไปไหน
           เขาเป็ นนักฟุตบอลทีมชาติไทย
           Y+5=8

           ประโยคเปิ ด
        คือ ประโยคหรื อข้อความที่มีค่าตัวแปรอยูในประโยค และยังไม่สามารถทราบค่าความจริ ง ถ้าทาการแทน
                                                 ่
ค่าตัวแปรนั้นด้วยค่าบางอย่าง จาทาให้ประโยคหรื อข้อความนั้นมีค่าออกมาเป็ นจริ งหื อเป็ นเท็จ ต้วอย่างของ
ประโยคเปิ ด เช่น
              เขาเป็ นนักฟุตบอลทีมชาติไทย ถ้าแทนเขาด้วยชื่อของนักฟุตบอลทีมชาติไทยประโยคนี้จะมีค่าเป็ น
จริ ง ถ้าแทนเข้าด้วยอื่นที่ไม่ใช่ชื่อนักฟุตบอลทีมชาติไทย ประโยคนี้จะมีค่าเป็ นเท็จ
              Y + 5 = 8 ถ้าแทนค่าของ Y ด้วย 3 ประโยคนี้ จะมีค่าออกมาเป็ นจริ ง ถ้าแทนค่าของ Y ด้วย ตัวเลข
อื่น ประโยคนี้จะมีค่าออกมาเป็ นเท็จ

   ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์
      ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ใช้สาหรับกรณี ที่ตองการเชื่อมประพจน์มาก ว่า 1 ประพจน์เข้าด้วยกัน เรี ยกว่า
                                               ้
ประพจน์เชิงประกอบ ส่ วนประพจน์ที่ไม่มีตวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ เรี ยกว่า ประพจน์เดี่ยว สัญลักษณ์ที่ใช้
                                         ั
สาหรับเป็ นตัวเขื่อมทางตรรกศาสตร์ มีดงต่อไปนี้
                                     ั
ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์                สั ญลักษณ์
                                  และ
                                  หรื อ
                                ถ้า...แล้ว
                                ก็ต่อเมื่อ
                                   ไม่                            ~

    ใน ทางตรรกศาสตร์ เพื่อความสะดวกสาหรับการศึกษาเกี่ยวกับการทางานของตัวเชื่ อม ทางตรรกศาสตร์
นิยมแทนแต่ละประพจน์ดวยตัวอักษร P,Q,R ... และใช้ T (True) และ F (False) แทนค่าของผลลัพธ์ที่ได้จาก
                          ้
ประพจน์เป็ นจริ งและเป็ นเท็จ ตามลาดับ
            ถ้า P แทนประพจน์ "ดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก" ค่าของความจริ งที่ได้จากประพจน์ P มี
ผลลัพธ์ออกมาเป็ นจริ ง แทนค่าความจริ งของประพจน์ P คือ T
            ถ้า Q แทนประพจน์ "เดือนมกราคมมี 30 วัน" ค่าของความจริ งที่ได้จากประพจน์ Q มีผลลัพธ์
ออกมาเป็ นเท็จ แทนค่าความจริ งของประพจน์ Q คือ F

                                          ข้ อความ                          สั ญลักษณ์
             ดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก และ เดือนมกราคม มี 30 วัน
             ดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก หรื อ เดือนมกราคม มี 30 วัน
             ถ้าดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก แล้ว เดือนมกราคม มี 30
             วัน
             ดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก ก็ต่อเมื่อ เดือนมกราคม มี 30
             วัน



     ค่ าความจริงของประพจน์
      ผลลัพธ์ที่ได้จากประพจน์เชิงประกอบที่ใช้ตวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ แต่ละชนิด จะมีผลลัพธ์ที่ต่างกัน
                                              ั
ออกไป การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ สามารถแสดงโดยใช้ตารางค่า ความจริ งสาหรับใช้
แสดงค่าความจริ งทั้งหมดที่สามารถเป็ นไปได้ โดยค่าความจริ งทั้งหมดที่สามารถเป็ นไปได้ที่เกิดจากประพจน์
เชิงประกอบมีค่า เท่ากับ เมื่อ n คือจานวนประพจน์เดี่ยวที่ประกอบอยูภายในประพจน์เชิงประกอบ เช่น
                                                                    ่
ประพจน์เชิงประกอบเกิดจากประพจน์เดี่ยวจานวน 2 ประพจน์ ค่าความจริ งทั้งหมดที่สามารถเป็ นไปได้ คือ 4
คา
ถ้าให้ P,Q คือ ประพจน์ และ T,F คือผลลัพธ์ของประพจน์ ที่เป็ นจริ งและเป็ นเท็จตามลาดับ ผลลัพธ์ที่ได้
จากการกระทาของตัวเชื่ อมทางตรรกศาสตร์ แต่ละชนิดได้ ดังนี้

       ค่ าความจริงทีได้ จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "และ"
                      ่
       ผลลัพธ์ของประพจน์เชิงประกอบทีได้จากการกระทาของตัวเชื่ อมทาง ตรรกศาสตร์ "และ" จะเป็ นจริ ง
เพียงกรณี เดี่ยว คือ เมื่อค่าความจริ งของประพจน์ท้ งสองที่นามากระทากันเป็ นจริ งทั้งคู่ ถ้ามีประพจน์ใดประพจน์
                                                   ั
หนึ่งเป็ นเท็จ ผลลัพธ์ที่ได้จะออกมาเป็ นเท็จทันที

                                  P                    Q                 P^Q
                                  F                    F                   F
                                  F                    T                   F
                                  T                    F                   F
                                  T                    T                   T
                          ตารางค่าความจริ งที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "และ"

 ค่ าความจริงทีได้ จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "หรือ"
                ่
        ผลลัพธ์ของประพจน์เชิงประกอบทีได้จากการกระทาของตัวเชื่อมทาง ตรรกศาสตร์ "หรื อ" จะเป็ นจริ ง
เมื่อค่าความจริ งของประพจน์ใดประพจน์หนึ่งเป็ นจริ ง ถ้าประพจน์ท้ งสองที่นามากระทากันเป็ นเท็จทั้งคู่
                                                                 ั
ผลลัพธ์ที่ได้จะออกมาเป็ นเท็จ

                                  P                    Q                 PvQ
                                  F                    F                   F
                                  F                    T                   T
                                  T                    F                   T
                                  T                    T                   T
                          ตารางค่าความจริ งที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "หรื อ"

     ค่ าความจริงทีได้ จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "ถ้ า....แล้ว"
                    ่
     ประพจน์เชิงประกอบทีได้จากการกระทาจองตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "ถ้า...แล้ว" จะเป็ นลักษณะของ
                                               ่ ั
ประพจน์ที่เป็ นเหตุเป็ นผลกัน โดยประพจน์ที่อยูถดจาก "ถ้า" จะเป็ นประพจน์ที่เป็ นเหตุ ส่ วนประพจน์ที่อยูถด่ ั
จาก "แล้ว" จะเป็ นประพจน์ที่เป็ นผล ผลลัพธ์ที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "ถ้า...แล้ว" จะเป็ นเท็จเมื่อ
ค่าความจริ งของประพจน์ท่ีเป็ นเหตุเป็ นจริ งและประพจน์ที่ เป็ นผลมีค่าเป็ นเท็จ นอกนั้นในกรณี อื่นผลลัพธ์เชิง
ประกอบทีได้จะมีค่าออกมาเป็ นจริ ง

                                  P                   Q
                                  F                    F                   T
                                  F                    T                   T
                                  T                    F                   F
                                  T                    T                   T
                             ตารางค่าความจริ งที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์
                                                  "ถ้า...แล้ว"

ค่ าความจริงทีได้ จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "ก็ต่อเมื่อ"
                  ่
         การกระทาของตัวเชื่ อมทางตรรกศาสตร์ "ก็ต่อเมื่อ" ผลลัพธ์ของประพจน์เชิงประกอบทีได้จะเป็ นจริ งเมื่อ
ค่าความจริ งของประพจน์ท้ ง สองที่นามากระทากันมีค่าความจริ งที่เหมือนกันคือ ค่าความจริ งของประพจน์เป็ น
                                    ั
จริ งทั้งคู่หรื อเป็ นเท็จทั้งคู่ ถ้าค่าความจริ งของประพจน์ท้ งสองที่นามากระทากันมีค่าต่างกัน ผลลัพธ์ที่ได้จะ
                                                              ั
ออกมาเป็ นเท็จ

                                  P                    Q
                                  F                    F                   T
                                  F                    T                    F
                                  T                    F                    F
                                  T                    T                   T
                             ตารางค่าความจริ งที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์
                                                  "ก็ต่อเมื่อ"

           นิเสธของประพจน์
      การทานิเสธของประพจน์หรื อการกระทาตัวดาเนิ นการ "ไม่" จะเป็ นการเปลี่ยนค่าความจริ งของประพจน์
นั้นให้เป็ นค่าที่ตรงข้าม คือ ถ้าค่าความจริ งของประพจน์น้ นเป็ นจริ ง การทานิเสธของประพจน์น้ นจะได้ผลลัพธ์
                                                          ั                                  ั
ออกมาเป็ นเท็จ ถ้าค่าความจริ งของประพจน์น้ นเป็ นเท็จ การทานิเสธของประพจน์น้ นจะได้ผลลัพธ์ออกมาเป็ น
                                               ั                                  ั
จริ ง
P                   Q                 ~P
                                  T                   F                 F
                                  F                   T                 T
                         ตารางค่าความจริ งที่ได้จากการกระทานิเสธของประพจน์

    ประพจน์ ทประกอบด้ วยหลายตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์
              ี่
      การหาค่าความจริ งของประพจน์ที่ประกอบด้วยหลายตัวเชื่อมทาง ตรรกศาสตร์ สามารถทาได้โดยใช้
ตารางค่าความจริ ง การบอกลาดับของการกระทาระหว่างประพจน์จาใช้วงเล็บในการบอกลาดับการทางาน ถ้ามี
นิเสธ ให้ทาในส่ วนของนิ เสธของประพจน์ก่อนเป็ นอันดับแรก ตัวอย่างของการหาค่าความจริ งของประพจน์ที่
ประกอบด้วยหลายตัวเชื่อมทาง ตรรกศาสตร์ แสดงได้ ดังนี้
      ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนตารางค่าความจริ งของ ~Q^R
                                                  ่
      จากตัวอย่างประพจน์น้ ี ปรกอบด้วย 2 ประพจน์ยอย ดังนี้ ค่าความจริ งที่สามารถเป็ นไปได้มีท้ งหมด 4
                                                                                               ั
กรณี สามารถเขียนเป็ นตารางค่าความจริ งได้ ดังนี้

                                  Q          R            ~Q        ~Q^R
                                  F          F            T             F
                                  F          T            T             T
                                  T          F            F             F
                                  T          T            F             F

       ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนตารางค่าความจริ งของ (~Q^R) v (R^~S)
                                                    ่
       จากตัวอย่างประพจน์น้ ี ปรกอบด้วย 3 ประพจน์ยอย คือ Q,R และ S ดังนั้นค่าความจริ งที่สามารถเป็ นไปได้
มีท้ งหมด 23 = 8 กรณี สามารถเขียนเป็ นตารางความจริ งได้ ดังนี้
     ั

          Q         R         S        ~R        Q^~S     ~S      R^~S       (A^~R) v (R^~S)
          F         F         F        T          F        T        F                F
          F         F         T        T          F        F        F                F
          F         T         F        F          F        T        T                T
          F         T         T        F          F        F        F                F
          T         F         F        T          T        T        F                T
T         F           T      T         T         F         F                T
           T         T           F      F         F         T         T                T
           T         T           T      F         F         F         F                F

ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนตารางค่าความจริ งของ (~Q^R)<-->(Q^R)
                                                 ่
     จากตัวอย่างประพจน์น้ ี ปรกอบด้วย 2 ประพจน์ยอย ดังนี้ ค่าความจริ งที่สามารถเป็ นไปได้มีท้ งหมด 4
                                                                                              ั
กรณี สามารถเขียนเป็ นตารางค่าความจริ งได้ ดังนี้

                 Q           R          ~Q       ~Q v R         Q^R       (~QvR)<-->(Q^R)
                 F           F          T             T          F                F
                 F           T          T             T          F                F
                 T           F           F            F          F                T
                 T           T           F            T          T                T

           การหาค่ าความจริงโดยไม่ ใช้ ตารามความจริง
        การหาค่าความจริ งของประพจน์เชิงประกอบ นอกจากหาค่าโดยใช้ตารางค่าความจริ งในการหาค่าความ
                                                                       ่
จริ ง ยังสามารถทาได้อีกวิธีหนึ่ง คือ การแทนค่าความจริ งของแต่ละประพจน์ยอยลงไป แล้วทาการพิจารณาการ
กระทาของตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ เพื่อนามาหาค่าความจริ งของประพจน์เชิงประกอบนนั้น

 ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าความจริ งของประพจน์ต่อไปนี้ คือ P^~Q เมื่อ
ประพจน์ P และ ประพจน์ Q มีค่าความจริ งเป็ นจริ งทั้งสองประพจน์
 ตัวอย่าง ที่ 2 จงหาค่าความจริ งของประพจน์ต่อไปนี้ คือ (P^~R)-->(R<--
                                      ่
>Q) เมื่อประพจน์ P และ ประพจน์ Q มีคาความจริ งเป็ นจริ งและประพจน์
R มีค่าความเป็ นจริ งเป็ นเท็จ

   ประพจน์ สัจนิรันดร์
      ประพจน์ที่เป็ นสัจนิรันดร์ คือ ประพจน์ที่ประกอบด้วยค่าความจริ งที่เป็ นจริ งในทุกกรณี ตัวอย่างเช่น
                                               ่
ประพจน์เชิงประกอบที่ประกอบด้วยประพจน์ยอย 2 ประพจน์ กรณี ที่สามารถเป็ นไปได้ คือ 4 กรณี โดยที่ทุก
กรณี จะให้ค่าความจริ งออกมาเป็ นจริ งทั้งหมด
ตัวอย่างที่ 1 จงทาการตรวจสอบว่าประพจน์ P-->(QvP) เป็ นสัจนิรันดร์ หรื อไม่

                            Q             P           QvP           P-->(QvP)
                            F             F            F                  T
                            F             T            T                  T
                            T             F            T                  T
                            T             T            T                  T
                                    ประพจน์ P -->(QvP) เป็ นสัจนิรันดร์

     ตัวอย่างที่ 2 จงทาการตรวจสอบว่าประพจน์ (P-->(QvR))v(Q<-->(P^R)) เป็ นสัจนิรันดร์ หรื อไม่

      P Q R QvR P-->(QvR)                  P^R      (Q<-->(P^R)      (P-->(QvR))v(Q<-->(P^R))
       F F F        F           T             F            T                      T
       F F T        T           T             F            T                      T
       F T F        T           T             F            F                      T
       F T T        T           T             F            F                      T
      T F T         F           F             F            T                      T
      T F F         T           T             T            F                      T
      T T T         T           T             F            F                      T
      T T T         T           T             T            T                      T
                          ประพจน์ (P-->(QvR))v(Q<-->(P^R)) เป็ นสัจนิรันดร์



   ประพจน์ ทสมมูลกัน
             ี่
     ประพจน์สองประพจน์มีความสมมูลกัน ก็ต่อเมื่อประพจน์ท้ งสองประกอบด้วยประพจน์ยอยที่เหมือนกัน
                                                         ั                     ่
และให้ค่าความ จริ งออกมาเหมือนกันในทุกกรณี ใช้สัญลักษณ์ แทนการสมมูลกัน
ตัวอย่างที่ 1 จงทาการตรวจสอบว่าประพจน์ P-->Q และ ~Q-->~P เป็ นประพจน์ที่สมมูลกันหรื อไม่

                          P        Q    P-->Q    ~P        ~Q ~Q-->~P
                          F        F        T     T         T        T
                          F        T        T     T         F        T
                          T        F        F     F         T        F
                          T        T        T     F         F        T
                          P-->Q และ ~Q-->~P เป็ นประพจน์ที่สมมูลกัน
                                            ่
                              หรื อเขียนได้วา P-->Q       ~Q-->~P

ตัวอย่างที่ 2 จงทาการตรวจสอบว่าประพจน ์์(P-->(QvR))v(Q<-->(P^R)) เป็ นสัจนิรันดร์ หรื อไม่

                      P        Q       P-->Q ~(P-->Q)           ~Q   P^~Q
                      F        F        T          F            T        F
                      F        T        T          F            F        F
                      T        F        F         T             T        T
                      T        T        T          F            F        F
                   ประพจน์ ~(P-->Q) และ P^~Q เป็ นประพจน์ที่สมมูลกัน
                                             ่
                               หรื อเขียนได้วา ~(P-->Q)     P^~Q
ตรรกศาสตร์ เบืองต้ น
              ้
จงสร้างตารางหาค่าความจริ งของประพจน์ต่อไปนี้
จงหาค่าความจริ งของประพจน์เชิงประกอบในแต่ละข้อ เมื่อกาหนดค่าความจริ งบางประพจน์ให้
่
จงหาค่าความจริ งประพจน์ยอยในแต่ละข้อ
จงตรวจสอบว่าประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้สมมูลกันหรื อไม่ โดยใช้ตารางค่าความจริ ง
่              ่
จงใช้รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกันอยูแล้ว ตรวจสอบดูวา ประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้สมมูลกันหรื อไม่




         ่
จงตรวจดูวาข้อความ ก. สมมูลกับข้อความ ข. หรื อไม่
จงตรวจสอบโดยใช้ตารางค่าความจริ งว่าประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เป็ นสัจนิรันดร์หรื อไม่




จงตรวจสอบโดยใช้วธีหาข้อขัดแย้งว่าประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เป็ นสัจนิรันดร์หรื อไม่
                ิ
จงตรวจสอบโดยใช้ความรู ้เรื่ องสมมูล ว่าประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เป็ นสัจนิรันดร์หรื อไม่
่
จงเขียนข้อความให้อยูในรู ปของสัญลักษณ์




จงเขียนข้อความแทนสัญลักษณ์ในแต่ละข้อ กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือ จานวนจริ ง
จงเขียนสัญลักษณ์แทนข้อความที่กาหนดให้ในแต่ละข้อ
จงหาค่าความจริ งของประพจน์ในแต่ละข้อ
่่
จงพิจารณาว่า ประพจน์แต่ละคูตอไปนี้ สมมูลกันหรื อไม่
จงหานิเสธในแต่ละข้อ
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
supphawan
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
suchinmam
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
กก กอล์ฟ
 

Mais procurados (20)

16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การวัดการกระจาย
การวัดการกระจายการวัดการกระจาย
การวัดการกระจาย
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 

Destaque

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
Aon Narinchoti
 
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Aon Narinchoti
 

Destaque (10)

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
Logic e
Logic eLogic e
Logic e
 
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
 
02
0202
02
 
Statistics 04
Statistics 04Statistics 04
Statistics 04
 
Set
SetSet
Set
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
6 statistic
6 statistic6 statistic
6 statistic
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 

Semelhante a ตรรกศาสตร์เบื้องต้น (12)

Logic
LogicLogic
Logic
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
Logic
LogicLogic
Logic
 
Logic game
Logic gameLogic game
Logic game
 
9789740329909
97897403299099789740329909
9789740329909
 
04 การเชื่อมประพจน์
04 การเชื่อมประพจน์04 การเชื่อมประพจน์
04 การเชื่อมประพจน์
 
Logic content
Logic contentLogic content
Logic content
 
Logic content
Logic contentLogic content
Logic content
 
การเชื่อมประพจน์
การเชื่อมประพจน์การเชื่อมประพจน์
การเชื่อมประพจน์
 
Logicc
LogiccLogicc
Logicc
 
Logic
LogicLogic
Logic
 

Mais de Aon Narinchoti

Mais de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

  • 1. ตรรกศาสตร์ เบืองต้ น ้ ประพจน์ หมายถึง ประโยคหรื อข้อความที่ใช้สาหรับบอกค่าความเป็ นจริ งหรื อเท็จเพียงอย่างใดอย่าง หนึ่ง ส่ วน ประโยคหรื อข้อความที่ไม่สามารถบอกค่าความจริ งหรื อเป็ นเท็จได้จะไม่เรี ยกว่า ประพจน์ ตัวอย่างของประโยคหรื อข้อความที่เป็ นประพจน์ เช่น ดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก สุ นขมี 4 ขา ั ประเทศไทยมีชายแดนติดกับประเทศอินเดีย เดือนมกราคมมี 30 วัน ตัวอย่างของประโยคหรื อข้อความที่ไม่เป็ นประพจน์ เช่น ห้ามเดินลัดสนาม กรุ ณาปิ ดไฟก่อนออกจากห้อง เธอกาลังจะไปไหน เขาเป็ นนักฟุตบอลทีมชาติไทย Y+5=8 ประโยคเปิ ด คือ ประโยคหรื อข้อความที่มีค่าตัวแปรอยูในประโยค และยังไม่สามารถทราบค่าความจริ ง ถ้าทาการแทน ่ ค่าตัวแปรนั้นด้วยค่าบางอย่าง จาทาให้ประโยคหรื อข้อความนั้นมีค่าออกมาเป็ นจริ งหื อเป็ นเท็จ ต้วอย่างของ ประโยคเปิ ด เช่น เขาเป็ นนักฟุตบอลทีมชาติไทย ถ้าแทนเขาด้วยชื่อของนักฟุตบอลทีมชาติไทยประโยคนี้จะมีค่าเป็ น จริ ง ถ้าแทนเข้าด้วยอื่นที่ไม่ใช่ชื่อนักฟุตบอลทีมชาติไทย ประโยคนี้จะมีค่าเป็ นเท็จ Y + 5 = 8 ถ้าแทนค่าของ Y ด้วย 3 ประโยคนี้ จะมีค่าออกมาเป็ นจริ ง ถ้าแทนค่าของ Y ด้วย ตัวเลข อื่น ประโยคนี้จะมีค่าออกมาเป็ นเท็จ ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ใช้สาหรับกรณี ที่ตองการเชื่อมประพจน์มาก ว่า 1 ประพจน์เข้าด้วยกัน เรี ยกว่า ้ ประพจน์เชิงประกอบ ส่ วนประพจน์ที่ไม่มีตวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ เรี ยกว่า ประพจน์เดี่ยว สัญลักษณ์ที่ใช้ ั สาหรับเป็ นตัวเขื่อมทางตรรกศาสตร์ มีดงต่อไปนี้ ั
  • 2. ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ สั ญลักษณ์ และ หรื อ ถ้า...แล้ว ก็ต่อเมื่อ ไม่ ~ ใน ทางตรรกศาสตร์ เพื่อความสะดวกสาหรับการศึกษาเกี่ยวกับการทางานของตัวเชื่ อม ทางตรรกศาสตร์ นิยมแทนแต่ละประพจน์ดวยตัวอักษร P,Q,R ... และใช้ T (True) และ F (False) แทนค่าของผลลัพธ์ที่ได้จาก ้ ประพจน์เป็ นจริ งและเป็ นเท็จ ตามลาดับ ถ้า P แทนประพจน์ "ดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก" ค่าของความจริ งที่ได้จากประพจน์ P มี ผลลัพธ์ออกมาเป็ นจริ ง แทนค่าความจริ งของประพจน์ P คือ T ถ้า Q แทนประพจน์ "เดือนมกราคมมี 30 วัน" ค่าของความจริ งที่ได้จากประพจน์ Q มีผลลัพธ์ ออกมาเป็ นเท็จ แทนค่าความจริ งของประพจน์ Q คือ F ข้ อความ สั ญลักษณ์ ดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก และ เดือนมกราคม มี 30 วัน ดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก หรื อ เดือนมกราคม มี 30 วัน ถ้าดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก แล้ว เดือนมกราคม มี 30 วัน ดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก ก็ต่อเมื่อ เดือนมกราคม มี 30 วัน ค่ าความจริงของประพจน์ ผลลัพธ์ที่ได้จากประพจน์เชิงประกอบที่ใช้ตวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ แต่ละชนิด จะมีผลลัพธ์ที่ต่างกัน ั ออกไป การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ สามารถแสดงโดยใช้ตารางค่า ความจริ งสาหรับใช้ แสดงค่าความจริ งทั้งหมดที่สามารถเป็ นไปได้ โดยค่าความจริ งทั้งหมดที่สามารถเป็ นไปได้ที่เกิดจากประพจน์ เชิงประกอบมีค่า เท่ากับ เมื่อ n คือจานวนประพจน์เดี่ยวที่ประกอบอยูภายในประพจน์เชิงประกอบ เช่น ่ ประพจน์เชิงประกอบเกิดจากประพจน์เดี่ยวจานวน 2 ประพจน์ ค่าความจริ งทั้งหมดที่สามารถเป็ นไปได้ คือ 4 คา
  • 3. ถ้าให้ P,Q คือ ประพจน์ และ T,F คือผลลัพธ์ของประพจน์ ที่เป็ นจริ งและเป็ นเท็จตามลาดับ ผลลัพธ์ที่ได้ จากการกระทาของตัวเชื่ อมทางตรรกศาสตร์ แต่ละชนิดได้ ดังนี้ ค่ าความจริงทีได้ จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "และ" ่ ผลลัพธ์ของประพจน์เชิงประกอบทีได้จากการกระทาของตัวเชื่ อมทาง ตรรกศาสตร์ "และ" จะเป็ นจริ ง เพียงกรณี เดี่ยว คือ เมื่อค่าความจริ งของประพจน์ท้ งสองที่นามากระทากันเป็ นจริ งทั้งคู่ ถ้ามีประพจน์ใดประพจน์ ั หนึ่งเป็ นเท็จ ผลลัพธ์ที่ได้จะออกมาเป็ นเท็จทันที P Q P^Q F F F F T F T F F T T T ตารางค่าความจริ งที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "และ" ค่ าความจริงทีได้ จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "หรือ" ่ ผลลัพธ์ของประพจน์เชิงประกอบทีได้จากการกระทาของตัวเชื่อมทาง ตรรกศาสตร์ "หรื อ" จะเป็ นจริ ง เมื่อค่าความจริ งของประพจน์ใดประพจน์หนึ่งเป็ นจริ ง ถ้าประพจน์ท้ งสองที่นามากระทากันเป็ นเท็จทั้งคู่ ั ผลลัพธ์ที่ได้จะออกมาเป็ นเท็จ P Q PvQ F F F F T T T F T T T T ตารางค่าความจริ งที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "หรื อ" ค่ าความจริงทีได้ จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "ถ้ า....แล้ว" ่ ประพจน์เชิงประกอบทีได้จากการกระทาจองตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "ถ้า...แล้ว" จะเป็ นลักษณะของ ่ ั ประพจน์ที่เป็ นเหตุเป็ นผลกัน โดยประพจน์ที่อยูถดจาก "ถ้า" จะเป็ นประพจน์ที่เป็ นเหตุ ส่ วนประพจน์ที่อยูถด่ ั จาก "แล้ว" จะเป็ นประพจน์ที่เป็ นผล ผลลัพธ์ที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "ถ้า...แล้ว" จะเป็ นเท็จเมื่อ
  • 4. ค่าความจริ งของประพจน์ท่ีเป็ นเหตุเป็ นจริ งและประพจน์ที่ เป็ นผลมีค่าเป็ นเท็จ นอกนั้นในกรณี อื่นผลลัพธ์เชิง ประกอบทีได้จะมีค่าออกมาเป็ นจริ ง P Q F F T F T T T F F T T T ตารางค่าความจริ งที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "ถ้า...แล้ว" ค่ าความจริงทีได้ จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "ก็ต่อเมื่อ" ่ การกระทาของตัวเชื่ อมทางตรรกศาสตร์ "ก็ต่อเมื่อ" ผลลัพธ์ของประพจน์เชิงประกอบทีได้จะเป็ นจริ งเมื่อ ค่าความจริ งของประพจน์ท้ ง สองที่นามากระทากันมีค่าความจริ งที่เหมือนกันคือ ค่าความจริ งของประพจน์เป็ น ั จริ งทั้งคู่หรื อเป็ นเท็จทั้งคู่ ถ้าค่าความจริ งของประพจน์ท้ งสองที่นามากระทากันมีค่าต่างกัน ผลลัพธ์ที่ได้จะ ั ออกมาเป็ นเท็จ P Q F F T F T F T F F T T T ตารางค่าความจริ งที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "ก็ต่อเมื่อ" นิเสธของประพจน์ การทานิเสธของประพจน์หรื อการกระทาตัวดาเนิ นการ "ไม่" จะเป็ นการเปลี่ยนค่าความจริ งของประพจน์ นั้นให้เป็ นค่าที่ตรงข้าม คือ ถ้าค่าความจริ งของประพจน์น้ นเป็ นจริ ง การทานิเสธของประพจน์น้ นจะได้ผลลัพธ์ ั ั ออกมาเป็ นเท็จ ถ้าค่าความจริ งของประพจน์น้ นเป็ นเท็จ การทานิเสธของประพจน์น้ นจะได้ผลลัพธ์ออกมาเป็ น ั ั จริ ง
  • 5. P Q ~P T F F F T T ตารางค่าความจริ งที่ได้จากการกระทานิเสธของประพจน์ ประพจน์ ทประกอบด้ วยหลายตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ ี่ การหาค่าความจริ งของประพจน์ที่ประกอบด้วยหลายตัวเชื่อมทาง ตรรกศาสตร์ สามารถทาได้โดยใช้ ตารางค่าความจริ ง การบอกลาดับของการกระทาระหว่างประพจน์จาใช้วงเล็บในการบอกลาดับการทางาน ถ้ามี นิเสธ ให้ทาในส่ วนของนิ เสธของประพจน์ก่อนเป็ นอันดับแรก ตัวอย่างของการหาค่าความจริ งของประพจน์ที่ ประกอบด้วยหลายตัวเชื่อมทาง ตรรกศาสตร์ แสดงได้ ดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนตารางค่าความจริ งของ ~Q^R ่ จากตัวอย่างประพจน์น้ ี ปรกอบด้วย 2 ประพจน์ยอย ดังนี้ ค่าความจริ งที่สามารถเป็ นไปได้มีท้ งหมด 4 ั กรณี สามารถเขียนเป็ นตารางค่าความจริ งได้ ดังนี้ Q R ~Q ~Q^R F F T F F T T T T F F F T T F F ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนตารางค่าความจริ งของ (~Q^R) v (R^~S) ่ จากตัวอย่างประพจน์น้ ี ปรกอบด้วย 3 ประพจน์ยอย คือ Q,R และ S ดังนั้นค่าความจริ งที่สามารถเป็ นไปได้ มีท้ งหมด 23 = 8 กรณี สามารถเขียนเป็ นตารางความจริ งได้ ดังนี้ ั Q R S ~R Q^~S ~S R^~S (A^~R) v (R^~S) F F F T F T F F F F T T F F F F F T F F F T T T F T T F F F F F T F F T T T F T
  • 6. T F T T T F F T T T F F F T T T T T T F F F F F ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนตารางค่าความจริ งของ (~Q^R)<-->(Q^R) ่ จากตัวอย่างประพจน์น้ ี ปรกอบด้วย 2 ประพจน์ยอย ดังนี้ ค่าความจริ งที่สามารถเป็ นไปได้มีท้ งหมด 4 ั กรณี สามารถเขียนเป็ นตารางค่าความจริ งได้ ดังนี้ Q R ~Q ~Q v R Q^R (~QvR)<-->(Q^R) F F T T F F F T T T F F T F F F F T T T F T T T การหาค่ าความจริงโดยไม่ ใช้ ตารามความจริง การหาค่าความจริ งของประพจน์เชิงประกอบ นอกจากหาค่าโดยใช้ตารางค่าความจริ งในการหาค่าความ ่ จริ ง ยังสามารถทาได้อีกวิธีหนึ่ง คือ การแทนค่าความจริ งของแต่ละประพจน์ยอยลงไป แล้วทาการพิจารณาการ กระทาของตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ เพื่อนามาหาค่าความจริ งของประพจน์เชิงประกอบนนั้น ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าความจริ งของประพจน์ต่อไปนี้ คือ P^~Q เมื่อ ประพจน์ P และ ประพจน์ Q มีค่าความจริ งเป็ นจริ งทั้งสองประพจน์ ตัวอย่าง ที่ 2 จงหาค่าความจริ งของประพจน์ต่อไปนี้ คือ (P^~R)-->(R<-- ่ >Q) เมื่อประพจน์ P และ ประพจน์ Q มีคาความจริ งเป็ นจริ งและประพจน์ R มีค่าความเป็ นจริ งเป็ นเท็จ ประพจน์ สัจนิรันดร์ ประพจน์ที่เป็ นสัจนิรันดร์ คือ ประพจน์ที่ประกอบด้วยค่าความจริ งที่เป็ นจริ งในทุกกรณี ตัวอย่างเช่น ่ ประพจน์เชิงประกอบที่ประกอบด้วยประพจน์ยอย 2 ประพจน์ กรณี ที่สามารถเป็ นไปได้ คือ 4 กรณี โดยที่ทุก กรณี จะให้ค่าความจริ งออกมาเป็ นจริ งทั้งหมด
  • 7. ตัวอย่างที่ 1 จงทาการตรวจสอบว่าประพจน์ P-->(QvP) เป็ นสัจนิรันดร์ หรื อไม่ Q P QvP P-->(QvP) F F F T F T T T T F T T T T T T ประพจน์ P -->(QvP) เป็ นสัจนิรันดร์ ตัวอย่างที่ 2 จงทาการตรวจสอบว่าประพจน์ (P-->(QvR))v(Q<-->(P^R)) เป็ นสัจนิรันดร์ หรื อไม่ P Q R QvR P-->(QvR) P^R (Q<-->(P^R) (P-->(QvR))v(Q<-->(P^R)) F F F F T F T T F F T T T F T T F T F T T F F T F T T T T F F T T F T F F F T T T F F T T T F T T T T T T F F T T T T T T T T T ประพจน์ (P-->(QvR))v(Q<-->(P^R)) เป็ นสัจนิรันดร์ ประพจน์ ทสมมูลกัน ี่ ประพจน์สองประพจน์มีความสมมูลกัน ก็ต่อเมื่อประพจน์ท้ งสองประกอบด้วยประพจน์ยอยที่เหมือนกัน ั ่ และให้ค่าความ จริ งออกมาเหมือนกันในทุกกรณี ใช้สัญลักษณ์ แทนการสมมูลกัน
  • 8. ตัวอย่างที่ 1 จงทาการตรวจสอบว่าประพจน์ P-->Q และ ~Q-->~P เป็ นประพจน์ที่สมมูลกันหรื อไม่ P Q P-->Q ~P ~Q ~Q-->~P F F T T T T F T T T F T T F F F T F T T T F F T P-->Q และ ~Q-->~P เป็ นประพจน์ที่สมมูลกัน ่ หรื อเขียนได้วา P-->Q ~Q-->~P ตัวอย่างที่ 2 จงทาการตรวจสอบว่าประพจน ์์(P-->(QvR))v(Q<-->(P^R)) เป็ นสัจนิรันดร์ หรื อไม่ P Q P-->Q ~(P-->Q) ~Q P^~Q F F T F T F F T T F F F T F F T T T T T T F F F ประพจน์ ~(P-->Q) และ P^~Q เป็ นประพจน์ที่สมมูลกัน ่ หรื อเขียนได้วา ~(P-->Q) P^~Q
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 20.
  • 22.
  • 23.
  • 25. ่ จงใช้รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกันอยูแล้ว ตรวจสอบดูวา ประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้สมมูลกันหรื อไม่ ่ จงตรวจดูวาข้อความ ก. สมมูลกับข้อความ ข. หรื อไม่
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29. จงตรวจสอบโดยใช้ตารางค่าความจริ งว่าประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เป็ นสัจนิรันดร์หรื อไม่ จงตรวจสอบโดยใช้วธีหาข้อขัดแย้งว่าประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เป็ นสัจนิรันดร์หรื อไม่ ิ
  • 30. จงตรวจสอบโดยใช้ความรู ้เรื่ องสมมูล ว่าประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เป็ นสัจนิรันดร์หรื อไม่
  • 31.
  • 34.
  • 36.
  • 37.