SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 21
Baixar para ler offline
แม่ชีจิณธกาญจน์ ธัมมะรักขิตา
วศิน อินทสระ (2519:619)
ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับความสา
คัญของปฏิจจสมุปบาทว่า เป็น
ธรรมที่มีความสาคัญยิ่งยวด
ประการหนึ่งในบรรดาหลักคา
สั่งสอนที่สาคัญ ๆ ของพระ
พุทธเจา้
อวิชชา คือความไม่รู้แจง้ในเรื่องของชีวิต ไม่เห็น
ตามความเป็นจริง คือไม่รู้แจ้งในอริยสัจ 4 อันได้แก่
วิญญาณ (CONCIOUSNESS)
วิญญาณ
แปลว่า การรับรู้
หรือธาตุรู้ 6 ประการ
อันได้แก่
นามรูป (MIND AND MATTER)
สฬายตนะ (SIX SENCE-BASES)
ผัสสะ (CONTRACT)
1. จักขุสัมผัส ความกระทบทางตา คือ ตา + รูป
2. โสตสัมผัส ความกระทบทางหู คือ หู + เสียง
3. ฆานสัมผัส ความกระทบทางจมูก คือ จมูก + กลิ่น
4. ชิวหาสัมผัส ความกระทบทางลิ้น คือ ลิ้น + รส
5. กายสัมผัส ความกระทบทางกาย คือกาย + โผฏฐัพพะ
6. มโนสัมผัส ความกระทบทางใจ คือ ใจ + ธรรมารมณ์
เวทนา (FEELING)
การเสวยอารมณ์หรือความรู้สึก ได้แก่
1. จักขุสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา
2. โสตสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู
3. ฆานสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก
4. ชิวหาสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น
5. กายสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย
6. มโนสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ
ตัณหา (CRAVING)
ตัณหา คือ ความทะยานอยาก
1.กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม
2.ภวตัณหา ความทะยานอยากในภพ
3.วิภวตัณหา ความทะยานอยากในวิภพ
อุปาทาน (ATTACHMENT)
อุปาทาน ความยึดมั่น ความถือมั่นด้วยอานาจ
กิเลส
1.กามุปาทาน ความยึดมั่นในกาม
2.ทิฏฐุปาทาน ความยึดมั่นในทิฏฐิหรือทฤษฎี
3.สีลพัพตัตุปาทาน ความยึดมั่นในศีลและพรต
4.อัตตวาทุปาทาน ความยึดมั่นในวาทะว่า
ตัวตน
ภพ (BECOMING)
ภพ คือ ภาวะชีวิตของสัตว์
1. กามภพ ภพที่เป็นกามาวจร ได้แก่ อบาย 4
มนุษยโลก และ สวรรค์
2. รูปภพ ภพที่เป็นรูปาวจร ได้แก่ รูปพรหม
ทั้ง 16
3. อรูปภพ ภพที่เป็นอรูปาวจร ได้แก่ อรูป
พรหม 4
ชาติ (BIRTH)
ชาติ คือ การเกิด ได้แก่การปรากฏแห่ง
ขันธ์ การได้อวัยวะต่าง ๆ คือการเกิดของ
ภพคือชีวิต โดยปรมัตถ์ ได้แก่การเกิด
หรือปรากฏของขันธ์คือความเกิดขึ้นของ
วิญญาณ นามรูป และสฬายตนะ
ชรา มรณะ (DECAY AND DEATH)
ชรา มรณะ หมายถึง ความทรุดโทรมไปแห่ง
อวัยวะต่าง ๆ และความ ย่อยสลายแห่งขันธ์
หรือชีวิต ชรามีความสุขงอมของขันธ์เป็น
ลักษณะ มีหน้าที่ฉุดลากชีวิตเข้าไปหาความ
ตาย มีความเสื่อมของวัยเป็นผล ส่วน มรณะ
นั้นหมายความว่า ความสลายแห่งขันธ์
ความขาดแห่งชีวิตินทรีย์
ปฏิจจสมุปบาทสายสมุทยวาร
1-2. เพราะอวิชชา เป็นปัจจัย สังขารจึงมี
3. เพราะสังขาร เป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
4. เพราะวิญญาณ เป็นปัจจัย นามรูปจึงมี
5. เพราะนามรูป เป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
6. เพราะสฬายตนะ เป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
7. เพราะผัสสะ เป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
8. เพราะเวทนา เป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
9. เพราะตัณหา เป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี
10. เพราะอุปาทาน เป็นปัจจัย ภพจึงมี
11.เพราะภพ เป็นปัจจัย ชาติจึงมี
12. เพราะชาติ เป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
ปฏิจจสมุปบาทสายนิโรธวาร
1-2. เพราะอวิชชาดับ สังขารจึงดับ
3. เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ
4. เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ
5. เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ
6. เพราะสฬายตนะดับ ผสัสะจึงดับ
7. เพราะผสัสะดับ เวทนาจึงดับ
8. เพราะเวทนาดับ ตณัหาจึงดับ
9. เพราะตณัหาดับ อุปาทานจึงดับ
10. เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ
11.เพราะภพดับ ชาติจึงดับ
12. เพราะชาติดับชรามรณะจึงดับ
ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิจจสมุปบาทและอริยสัจ
1. สมุทยวาร (สายเกิดของปฏิจจสมุปบาท) หมายถึง ทุกขสัจและสมุทัยสัจ
2. นิโรธวาร (สายดับของปฏิจจสมุปบาท) หมายถึง นิโรธสัจและมรรคสัจ
ภวจักร หรือ ไตรวัฏฏ์
1.กิเลส คือ ตัวสาเหตุผลักดันให้คิดปรุงแต่งการกระทา
ต่าง ๆ
2. กรรม คือกระบวนการกระทา หรือปรุงแต่งชีวิตให้
เป็นไปต่าง ๆ
3.วิบาก คือ สภาพที่เป็นผลแห่งการปรุงแต่งของกรรม
และเป็นปัจจัย เสริมสร้างกิเลสต่อไปอีก
หลักปฏิจจสมุปบาท

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติOnpa Akaradech
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

Mais procurados (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 

หลักปฏิจจสมุปบาท

  • 2.
  • 3. วศิน อินทสระ (2519:619) ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับความสา คัญของปฏิจจสมุปบาทว่า เป็น ธรรมที่มีความสาคัญยิ่งยวด ประการหนึ่งในบรรดาหลักคา สั่งสอนที่สาคัญ ๆ ของพระ พุทธเจา้
  • 4.
  • 6.
  • 10. ผัสสะ (CONTRACT) 1. จักขุสัมผัส ความกระทบทางตา คือ ตา + รูป 2. โสตสัมผัส ความกระทบทางหู คือ หู + เสียง 3. ฆานสัมผัส ความกระทบทางจมูก คือ จมูก + กลิ่น 4. ชิวหาสัมผัส ความกระทบทางลิ้น คือ ลิ้น + รส 5. กายสัมผัส ความกระทบทางกาย คือกาย + โผฏฐัพพะ 6. มโนสัมผัส ความกระทบทางใจ คือ ใจ + ธรรมารมณ์
  • 11. เวทนา (FEELING) การเสวยอารมณ์หรือความรู้สึก ได้แก่ 1. จักขุสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา 2. โสตสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู 3. ฆานสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก 4. ชิวหาสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น 5. กายสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย 6. มโนสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ
  • 12. ตัณหา (CRAVING) ตัณหา คือ ความทะยานอยาก 1.กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม 2.ภวตัณหา ความทะยานอยากในภพ 3.วิภวตัณหา ความทะยานอยากในวิภพ
  • 13. อุปาทาน (ATTACHMENT) อุปาทาน ความยึดมั่น ความถือมั่นด้วยอานาจ กิเลส 1.กามุปาทาน ความยึดมั่นในกาม 2.ทิฏฐุปาทาน ความยึดมั่นในทิฏฐิหรือทฤษฎี 3.สีลพัพตัตุปาทาน ความยึดมั่นในศีลและพรต 4.อัตตวาทุปาทาน ความยึดมั่นในวาทะว่า ตัวตน
  • 14. ภพ (BECOMING) ภพ คือ ภาวะชีวิตของสัตว์ 1. กามภพ ภพที่เป็นกามาวจร ได้แก่ อบาย 4 มนุษยโลก และ สวรรค์ 2. รูปภพ ภพที่เป็นรูปาวจร ได้แก่ รูปพรหม ทั้ง 16 3. อรูปภพ ภพที่เป็นอรูปาวจร ได้แก่ อรูป พรหม 4
  • 15. ชาติ (BIRTH) ชาติ คือ การเกิด ได้แก่การปรากฏแห่ง ขันธ์ การได้อวัยวะต่าง ๆ คือการเกิดของ ภพคือชีวิต โดยปรมัตถ์ ได้แก่การเกิด หรือปรากฏของขันธ์คือความเกิดขึ้นของ วิญญาณ นามรูป และสฬายตนะ
  • 16. ชรา มรณะ (DECAY AND DEATH) ชรา มรณะ หมายถึง ความทรุดโทรมไปแห่ง อวัยวะต่าง ๆ และความ ย่อยสลายแห่งขันธ์ หรือชีวิต ชรามีความสุขงอมของขันธ์เป็น ลักษณะ มีหน้าที่ฉุดลากชีวิตเข้าไปหาความ ตาย มีความเสื่อมของวัยเป็นผล ส่วน มรณะ นั้นหมายความว่า ความสลายแห่งขันธ์ ความขาดแห่งชีวิตินทรีย์
  • 17. ปฏิจจสมุปบาทสายสมุทยวาร 1-2. เพราะอวิชชา เป็นปัจจัย สังขารจึงมี 3. เพราะสังขาร เป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี 4. เพราะวิญญาณ เป็นปัจจัย นามรูปจึงมี 5. เพราะนามรูป เป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี 6. เพราะสฬายตนะ เป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี 7. เพราะผัสสะ เป็นปัจจัย เวทนาจึงมี 8. เพราะเวทนา เป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี 9. เพราะตัณหา เป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี 10. เพราะอุปาทาน เป็นปัจจัย ภพจึงมี 11.เพราะภพ เป็นปัจจัย ชาติจึงมี 12. เพราะชาติ เป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
  • 18. ปฏิจจสมุปบาทสายนิโรธวาร 1-2. เพราะอวิชชาดับ สังขารจึงดับ 3. เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ 4. เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ 5. เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ 6. เพราะสฬายตนะดับ ผสัสะจึงดับ 7. เพราะผสัสะดับ เวทนาจึงดับ 8. เพราะเวทนาดับ ตณัหาจึงดับ 9. เพราะตณัหาดับ อุปาทานจึงดับ 10. เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ 11.เพราะภพดับ ชาติจึงดับ 12. เพราะชาติดับชรามรณะจึงดับ
  • 19. ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิจจสมุปบาทและอริยสัจ 1. สมุทยวาร (สายเกิดของปฏิจจสมุปบาท) หมายถึง ทุกขสัจและสมุทัยสัจ 2. นิโรธวาร (สายดับของปฏิจจสมุปบาท) หมายถึง นิโรธสัจและมรรคสัจ
  • 20. ภวจักร หรือ ไตรวัฏฏ์ 1.กิเลส คือ ตัวสาเหตุผลักดันให้คิดปรุงแต่งการกระทา ต่าง ๆ 2. กรรม คือกระบวนการกระทา หรือปรุงแต่งชีวิตให้ เป็นไปต่าง ๆ 3.วิบาก คือ สภาพที่เป็นผลแห่งการปรุงแต่งของกรรม และเป็นปัจจัย เสริมสร้างกิเลสต่อไปอีก