SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
             การแก้ปัญหาการบวก การลบ จานวนเต็ม
             โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี
                     ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/3
                 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2555




                   นริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ




โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด
        สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
         สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                     กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน


ชื่อเรื่องการวิจัย
           การแก้ปัญหาการบวก การลบ จานวนเต็ม โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี
ชื่ อผู้วจัย นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ ตาแหน่ ง ครู คศ.2 โรงเรียน จตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
         ิ
อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
ลักษณะปัญหา
ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในรายวิชาคณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน รหัสวิชา ค31102
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน จากการเรี ยนการแก้สมการ
                                                                            ั
เชิงเส้นตัวแปรเดียว และสมการกาลังสองตัวแปรเดียว พบว่า นักเรี ยนมีปัญหาเกี่ยวกับการบวกและ
การลบจานวนเต็ม คือ คาตอบของนักเรี ยนถูกต้องค่อนข้างน้อย จากการสังเกตและสอบถามนักเรี ยน
ก็พบว่านักเรี ยนยังไม่เข้าใจรู ปแบบวิธีการตามข้อตกลง
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
        เพื่อแก้ปัญหาการบวก การลบ จานวนเต็มให้นกเรี ยนมีทกษะการบวก การลบ จานวนเต็ม
                                               ั         ั
นาไปใช้ในการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และสมการกาลังสองตัวแปรเดียว
เทคนิคทีใช้ ในการแก้ปัญหา
        ่
           ใช้รูปแบบโมเดลการดาเนินการทางคณิ ตโดยกาหนดให้ใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้
                     แทนจานวนเต็มบวก แทนจานวนเต็มลบ
         ข้ อตกลงเบืองต้ น
                    ้
               1. ถ้าสัญลักษณ์     มีค่าแทนด้วย 1 และในกรณี ท่ีมีสัญลักษณ์เหมือนกัน
ให้นาค่ามาร่ วมกัน
               2. ถ้าสัญลักษณ์ มีค่าแทนด้วย -1 และในกรณี ท่ีมีสัญลักษณ์เหมือนกัน
ให้นาค่ามาร่ วมกัน
               3. ถ้าสัญลักษณ์ต่างสี กนจับคู่กนแต่ละคู่ให้มีค่าเป็ น 0
                                      ั       ั
การใช้งานดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของ 6 + (-3)




ตามข้อตกลงที่ 3 วงกลมต่างสี กนเราจะจับคู่กน แล้วมีค่าเป็ น 0 ดังนั้น
                             ั            ั




เมื่อจับคู่กนแล้วจะเหลือวงกลมสี เขียว 3 รู ป ดังนั้น 6 + (-3) มีผลลัพธ์เป็ น 3
            ั
หรื อ 6 + (-3) = 3

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวกของ 1 + (-4)



ตามข้อตกลงที่ 3 วงกลมต่างสี กนเราจะจับคู่กน แล้วมีค่าเป็ น 0 ดังนั้น
                             ั            ั




เมื่อจับคู่กนแล้วจะเหลือวงกลมสี แสด 3 รู ป ดังนั้น 1 + (-4) มีผลลัพธ์เป็ น -3
            ั
หรื อ 1 + (-4) = -3


ช่ วงเวลาในการแก้ปัญหา
ดาเนินการระหว่างวันที่ 17 ธันวาคม 2555 ถึงวันที่ 21 ธันวาคม 2555
วิธีการวิจัย
        1. ให้นกเรี ยนศึกษารู ปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี และข้อตกลงในการใช้รูปแบบ
               ั
โมเดลความสัมพันธ์ของสี
          2. ให้นกเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะจานวน 2 ชุด ได้แก่ แบบฝึ กทักษะที่ 1
                 ั
เรื่ อง การบวกจานวนเต็ม และแบบฝึ กทักษะที่ 2 เรื่ องการลบจานวนเต็ม
3. วิธีรวบรวมข้อมูล หลังจากที่ครู            ให้นกเรี ยนฝึ กทักษะการบวก และการลบจานวนเต็ม
                                                 ั
ในแบบฝึ กทักษะ โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี แล้วตรวจให้คะแนน โดยกาหนดเกณฑ์
ดังนี้
          ร้อยละ 80 ขึ้นไป หมายถึง ดีมาก
          ร้อยละ 70       – 79 หมายถึง ดี
          ร้อยละ 60-69 หมายถึง ปานกลาง
          ร้อยละ 50       – 59 หมายถึง พอใช้
          ต่ากว่าร้อยละ 50 หมายถึง ปรับปรุ ง
4.              วิธีวเิ คราะห์ขอมูล นาแบบฝึ กทักษะของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/3 จานวน 40 คน
                               ้
มาตรวจสอบทักษะการบวกและการลบของนักเรี ยน
5              . ผลการวิเคราะห์ขอมูล นาแบบฝึ กหัดทักษะของนักเรี ยนมาจาแนก แล้วคิดเป็ นร้อยละได้
                                ้
ดังนี้
                นักเรี ยนจานวน 3 คน       ได้ระดับ ปรับปรุ ง           คิดเป็ นร้อยละ 7.50
                นักเรี ยนจานวน 7 คน       ได้ระดับ พอใช้               คิดเป็ นร้อยละ 17.75
          นักเรี ยนจานวน 8 คน ได้ระดับ ปานกลาง คิดเป็ นร้อยละ 20
                นักเรี ยนจานวน 10 คน ได้ระดับ ดี                       คิดเป็ นร้อยละ 25
                นักเรี ยนจานวน 12 คน ได้ระดับ ดีเยียม
                                                   ่                   คิดเป็ นร้อยละ 30
ข้ อสั งเกตหรือข้ อเสนอแนะ
        1 . จากการตรวจแบบฝึ กทักษะการบวกและการลบจานวนเต็ม พบว่าการใช้รูปแบบโมเดล
ความสัมพันธ์ของสี ทาให้นกเรี ยนมีทกษะการบวก การลบดีข้ ึนมากกว่าเดิม และสามารถทาได้รวดเร็ ว
                        ั         ั
ถูกต้อง
         2. จากการใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี ในช่วงการเรี ยนจะทาให้ชาบ้าง
                                                                         ้
เมื่อนักเรี ยนเกิดความชานาญจะทาให้การเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพและเกิดผลดีแก่นกเรี ยน
                                                                               ั
                                 ่
         3. สาหรับนักเรี ยนที่อยูในระดับพอใช้และปรับปรุ งความให้นกเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะ
                                                                 ั
อีก 3-5 ชุด เพื่อให้นกเรี ยนเกิดความชานาญในการบวก การลบจานวนเต็มแล้วทาการประเมิน
                     ั
ทักษะการบวก การลบจานวนเต็มอีกครั้ง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1Nattarinthon Soysuwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555wongsrida
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับหน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับguychaipk
 
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาการวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาRatchaphak Wongphanatsak
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)Aon Narinchoti
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAon Narinchoti
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1guychaipk
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 

Mais procurados (20)

Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
 
Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับหน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
 
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาการวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
 
Ex
ExEx
Ex
 
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 

Destaque

บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
แผ่นพับกลุ่่มสาระ
แผ่นพับกลุ่่มสาระแผ่นพับกลุ่่มสาระ
แผ่นพับกลุ่่มสาระAon Narinchoti
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทยKru Poy
 
Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality Ferin Bell
 

Destaque (6)

บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
แผ่นพับกลุ่่มสาระ
แผ่นพับกลุ่่มสาระแผ่นพับกลุ่่มสาระ
แผ่นพับกลุ่่มสาระ
 
Onet52 55 m3
Onet52 55 m3Onet52 55 m3
Onet52 55 m3
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทย
 
P7
P7P7
P7
 
Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality
 

Semelhante a Ar

ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วนชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วนmakotosuwan
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docคณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docamppbbird
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6ครู กรุณา
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละApirak Potpipit
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้คู่มือการใช้
คู่มือการใช้Noir Black
 

Semelhante a Ar (20)

ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วนชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docคณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
 

Mais de Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Mais de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Ar

  • 1. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน การแก้ปัญหาการบวก การลบ จานวนเต็ม โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/3 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 นริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ชื่อเรื่องการวิจัย การแก้ปัญหาการบวก การลบ จานวนเต็ม โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี ชื่ อผู้วจัย นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ ตาแหน่ ง ครู คศ.2 โรงเรียน จตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก ิ อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ลักษณะปัญหา ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในรายวิชาคณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน รหัสวิชา ค31102 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน จากการเรี ยนการแก้สมการ ั เชิงเส้นตัวแปรเดียว และสมการกาลังสองตัวแปรเดียว พบว่า นักเรี ยนมีปัญหาเกี่ยวกับการบวกและ การลบจานวนเต็ม คือ คาตอบของนักเรี ยนถูกต้องค่อนข้างน้อย จากการสังเกตและสอบถามนักเรี ยน ก็พบว่านักเรี ยนยังไม่เข้าใจรู ปแบบวิธีการตามข้อตกลง วัตถุประสงค์ ของการวิจัย เพื่อแก้ปัญหาการบวก การลบ จานวนเต็มให้นกเรี ยนมีทกษะการบวก การลบ จานวนเต็ม ั ั นาไปใช้ในการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และสมการกาลังสองตัวแปรเดียว เทคนิคทีใช้ ในการแก้ปัญหา ่ ใช้รูปแบบโมเดลการดาเนินการทางคณิ ตโดยกาหนดให้ใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้ แทนจานวนเต็มบวก แทนจานวนเต็มลบ ข้ อตกลงเบืองต้ น ้ 1. ถ้าสัญลักษณ์ มีค่าแทนด้วย 1 และในกรณี ท่ีมีสัญลักษณ์เหมือนกัน ให้นาค่ามาร่ วมกัน 2. ถ้าสัญลักษณ์ มีค่าแทนด้วย -1 และในกรณี ท่ีมีสัญลักษณ์เหมือนกัน ให้นาค่ามาร่ วมกัน 3. ถ้าสัญลักษณ์ต่างสี กนจับคู่กนแต่ละคู่ให้มีค่าเป็ น 0 ั ั
  • 3. การใช้งานดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของ 6 + (-3) ตามข้อตกลงที่ 3 วงกลมต่างสี กนเราจะจับคู่กน แล้วมีค่าเป็ น 0 ดังนั้น ั ั เมื่อจับคู่กนแล้วจะเหลือวงกลมสี เขียว 3 รู ป ดังนั้น 6 + (-3) มีผลลัพธ์เป็ น 3 ั หรื อ 6 + (-3) = 3 ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวกของ 1 + (-4) ตามข้อตกลงที่ 3 วงกลมต่างสี กนเราจะจับคู่กน แล้วมีค่าเป็ น 0 ดังนั้น ั ั เมื่อจับคู่กนแล้วจะเหลือวงกลมสี แสด 3 รู ป ดังนั้น 1 + (-4) มีผลลัพธ์เป็ น -3 ั หรื อ 1 + (-4) = -3 ช่ วงเวลาในการแก้ปัญหา ดาเนินการระหว่างวันที่ 17 ธันวาคม 2555 ถึงวันที่ 21 ธันวาคม 2555
  • 4. วิธีการวิจัย 1. ให้นกเรี ยนศึกษารู ปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี และข้อตกลงในการใช้รูปแบบ ั โมเดลความสัมพันธ์ของสี 2. ให้นกเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะจานวน 2 ชุด ได้แก่ แบบฝึ กทักษะที่ 1 ั เรื่ อง การบวกจานวนเต็ม และแบบฝึ กทักษะที่ 2 เรื่ องการลบจานวนเต็ม 3. วิธีรวบรวมข้อมูล หลังจากที่ครู ให้นกเรี ยนฝึ กทักษะการบวก และการลบจานวนเต็ม ั ในแบบฝึ กทักษะ โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี แล้วตรวจให้คะแนน โดยกาหนดเกณฑ์ ดังนี้ ร้อยละ 80 ขึ้นไป หมายถึง ดีมาก ร้อยละ 70 – 79 หมายถึง ดี ร้อยละ 60-69 หมายถึง ปานกลาง ร้อยละ 50 – 59 หมายถึง พอใช้ ต่ากว่าร้อยละ 50 หมายถึง ปรับปรุ ง 4. วิธีวเิ คราะห์ขอมูล นาแบบฝึ กทักษะของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/3 จานวน 40 คน ้ มาตรวจสอบทักษะการบวกและการลบของนักเรี ยน 5 . ผลการวิเคราะห์ขอมูล นาแบบฝึ กหัดทักษะของนักเรี ยนมาจาแนก แล้วคิดเป็ นร้อยละได้ ้ ดังนี้ นักเรี ยนจานวน 3 คน ได้ระดับ ปรับปรุ ง คิดเป็ นร้อยละ 7.50 นักเรี ยนจานวน 7 คน ได้ระดับ พอใช้ คิดเป็ นร้อยละ 17.75 นักเรี ยนจานวน 8 คน ได้ระดับ ปานกลาง คิดเป็ นร้อยละ 20 นักเรี ยนจานวน 10 คน ได้ระดับ ดี คิดเป็ นร้อยละ 25 นักเรี ยนจานวน 12 คน ได้ระดับ ดีเยียม ่ คิดเป็ นร้อยละ 30
  • 5. ข้ อสั งเกตหรือข้ อเสนอแนะ 1 . จากการตรวจแบบฝึ กทักษะการบวกและการลบจานวนเต็ม พบว่าการใช้รูปแบบโมเดล ความสัมพันธ์ของสี ทาให้นกเรี ยนมีทกษะการบวก การลบดีข้ ึนมากกว่าเดิม และสามารถทาได้รวดเร็ ว ั ั ถูกต้อง 2. จากการใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี ในช่วงการเรี ยนจะทาให้ชาบ้าง ้ เมื่อนักเรี ยนเกิดความชานาญจะทาให้การเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพและเกิดผลดีแก่นกเรี ยน ั ่ 3. สาหรับนักเรี ยนที่อยูในระดับพอใช้และปรับปรุ งความให้นกเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะ ั อีก 3-5 ชุด เพื่อให้นกเรี ยนเกิดความชานาญในการบวก การลบจานวนเต็มแล้วทาการประเมิน ั ทักษะการบวก การลบจานวนเต็มอีกครั้ง