SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
46
วัดความสูงของต้นไม้ได้อย่างไรหนอ
? ? ? ? ? ?
*นักวิชาการ สาขาออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์ สสวท. E-mail : ppura@ipst.ac.th
ไพโรจน์ ปุรณวัฒนกุลชัย*
อาจารย์เคยเดินไปเที่ยวตามที่ราบธรรมชาติที่มีต้นไม้สูงใหญ่หรือเดินในสวนสาธารณะที่มีต้นไม้สูงบ้างมั้ย
เคยอยากรู้มั้ยว่า ต้นไม้ที่เราเห็นนั้น มีความสูงประมาณเท่าไร เราจะสามารถทราบได้อย่างไร หรือเราจะต้อง
โค่นต้นไม้ ลงมาวัดหรือต้องปีนขึ้นไปวัดความสูงหรือเปล่า เราคงไม่ต้องลงทุนทำถึงขนาดนั้น เป็นการขี่ช้างจับตั๊กแตน
แน่นอน
การวัดความสูงของต้นไม้จะไม่ใช่เรื่องยุ่งยากสำหรับอาจารย์ ถ้าหากรู้จักสื่ออุปกรณ์อย่างง่ายที่ชื่อว่า
ไคลโนมิเตอร์(Clinometer) เป็นสื่อใน โครงการ GLOBE (Global Learning and Observation to Benefit the
Environment) เป็นโครงการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมระดับนานาชาติที่สสวท. ดำเนินการร่วมกับประเทศอื่นๆ
ไคลโนมิเตอร์ สามารถใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนหลักสูตรใหม่ในวิชาวิทยาศาสตร์ระดับประถมในสาระ
ที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม หรือสอนในวิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมตอนปลายในสาระที่ 4 พีชคณิตในเรื่อง
ตรีโกนมิติก็ได้
วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต
1. แผ่นสเกลวัดค่ามุม 0 - 90 องศา ขนาด A4 1 แผ่น
(มีแบบให้ในเล่ม)
2. แผ่นตารางค่า Tangents ต่างๆ ขนาด A 4 1 แผ่น
(มีแบบให้ในเล่ม)
3. กระดาษแข็ง ขนาด A4 1 แผ่น
4. ถุงพลาสติก ขนาดใกล้เคียงขนาดกระดาษ A4 1 ถุง
5. หลอดดูดพลาสติกสีทึบแสง (หลอดกาแฟแบบยาว)1 หลอด
6. ด้ายสีเข้มตัดกับพื้นสีขาว (ในที่นี้ใช้สีแดง) 1 เส้น
7. เทปกาวใส 1 ม้วนเล็ก
8. แหวนเหล็ก 1 วง
9. กรรไกร 1 อัน
10. ไม้ปลายแหลมหรือปากกาลูกลื่นปลายแหลม 1 อัน หรือ แท่ง
ปีที่ 31 ฉบับที่ 121 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2545
47
วิธีผลิตอุปกรณ์
1. นำแผ่นตารางสเกลค่ามุม 0 - 90 องศา และแผ่น
ตาราง Tangents ประกบเข้ากับกระดาษแข็ง
โดยให้หัว อักษรแนวตั้งอยู่ด้านเดียวกัน หลังจากนั้น
สอดแผ่น ตารางและกระดาษแข็งใส่ในถุงพลาสติก
โดยใส่ด้าน จุดหมุนเข้าใน ถุงพลาสติกก่อน
สอดกระดาษที่ประกบแล้วใส่ถุงพลาสติก
2. พับขอบถุงและปากถุงให้พอดีกับขนาดกระดาษและ
ติดเทปกาวใสให้เรียบร้อย
หุ้มด้วยถุงพลาสติก
3. ใช้เหล็กเจาะกระดาษหรือไม้ปลายแหลมเจาะ
กระดาษที่ตำแหน่ง "ใส่ปมเชือกตรงนี้"
เจาะรูเพื่อร้อยจุดหมุน
4.ผูกด้ายเข้ากับแหวนเหล็กตัดความยาวด้าย
พอประมาณ สอดเชือกด้ายสีเข้มในรูที่เจาะโดยใช้
เหล็กเจาะหรือไม้เสียบช่วยดันด้วย
ผูกด้ายเข้ากับ
แหวนเหล็ก
สอดด้ายผ่านจุดหมุน
โดยใช้ไม้ปลายแหลม
ช่วยดัน
5. ปรับความยาวด้ายในการแกว่งให้พอเหมาะและ
ติดเทปกาวใสด้านหลังเพื่อยึดด้ายเข้ากับถุงพลาสติก
และติดหลอดดูดพลาสติกขนานกับแนวสันกระดาษ
ที่มีข้อความว่า "วางหลอดกาแฟตรงนี้"
ติดเทปเพื่อยึดเชือก
ที่ร้อยแหวน
ติดหลอดดูดพลาสติก
(หลอดกาแฟ)
วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
48
วิธีใช้ Clinometer วัดความสูงต้นไม้
1. ถือ Clinometer ด้วยมือข้างใดข้างหนึ่ง ปล่อยให้
แหวนเหล็กทิ้งตัวตามแนวดิ่ง ใช้สายตาส่องในรูของ
หลอดกาแฟไปยังยอดของต้นไม้ที่ต้องการ หลังจากนั้น
ใช้มืออีกข้างจับแหวนให้แนบกับแผ่นไว้ เพื่ออ่านค่ามุม
ที่วัดได้ พร้อมอ่านค่ามุมและค่าแทนเจนต์ (Tangents)
จากตารางด้านหลังไคลโนมิเตอร์
ส่องดูความสูง
ของต้นไม้
จับแหวน
เพื่ออ่านค่ามุม
2. จากจุดสังเกตเดินนับก้าว(เดินตามสบายๆ) ตรงไป
ยังโคนต้นไม้โดยนับก้าวเพื่อหาระยะทางจากจุดสังเกต
ไปยังโคนต้นไม้ ระยะทางคำนวณจากจำนวนก้าวที่
นับได้คูณกับค่าเฉลี่ยหนึ่งก้าวของแต่บุคคล เช่น สมมุติ
นับได้ 20 ก้าว ค่าเฉลี่ยหนึ่งก้าว เท่ากับ 0.50 เมตร
ดังนั้น ระยะทาง
ที่เดินเท่ากับ
20 x 0.50 = 10
เมตร
เดินก้าว
(แบบสบายๆ)
หยุดเดิน
เมื่อถึงโค่นต้นไม้
3. คำนวณค่าความสูงต้นไม้ตามตัวอย่างข้างล้างนี้
คำนวณค่าความสูง
ของต้นไม้
สมมุติอ่านค่ามุมที่อ่านได้ (q)เท่ากับ 29องศา
(ค่า qที่อ่านได้เป็นมุม qที่อ่านจากอุปกรณ์ที่มีค่าเท่ากับ
ค่า q จริง ซึ่งใช้หลักการและทฤษฎีทางคณิตศาสตร์
ในการพิสูจน์ได้) ค่า Tangent จากตาราง คือ 0.55
ระยะต้นไม้กับจุดสังเกต (ระยะ B) เท่ากับ 40 เมตร
ดังนั้นความสูงของต้นไม้(ระยะ A1) คือ 0.55 x 40 =
22.00เมตร แต่ความสูงของต้นไม้จริงคือระยะ A1+A2
โดยค่า A2 คือความสูงของ ผู้สังเกต สมมุติผู้สังเกตสูง
1.50 เมตร ดังนั้นความสูงของ ต้นไม้คือ 22.00+1.50
= 23.50 เมตร (ค่าโดยประมาณ)
4. บันทึกค่าความสูงที่ได้จากการคำนวณ หลังจากนั้นถ้า
ต้องการวัดต้นไม้ต้นอื่นอีกก็ทำตามวิธีเดียวกันนี้
ก็จะได้ความสูงของต้นไม้นั้นๆ มาแล้ว
เป็นยังไงบ้าง ไม่ยากเลยใช่มั้ยที่เราจะวัด
ความสูงของต้นไม้ได้ โดยในเล่มนี้เรามีแบบตารางค่ามุม
และตารางค่า Tangents แถมให้ในหนังสือด้วย
ถ้ามีข้อสงสัยหรืออยากทราบข้อมูลเพิ่มเติม
สามารถติดต่อได้ที่สาขาออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์โทร
0-2392-4021 ต่อ 2107 , 2109 www.ipst.ac.th/
design/index.html หรือที่ Email:srumr@ipst.ac.th
ปีที่ 31 ฉบับที่ 121 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2545
49
แผ่นต้นแบบในการสร้างเครื่องวัดความสูงของต้นไม้
○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○
วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
50
ตารางของ Tangents
ตัวอย่างสมมุตินักเรียนยืนที่ระยะ60mวัดยอดต้นไม้ได้มุม24จากตารางจะเห็นได้ว่าค่ามุมtangentของ240
คือ0.45
ดังนั้นความสูงของต้นไม้เป็น60mx0.45=27mโดยการเพิ่มความสูงของระดับตาของผู้สังเกตอีก1.5mความสูงของต้นไม้รวมเป็น28.5m
มุมค่ามุม
(Angle)Tan.
1.02
2.03
3.05
4.07
5.09
6.11
7.12
8.14
9.16
10.18
11.19
12.21
13.23
14.25
15.27
16.29
มุมค่ามุม
(Angle)Tan.
17.31
18.32
19.34
20.36
21.38
22.40
23.42
24.45
25.47
26.49
27.51
28.53
29.55
30.58
31.60
32.62
มุมค่ามุม
(Angle)Tan.
33.65
34.67
35.70
36.73
37.75
38.78
39.81
40.84
41.87
42.90
43.93
44.97
451.00
461.04
471.07
481.11
มุมค่ามุม
(Angle)Tan.
491.15
501.19
511.23
521.28
531.33
541.38
551.43
561.48
571.54
581.60
591.66
601.73
611.80
621.88
631.96
642.05
มุมค่ามุม
(Angle)Tan.
652.14
662.25
672.36
682.48
692.61
702.75
712.90
723.08
733.27
743.49
753.73
764.01
774.33
784.70
795.14
805.67
○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานnoeypornnutcha
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Araya Chiablaem
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)mickytanawin
 
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docbenjawankokonz
 
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกคู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกBally Achimar
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์guestf4034a
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบparwaritfast
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคMontra Songsee
 
คำสั่งงานวันเด็ก
คำสั่งงานวันเด็กคำสั่งงานวันเด็ก
คำสั่งงานวันเด็กAunrak Bunpasit
 

Mais procurados (20)

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
 
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
 
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกคู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
 
คำสั่งงานวันเด็ก
คำสั่งงานวันเด็กคำสั่งงานวันเด็ก
คำสั่งงานวันเด็ก
 

Mais de Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Mais de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 
History
HistoryHistory
History
 

Climometer

  • 1. วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 46 วัดความสูงของต้นไม้ได้อย่างไรหนอ ? ? ? ? ? ? *นักวิชาการ สาขาออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์ สสวท. E-mail : ppura@ipst.ac.th ไพโรจน์ ปุรณวัฒนกุลชัย* อาจารย์เคยเดินไปเที่ยวตามที่ราบธรรมชาติที่มีต้นไม้สูงใหญ่หรือเดินในสวนสาธารณะที่มีต้นไม้สูงบ้างมั้ย เคยอยากรู้มั้ยว่า ต้นไม้ที่เราเห็นนั้น มีความสูงประมาณเท่าไร เราจะสามารถทราบได้อย่างไร หรือเราจะต้อง โค่นต้นไม้ ลงมาวัดหรือต้องปีนขึ้นไปวัดความสูงหรือเปล่า เราคงไม่ต้องลงทุนทำถึงขนาดนั้น เป็นการขี่ช้างจับตั๊กแตน แน่นอน การวัดความสูงของต้นไม้จะไม่ใช่เรื่องยุ่งยากสำหรับอาจารย์ ถ้าหากรู้จักสื่ออุปกรณ์อย่างง่ายที่ชื่อว่า ไคลโนมิเตอร์(Clinometer) เป็นสื่อใน โครงการ GLOBE (Global Learning and Observation to Benefit the Environment) เป็นโครงการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมระดับนานาชาติที่สสวท. ดำเนินการร่วมกับประเทศอื่นๆ ไคลโนมิเตอร์ สามารถใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนหลักสูตรใหม่ในวิชาวิทยาศาสตร์ระดับประถมในสาระ ที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม หรือสอนในวิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมตอนปลายในสาระที่ 4 พีชคณิตในเรื่อง ตรีโกนมิติก็ได้ วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต 1. แผ่นสเกลวัดค่ามุม 0 - 90 องศา ขนาด A4 1 แผ่น (มีแบบให้ในเล่ม) 2. แผ่นตารางค่า Tangents ต่างๆ ขนาด A 4 1 แผ่น (มีแบบให้ในเล่ม) 3. กระดาษแข็ง ขนาด A4 1 แผ่น 4. ถุงพลาสติก ขนาดใกล้เคียงขนาดกระดาษ A4 1 ถุง 5. หลอดดูดพลาสติกสีทึบแสง (หลอดกาแฟแบบยาว)1 หลอด 6. ด้ายสีเข้มตัดกับพื้นสีขาว (ในที่นี้ใช้สีแดง) 1 เส้น 7. เทปกาวใส 1 ม้วนเล็ก 8. แหวนเหล็ก 1 วง 9. กรรไกร 1 อัน 10. ไม้ปลายแหลมหรือปากกาลูกลื่นปลายแหลม 1 อัน หรือ แท่ง
  • 2. ปีที่ 31 ฉบับที่ 121 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2545 47 วิธีผลิตอุปกรณ์ 1. นำแผ่นตารางสเกลค่ามุม 0 - 90 องศา และแผ่น ตาราง Tangents ประกบเข้ากับกระดาษแข็ง โดยให้หัว อักษรแนวตั้งอยู่ด้านเดียวกัน หลังจากนั้น สอดแผ่น ตารางและกระดาษแข็งใส่ในถุงพลาสติก โดยใส่ด้าน จุดหมุนเข้าใน ถุงพลาสติกก่อน สอดกระดาษที่ประกบแล้วใส่ถุงพลาสติก 2. พับขอบถุงและปากถุงให้พอดีกับขนาดกระดาษและ ติดเทปกาวใสให้เรียบร้อย หุ้มด้วยถุงพลาสติก 3. ใช้เหล็กเจาะกระดาษหรือไม้ปลายแหลมเจาะ กระดาษที่ตำแหน่ง "ใส่ปมเชือกตรงนี้" เจาะรูเพื่อร้อยจุดหมุน 4.ผูกด้ายเข้ากับแหวนเหล็กตัดความยาวด้าย พอประมาณ สอดเชือกด้ายสีเข้มในรูที่เจาะโดยใช้ เหล็กเจาะหรือไม้เสียบช่วยดันด้วย ผูกด้ายเข้ากับ แหวนเหล็ก สอดด้ายผ่านจุดหมุน โดยใช้ไม้ปลายแหลม ช่วยดัน 5. ปรับความยาวด้ายในการแกว่งให้พอเหมาะและ ติดเทปกาวใสด้านหลังเพื่อยึดด้ายเข้ากับถุงพลาสติก และติดหลอดดูดพลาสติกขนานกับแนวสันกระดาษ ที่มีข้อความว่า "วางหลอดกาแฟตรงนี้" ติดเทปเพื่อยึดเชือก ที่ร้อยแหวน ติดหลอดดูดพลาสติก (หลอดกาแฟ)
  • 3. วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 48 วิธีใช้ Clinometer วัดความสูงต้นไม้ 1. ถือ Clinometer ด้วยมือข้างใดข้างหนึ่ง ปล่อยให้ แหวนเหล็กทิ้งตัวตามแนวดิ่ง ใช้สายตาส่องในรูของ หลอดกาแฟไปยังยอดของต้นไม้ที่ต้องการ หลังจากนั้น ใช้มืออีกข้างจับแหวนให้แนบกับแผ่นไว้ เพื่ออ่านค่ามุม ที่วัดได้ พร้อมอ่านค่ามุมและค่าแทนเจนต์ (Tangents) จากตารางด้านหลังไคลโนมิเตอร์ ส่องดูความสูง ของต้นไม้ จับแหวน เพื่ออ่านค่ามุม 2. จากจุดสังเกตเดินนับก้าว(เดินตามสบายๆ) ตรงไป ยังโคนต้นไม้โดยนับก้าวเพื่อหาระยะทางจากจุดสังเกต ไปยังโคนต้นไม้ ระยะทางคำนวณจากจำนวนก้าวที่ นับได้คูณกับค่าเฉลี่ยหนึ่งก้าวของแต่บุคคล เช่น สมมุติ นับได้ 20 ก้าว ค่าเฉลี่ยหนึ่งก้าว เท่ากับ 0.50 เมตร ดังนั้น ระยะทาง ที่เดินเท่ากับ 20 x 0.50 = 10 เมตร เดินก้าว (แบบสบายๆ) หยุดเดิน เมื่อถึงโค่นต้นไม้ 3. คำนวณค่าความสูงต้นไม้ตามตัวอย่างข้างล้างนี้ คำนวณค่าความสูง ของต้นไม้ สมมุติอ่านค่ามุมที่อ่านได้ (q)เท่ากับ 29องศา (ค่า qที่อ่านได้เป็นมุม qที่อ่านจากอุปกรณ์ที่มีค่าเท่ากับ ค่า q จริง ซึ่งใช้หลักการและทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ ในการพิสูจน์ได้) ค่า Tangent จากตาราง คือ 0.55 ระยะต้นไม้กับจุดสังเกต (ระยะ B) เท่ากับ 40 เมตร ดังนั้นความสูงของต้นไม้(ระยะ A1) คือ 0.55 x 40 = 22.00เมตร แต่ความสูงของต้นไม้จริงคือระยะ A1+A2 โดยค่า A2 คือความสูงของ ผู้สังเกต สมมุติผู้สังเกตสูง 1.50 เมตร ดังนั้นความสูงของ ต้นไม้คือ 22.00+1.50 = 23.50 เมตร (ค่าโดยประมาณ) 4. บันทึกค่าความสูงที่ได้จากการคำนวณ หลังจากนั้นถ้า ต้องการวัดต้นไม้ต้นอื่นอีกก็ทำตามวิธีเดียวกันนี้ ก็จะได้ความสูงของต้นไม้นั้นๆ มาแล้ว เป็นยังไงบ้าง ไม่ยากเลยใช่มั้ยที่เราจะวัด ความสูงของต้นไม้ได้ โดยในเล่มนี้เรามีแบบตารางค่ามุม และตารางค่า Tangents แถมให้ในหนังสือด้วย ถ้ามีข้อสงสัยหรืออยากทราบข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่สาขาออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์โทร 0-2392-4021 ต่อ 2107 , 2109 www.ipst.ac.th/ design/index.html หรือที่ Email:srumr@ipst.ac.th
  • 4. ปีที่ 31 ฉบับที่ 121 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2545 49 แผ่นต้นแบบในการสร้างเครื่องวัดความสูงของต้นไม้ ○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○
  • 5. วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 50 ตารางของ Tangents ตัวอย่างสมมุตินักเรียนยืนที่ระยะ60mวัดยอดต้นไม้ได้มุม24จากตารางจะเห็นได้ว่าค่ามุมtangentของ240 คือ0.45 ดังนั้นความสูงของต้นไม้เป็น60mx0.45=27mโดยการเพิ่มความสูงของระดับตาของผู้สังเกตอีก1.5mความสูงของต้นไม้รวมเป็น28.5m มุมค่ามุม (Angle)Tan. 1.02 2.03 3.05 4.07 5.09 6.11 7.12 8.14 9.16 10.18 11.19 12.21 13.23 14.25 15.27 16.29 มุมค่ามุม (Angle)Tan. 17.31 18.32 19.34 20.36 21.38 22.40 23.42 24.45 25.47 26.49 27.51 28.53 29.55 30.58 31.60 32.62 มุมค่ามุม (Angle)Tan. 33.65 34.67 35.70 36.73 37.75 38.78 39.81 40.84 41.87 42.90 43.93 44.97 451.00 461.04 471.07 481.11 มุมค่ามุม (Angle)Tan. 491.15 501.19 511.23 521.28 531.33 541.38 551.43 561.48 571.54 581.60 591.66 601.73 611.80 621.88 631.96 642.05 มุมค่ามุม (Angle)Tan. 652.14 662.25 672.36 682.48 692.61 702.75 712.90 723.08 733.27 743.49 753.73 764.01 774.33 784.70 795.14 805.67 ○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○