SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 47
Baixar para ler offline
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาเถรวาท
ที่มีต่อประเทศอินเดีย
จัดทาโดย
พระมหาธีรพันธ์ ธีรกิตติ
พระรังสรรค์ ปญญาวุฑโฒ
นางสาวอัญชลี จตุรานน
นาเสนอ อาจารย์ ดร. เทพประวิณ จันทร์แรง
วิชา พระพุทธศาสนาเถรวาท
ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
และเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
วัตถุประสงค์และประโยชน์จากงานนาเสนอ
• เข้าใจถึงความเป็นมาของพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียตั้งแต่ช่วงพุทธกาลจนถึง
ปีพ.ศ. ๑๗๐๐ ทั้งในด้านสังคม, การศึกษา, การเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจ
• เข้าใจถึงสาเหตุที่พุทธศาสนาเถรวาทเลือนหายไปจากอินเดียในช่วงปีพ.ศ.
๑๗๐๐ - พ.ศ. ๒๔๐๐
• ทราบและเข้าใจถึงเหตุการณ์การฟื้นฟูพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย เริ่มตั้งแต่
ในช่วงปีพ.ศ. ๒๔๐๐
• ทราบถึงเหตุการณ์ และบุคคลสาคัญผู้มีส่วนในการฟื้นฟู
พุทธศาสนาเถรวาทคืนสู่อินเดีย และเผยแพร่สู่ทั่วโลก
• เข้าใจถึงอิทธิพลของพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ในยุค
ปัจจุบัน
โครงสร้างเนื้อหาการนาเสนอ
อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
อิทธิพลของพุทธศาสนาเถร
วาทในอินเดียตั้งแต่ช่วง
พุทธกาล - พ.ศ. ๑๗๐๐
• ด้านสังคม
•ด้านศาสนา
• ด้านการศึกษา
• ด้านศิลปะ
• ด้านเศรษฐกิจ
• ด้านการเมือง
• พระเจ้าอโศกมหาราช
• พระเจ้ามิลินท์
ช่วงที่พุทธศาสนาเลือน
หายไปจากอินเดีย
พ.ศ. ๑๗๐๐ – พ.ศ. ๒๔๐๐
• สาเหตุจากการใช้กาลัง
ทาลายล้าง
• สาเหตุจากการกลืนศาสนา
พุทธเข้ากับศาสนาฮินดู
ช่วงที่พุทธศาสนาได้รับการ
ฟื้นฟูคืนสู่อินเดีย
พ.ศ. ๒๔๐๐ – ปัจจุบัน
• ชาวตะวันตกหันมาสนใจ
ศึกษา ค้นคว้าทางพุทธ
ศาสนา
• มีการตั้งสมาคมต่างๆ และ
ฟื้นฟูพุทธสถาน
• ดร. เอ็มเบ็ดการ์ ผู้นาชาว
พุทธใหม่
• พุทธศาสนาในอินเดีย
ปัจจุบัน
ประวัติประเทศอินเดียโดยสังเขป
• สมัยพุทธกาลเรียกว่า ชมพูทวีป มีภาษาพูดกว่า ๒๐๐ ภาษา
• พ.ศ. ๒๔๙๐ อังกฤษคืนเอกราช จึงมีการแบ่งแคว้นต่างๆเป็นเขตประเทศ
เขตประเทศ ระบบการปกครอง จานวนประชากร นับถือศาสนา เมืองหลวง
สาธารณรัฐอินเดีย สหพันธ์สาธารณรัฐ ๑,๑๖๙ ล้านคน ฮินดู, อิสลาม, ซิกข์,
เชน, ปาร์รีส์, คริสเตียน
นิวเดลี
สาธารณรัฐอิสลาม
ปากีสถาน
สาธารณรัฐ ๑๖๑ ล้านคน อิสลาม อิสลามาบัด
สาธารณรัฐประชาชน
บังคลาเทศ
สาธารณรัฐ ๑๕๘ ล้านคน อิสลาม ธากา
ราชอาณาจักรเนปาล ประชาธิปไตยแบบฮินดู
มีพระมหากษัตริย์เป็น
ประมุข
๒๘ ล้านคน ฮินดู, พุทธ, อิสลาม กาฏมันฑุ
ราชอาณาจักรภูฐาน ประชาธิปไตย ๒ ล้านคน พุทธศาสนา ทิมบู
ภูมิประเทศอินเดีย
• อากาศหนาวที่สุด (เทือกเขาหิมาลัย)
จนถึงร้อนที่สุด (ทะเลทรายแคว้นราช
สถาน อินเดียตะวันตกและ ทางใต้)
• เขตอุดมสมบูรณ์คือแถบลุ่มแม่น้า
สินธุ และคงคา และภาคใต้
• มีเขตฝนตกชุกคือ อินเดียตะวันออก
ต่อแดนพม่า
• ลักษณะประเทศเป็นแหลมยื่นลง
มหาสมุทร
ความเป็นไปของพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธกาล - พ.ศ. ๕๐๐
เป็นยุคที่พุทธศาสนาเจริญในอินเดียสูงที่สุด มีอิทธิพลทั้ง
ทางด้านสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ
พ.ศ. ๕๐๐ - พ.ศ. ๑๗๐๐
ศึกษาเฉพาะบางเรื่องที่เด่นชัดและสาคัญ
พ.ศ. ๑๗๐๐ - พ.ศ. ๒๔๐๐
พุทธศาสนาเสื่อมไปจากชมพูทวีป
พ.ศ. ๒๔๐๐ - ปัจจุบัน
มีการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาคืนสู่ชมพูทวีป
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ช่วงพุทธกาล– พ.ศ. ๑๗๐๐
ด้านสังคม
ชนชั้นวรรณะ, ครอบครัว, การสาธารณสุข, การประปา, การศึกษา, ศิลปะ
ด้านเศรษฐกิจ
การค้า, การฝีมือ, งานช่าง, งานอาชีพ, เกษตรกรรม, การเก็บภาษีอากร
ด้านการเมือง
ระบบการปกครอง, กฎหมาย, การทูต วัฒนธรรมการเมือง, บทบาททางการเมือง
ด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม
แบ่งเป็นยุคก่อนมีพระพุทธรูป และยุคหลังสร้างพระพุทธรูป
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม
ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
สถาบันสังคม
สังคมอินเดียมีการจัดระบบวรรณะ ๔ คือ
กษัตริย์, พราหมณ์, แพศย์, ศูทร
ศาสนาพุทธเน้นความเสมอภาค ล้างระบบ
วรรณะ เน้นคุณค่าของชีวิตที่เกิดจากการ
กระทา ถือเป็นแนวคิดที่แปลกใหม่ในยุคนี้
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม
ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
สวัสดิการสังคม
พระเจ้าอโศกมหาราชได้สร้างโรงพยาบาลรักษาคนและสัตว์ การประปา และ
คมนาคม ทั้งในแคว้นของท่าน และเผื่อแผ่ไปถึงราชอาณาจักรของกษัตริย์กรีกองค์
อื่นๆ อีก ๔ พระองค์
หลักฐานเรื่องนี้ปรากฏในศิลาจารึกของพระเจ้า
อโศก อัครศาสนูปถัมภ์ ฉบับที่ ๒ (ในช่วงพุทธ
ศตวรรษที่ ๒)
เสาจารึก พระเจ้าอโศกมหาราช
การศาสนา
พระพุทธศาสนาแพร่หลายเร็วเพราะมีความเสมอภาค ไม่แบ่งชั้นวรรณะ
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม
ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
การแพร่หลายเร็ว มีส่วนทาให้เกิดภิกษุ
อลัชชีขึ้นจานวนมาก
จึงเป็นเหตุให้มีการสังคายนาครั้งที่ ๓
และส่งสมณทูตไปเผยแพร่พุทธศาสนา
ในประเทศต่างๆถึง ๙ สาย
การศึกษา
• การศึกษายึดหลัก สมภาพ, เสรีภาพ, ภราดรภาพ และ การศึกษาแบบให้เปล่า
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม
ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
• แต่เดิมวรรณะศูทรและนอกวรรณะ ไม่มี
สิทธิเรียนคัมภีร์พระเวท
• การศึกษาขยายตัวจากครัวเรือน สู่
สังคม
• การศึกษาครอบคลุมทั้งบรรพชิตและ
คฤหัสถ์
การศึกษา - กาเนิดมหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลก
 นาลันทามหาวิทยาลัย – ทางฝั่งอินเดียตะวันออกมีชื่อเสียงเด่นทางมหายาน
และภาษาบาลี วิชาหลักธรรมมหายานเป็นภาคบังคับ และมีวิชาฝ่ายเถรวาท,
นิรุกติศาสตร์, ปรัชญา, ฯลฯ
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม
ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
 มหาวิยาลัยวลภี – ทางฝั่งอินเดีย
ตะวันตก ให้การศึกษาทุกนิกาย แต่เน้น
วิชาฝ่ายเถรวาท และมีวิชาการทางโลก
ด้วย วลภีเป็นเมืองศูนย์กลางการศึกษา
ที่สาคัญ
ซากปรักหักพังของนาลันทา มหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลก
การศึกษา - บ่อเกิดแห่งนักปราชญ์
พระพุทธทัตตะ (พ.ศ. ๙๔๐-๑๐๐๐) – อภิธรรมาวตาร, อุตรวินิจฉัย, วินยวินิจฉัย,
รูปารูปวินิจฉัย, มธุรัตถวิลาสินี ฯลฯ
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม
ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
พระพุทธโฆษาจารย์ (พ.ศ. ๙๔๕-๑๐๐๐) – สมันตปาสาทิ
กา, กังขาวิตรณี, สารัตถปกาสินี, วิสุทธิมรรค ฯลฯ
พระธัมปาละ (พ.ศ. ๙๕๐-๑๐๐๐) – ปรมัตถทีปนี, อรรถ
กถาเปตวัตถุ, อรรถกถาวิสุทธิมรรค ฯลฯ
นิทานชาดกถูกแปลเป็นหลายภาษา และมีอิทธิพลต่อนิทาน
ของประเทศอื่นๆหลายประเทศ เช่น นิทานอีสป คัมภีร์วิสุทธิมรรค ภาษาไทย
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้าน
ศิลปวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม
ช่วงปี พ.ศ. ๑๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐
พ.ศ. ๑๐๐ - ๕๐๐
ยุคก่อนมีพระพุทธรูป ใช้สัญลักษณ์แทน
พ.ศ. ๕๐๐ - ๑๗๐๐
ยุคหลังการสร้างพระพุทธรูป มีศิลปะสมัยต่างๆ
อิทธิพลด้านศิลปวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม
ช่วงปี พ.ศ. ๑๐๐ – พ.ศ. ๕๐๐
พ.ศ. ๑๐๐ – ๕๐๐ ยุคก่อนมีพระพุทธรูป
• พระเจ้าอโศกมหาราช สร้างวัด ๘๔,๐๐๐ แห่ง
• สถาปัตยกรรม ใช้หินแทนไม้
• นิยมการสร้างสถูป ที่ยังเหลืออยู่คือ สาญจิสถูป
• ประติมากรรม เน้นงานแกะสลัก
• ศิลาจารึก เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่คงทน
• งานศิลปะเน้นนามธรรม และสัญลักษณ์แทน เช่น
ดอกบัวแทนปางประสูติ ต้นโพธิ์แทนปางตรัสรู้
ธรรมจักรแทน ปางปฐมเทศนาและพระสถูปแทนปาง
ปรินิพพาน
พ.ศ. ๕๐๐ – ๑๗๐๐ ยุคหลังสร้างพระพุทธรูป
• ยุคแรกที่สร้างพระพุทธรูป คือยุคของพระเจ้ามิลินท์
อิทธิพลด้านศิลปวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม
ช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐
• กษัตริย์ราชวงศ์ศาตวหานะ มี
อานาจรุ่งเรือง และทานุบารุงพุทธ
ศาสนา
• สนับสนุน สาญจิ, อมราวดี และ
นาคารชุนโกณฑะ เป็นต้น
ศิลปะแบบคันธารราฐ (Gandhara) พ.ศ. ๖๐๐ - ๗๐๐
พระพุทธรูปยุคแรก ได้รับอิทธิพลจากรูปปั้นเทพเจ้าของกรีก
ศิลปะแบบมถุรา (Mathura)
พ.ศ. ๖๐๐ - ๙๐๐
ใกล้เคียงกับแบบคันธารราฐ ลักษณะเด่นคือ ฐานเป็นสิงห์
ประดับด้วยรูปพระโพธิสัตว์และสาวก
อิทธิพลด้านศิลปวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม
ช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐
ศิลปะแบบปาละ (Pala) พ.ศ. ๑๔๐๐ - ๑๘๐๐
ผสมผสานคติของพราหมณ์ พระพักตร์คม พระ
ขนงคมชัด พระนาสิกโด่งงุ้ม จีวรแนบเนื้อ
ศิลปะแบบคุปตะ (Gupta) พ.ศ. ๙๐๐ - ๑๓๐๐
อิทธิพลด้านศิลปวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม
ช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐
เป็นลักษณะของอินเดียอย่างแท้จริง พระเกศาขมวดเป็นก้น
หอยเช่นเดียวกับสมัยมถุรา พระเกตุมาลาเป็นต่อม พระ
พักตร์เป็นแบบอินเดีย ห่มจีวรบางแนบติดพระองค์
ศิลปะอมราวดี (Amaravati) พ.ศ. ๖๐๐ - ๗๐๐
พระพักตร์งดงาม จีวรเป็นริ้วระเบียบทอดยาว
จรดขอบพระบาท นิยมแต่งลายที่ฐาน
ศิลปะจาลุกยะ (Chalukya)
ได้รับอิทธิพลจากคุปตะ
ศิลปะโจฬะ (Chola)
พราหมณ์เริ่มเฟื่องฟู พระพักตร์ทรงรี คาง
หยิก บั้นพระองค์คอด
ศิลปะสกุลช่างใต้
ช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐
ศิลปะแบบสาญจิ
ช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐
ถ้าอชันตา (Achanta)
มีโบราณสถานที่เป็นวิหาร
ที่เจาะเข้าไปในภูเขาลึก
๑๒๐๐ แห่ง (พราหมณ์
๒๐๐, เชน ๑๐๐, พุทธ
๙๐๐)
ห้องสมุดเป็นอาคารใหญ่ ๓ หลัง หลังหนึ่งสูงถึง ๙ ชั้น
ประณีตวิจิตรกว่างานก่อสร้างอิฐในยุคต่อๆมา
มหาวิทยาลัยนาลันทา
บทบาทของวัดและพระสงฆ์ทางสังคม
ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
• ชาวบ้านส่งลูกหลานมาร่าเรียนที่วัด, รับใช้พระสงฆ์
• ชาวบ้านมาฟังธรรมเทศนา
• วัดเป็นสถานที่พยาบาล เป็นแหล่ง
ตาราแพทย์
• วัดเป็นที่พักพิงของคนเดินทาง
• วัดเป็นศูนย์กลางศิลปะ วัฒนธรรม
• วัดเป็นที่ช่วยแก้ทุกข์ของชาวบ้าน
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้าน
เศรษฐกิจช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
สัมมาอาชีวะ
ไม่ค้าอาวุธ, ไม่ค้ามนุษย์, ไม่ค้าเนื้อสัตว์, ไม่ค้าน้าเมา, ไม่ค้ายาพิษ
ทิฏฐิธัมมิกัตถประโยชน์ ๔
ขยัน, อดออม, คบเพื่อนดี และไม่ฟุ่มเฟือย
อาชีพที่นิยม
ค้าขาย, รับราชการ, งานช่างฝีมือ
อิทธิพลของหลักอหิงสา
คนทาอาชีพฆ่าสัตว์น้อยลง หันมาทาเกษตรกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
การกาหนดกฎหมาย นโยบายต่างๆ ใช้หลักแห่งพุทธธรรม ไม่ใช้
ความรุนแรง เรียกว่าระบบสามัคคีธรรม
ความชอบธรรมทางการเมือง
กฎเกณฑ์ทางศีลธรรมมีอิทธิพลกับการจัดระเบียบทางสังคม
การปกครองใช้หลักทศพิธราชธรรม
พระเป็นที่ปรึกษาของกษัตริย์ และประชาชน
รัฐรับรองพุทธศาสนา
กษัตริย์ให้การรับรองถึงความสาคัญของพุทธ
ศาสนา มีพิธีกรรมทางพุทธคู่กับพระราชพิธีต่างๆ
กษัตริย์ทานุบารุงพุทธศาสนา
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ด้านการเมือง ช่วงพุทธกาล– พ.ศ. ๑๗๐๐
บทบาทของพระสงฆ์
ราชอาณาจักรครั้งพุทธกาล ๔ แห่ง ๑.) มคธ ๒.) โกศล ๓.) วังสะ ๔.) อวันตี
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ด้านการเมือง ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
• ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมริยะ ผู้ปรีชาสามารถ
พระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ ทรงปกครองแคว้นมคธ มีพระราช
ธานีชื่อว่า ปาฏลีบุตร (ปัจจุบันเรียกว่า ปัฏนะ Patna) ทรง
เป็นพระโอรสของพระเจ้าพินทุสารแห่งราชวงศ์โมริยะ
พระมารดานามว่าศิริธรรม พระเจ้าอโศกมีพระโอรส และธิดา
๑๑ พระองค์
พระเจ้าอโศกมหาราช
(ครองราชย์ พ.ศ. ๒๗๐ – ๓๑๑)
• เดิมเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่โหดร้าย ชอบการทาสงครามกับแว่นแคว้นต่าง ๆ จนได้รับ
สมญานามว่า จัณฑาโศกราช (พระเจ้าอโศกผู้โหดเหี้ยม)
• ได้ฟังธรรมจากนิโครธสามเณร และ พระสมุทรเถระ จึงเกิดความเลื่อมใสในพุทธศาสนา
พระเจ้าอโศกมหาราช
(ครองราชย์ พ.ศ. ๒๗๐ – ๓๑๑)
• หันมานับถือพระพุทธศาสนา อุปถัมภ์พุทธศาสนา และปกครองด้วยทศพิธราชธรรม
ภายหลังทรงได้รับการขนานพระราชสมัญญานามว่า ธรรมาโศกราช (พระเจ้าอโศกผู้
ทรงธรรม)
๑. ทาน
๒. ศีล
๓. บริจาค
๔. ความซื่อตรง
๕. ความอ่อนโยน
๖. ความเพียร
๗. ความไม่โกรธ
๘. ความไม่เบียดเบียน
๙. ความอดทน
๑๐. ความเที่ยงธรรม
ทศพิธราชธรรม
ผลงานด้านการปกครอง
ปกครองแบบบิดากับบุตร, สั่งสอนธรรม,
จัดบริการสาธารณประโยชน์แบบสังคม
สงเคราะห์
ผลงานด้านการปฏิบัติธรรม
ผลงานด้านศาสนา
เน้นการทาทาน (ทั้งสิ่งของและธรรมทาน),
งดการบูชายัญ,สอนให้ปฏิบัติธรรม และให้
เสรีภาพในการนับถือศาสนา
ทรงทานุบารุงพุทธศาสนา, สนับสนุน
การทาการสังคายนาครั้งที่ ๓ และส่ง
สมณทูตไปเผยแพร่ศาสนา ทรงสร้าง
วัด, ศิลาจารึก และเสาอโศก ซึ่งเป็น
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญ
ของพุทธศาสนา
ผลงานพระเจ้าอโศกมหาราช
• ทรงเป็นกษัตรย์เชื้อสายกรีก เข้ามาตีเมืองอินเดียได้
เมืองปัญจาปคันธาระ จึงสถาปนาเมืองสาคละเป็นราชธานี
เป็นผู้แตกฉานในไตรเภท โต้วาทีชนะพราหมณ์ทั้งหมด
• จนได้มาพบพระนาคเสน เกิดความเลื่อมใสศรัทธาใน
พุทธศาสนา
• ทรงอุปถัมภ์พุทธศาสนา ต่อมาได้เสด็จออกผนวชและ
บรรลุอรหัตผล
• มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์อ้างอิงว่าพระเจ้ามิลินท์มีอยู่
จริงคือ เหรียญพระยามิลินท์ Basileus Soteros
Menandros
พระเจ้ามิลินท์
(ประมาณช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐)
อุปถัมภ์และเผยแพร่พุทธศาสนา
ทรงทานุบารุงพุทธศาสนา สร้างวิหารหลายแห่ง, ทรงบารุงพระขีณาสพถึง ๑๐ โกฎิรูป
, ทรงเผยแพร่พุทธศาสนาไปไกล รวมถึงกรีก
ผลงานพระเจ้ามิลินท์
พระพุทธรูปองค์แรก
ต้นกาเนิดคัมภีร์มิลินทปัญหา
เป็นยุคแรกที่เริ่มมีการสร้างพระพุทธรูป โดยได้รับอิทธิพลจาก
ศิลปะกรีก
รวบรวมถาม-ตอบ จาก
สติปัญญาอันเป็นเลิศของพระ
นาคเสนและพระเจ้ามิลินท์
พุทธศาสนาเลือนหายไปจากชมพูทวีป
(พ.ศ. ๑๗๐๐ – ๒๔๐๐)
สาเหตุ - ถูกล้มล้าง
• ในราชวงศ์พระเจ้ายักษะปาละ เสนาบดีพราหมณ์
ชื่อ ราวเสน ได้ก่อกบฏ และยึดอานาจ ในราชวงศ์
จึงไม่มีผู้นับถือศาสนาพุทธ
• ต่อมามีกองทัพอิสลาม โดย บักติยาขิลจิ ได้ยก
กาลังทาลายล้างพุทธศาสนาสถาน รวมถึงนาลันทา
มหาวิทยาลัย และฆ่าพระภิกษุสงฆ์
พุทธศาสนาเลือนหายไปจากชมพูทวีป
(พ.ศ. ๑๗๐๐ – ๒๔๐๐)
ศาสนาฮินดูยังคงดารงอยู่ตลอด ตั้งแต่ก่อน พระพุทธศาสนาบังเกิด และอยู่คู่กัน
ตลอดมามิได้หายไปจากสังคมอินเดีย เพราะเมื่อพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง ก็ไม่ได้
เบียดเบียนหรือล้มล้างศาสนาอื่น
ศาสนาฮินดูยุคหลัง สามารถสอนพระเวท
ได้ทั้งคฤหัสถ์และบรรชิต จึงแพร่หลาย
มาก
ต่อมาพราหมณ์ชื่อ สังกราจารย์ ได้ยก
พระพุทธเจ้าเป็นปางอวตารที่ ๙ ของพระ
นารายณ์ พุทธศาสนาจึงถูกเลือนหายไป
สาเหตุ – ถูกลืมเลือน และกลมกลืน
พ.ศ. ๒๓๒๗ – ชมพูทวีปตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ
๑๕ สิงหาคม ๒๔๙๐ – อินเดียได้รับเอกราช และแยกประเทศเป็น อินเดีย และ
ปากีสถาน
ก่อนตกเป็นอาณานิคม – ศาสนาพุทธเริ่มจางหายไปจากอินเดีย
ช่วงเป็นอาณานิคม – ศาสนาฮินดูเฟื่องฟู พุทธถูกผสานรวมเข้ากันฮินดู
หลังได้รับเอกราช – ชาวยุโรปริเริ่มศึกษาค้นคว้าพุทธศาสนา และพุทธสถาน
โบราณ ส่งผลให้ต่อมานักปราชญ์ชาวอินเดียเริ่มกลับมาตื่นตัวกับการศึกษาและ
ฟื้นฟูพุทธศาสนา
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
พ.ศ. ๒๓๙๕ – นายพลอเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม
เป็นนักโบราณคดีชาวอังกฤษผู้สนใจในพุทธศาสนาและเป็น
ผู้ค้นคว้าและขุดค้นหลักฐานเกี่ยวกับพระเจ้าอโศกมหาราช
และนาลันทามหาวิทยาลัย
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
ซากปรักหักพังของนาลันทามหาวิทยาลัย เสาอโศกมหาราชที่ขุดพบ
ชาวอังกฤษผู้ประพันธ์เรื่อง “ประทีปแห่งทวีปเอเชีย” (The Light
of Asia) พุทธประวัติที่ไพเราะและลึกซึ้ง ทาให้ชาวอินเดียหัน
กลับมาสนใจพุทธศาสนา และชาวตะวันตกเริ่มมาสนใจและศึกษา
พุทธศาสนาอย่างจริงจัง
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
พ.ศ. ๒๔๒๒ – เซอร์ เอดวิน อาร์โนล
ชาวอังกฤษผู้ก่อตั้งสมาคมบาลีปกรณ์ (Pali Text Society)
แปลและจัดพิมพ์พระไตรปิฎกและคัมภีร์ต่างๆทางพุทธศาสนาเป็น
ภาษาอังกฤษ ด้วยทุนส่วนตัว
พ.ศ. ๒๔๒๔ – Mr. T.W. Ryds Davids
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
พ.ศ. ๒๔๓๔ - ท่านอนาคาริกธรรมปาละ
• เป็นชาวศรีลังกา เกิดในครอบครัวชาวคริสต์ที่มั่งคั่ง
สนใจศึกษาภาษาอังกฤษตั้งแต่เล็ก
• ต่อมาได้อ่านหนังสือเรื่อง ประทีปแห่งทวีปเอเชีย และ
เกิดความศรัทธามาก จึงเดินทางมาที่พุทธคยาและ
ตั้งใจจะฟื้นฟูพุทธคยาและพุทธโบราณสถาน จึงตั้ง
สมาคมมหาโพธิ และทางานเผยแพร่พุทธศาสนา
• ได้บวชเป็นพระภิกษุในช่วงปัจฉิมวัย และตั้งจิตจะเกิด
ใหม่เพื่อมาเผยแพร่พุทธศาสนาต่อไป
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
สมาคมมหาโพธิ
พ.ศ. ๒๔๓๕ – สมาคมพุทธศาสนปกรณ์ (The Buddhist Text Society)
• ปราชญ์ชาวอินเดียร่วมกันก่อตั้งสมาคมพุทธศาสนปกรณ์ ณ เมืองกัลกัตตา ถือเป็น
ความตื่นตัวหลังจากได้เห็นชาวยุโรปมีความกระตือรือร้นสนใจในพุทธศาสนา
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
• รัฐบาลแห่งแคว้นพิหารได้ตั้งนาลัน
ทามหาวิหารขึ้น เป็นสถาบัน
ศึกษาวิจัยพุทธศาสนาและบาลี ตั้ง
ใกล้กับนาลันทามหาวิทยาลัยเดิม
พ.ศ. ๒๔๙๔ – นาลันทามหาวิหาร
นาลันทามหาวิหาร
พ.ศ. ๒๔๙๙ – งานพุทธชยันตี ๒๕๐๐ ที่เมืองบอมเบย์ (มุมไบ)
• ศรี เนรูห์ นายกฯ อินเดีย เป็นประธานในงาน กล่าวว่าท่านไม่นับถือ
ศาสนาใด แต่ศรัทธา และปฏิบัติตามคาสอนของพุทธศาสนา และหาก
ต้องเลือก ท่านจะเลือกนับถือศาสนาพุทธ
• มีการจัดงานเฉลิมฉลองกันอย่างยิ่งใหญ่
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
ศรี เนรูห์
พ.ศ. ๒๔๙๙ - ดร. บี อาร์ เอ็มเบ็ดการ์
• รมต.กระทรวงยุติธรรมของอินเดีย ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งรัฐธรรมนูนอินเดีย
• ๑๔ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ เมืองนาคปุระ ท่านได้นาชาวฮินดูวรรณศูทรหลายแสนคน
ปฏิญาณตนเปลี่ยนศาสนาจากฮินดูเป็นพุทธ โดยกล่าวว่า ‘ข้าพเจ้าเกิดมาจากตระกูลที่นับ
ถือศาสนาฮินดู แต่ข้าพเจ้าขอตายในฐานะพุทธศาสนิกชน’
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
ดร. เอ็มเบ็ดการ์
•พุทธภาษิตประจาใจของท่านคือ ‘คนเราไม่ใช่ดีเพราะ
โคตร ไม่ใช่ดีเพราะตระกูล ไม่ใช่ดีเพราะทรัพย์ แต่จะดี
หรือชั่ว อยู่ที่การกระทาของบุคคลนั้นๆ’
• ก่อตั้งวิทยาลัยสิทธารนาถวิทยาลัย (ศึกษาทาง
นิติศาสตร์โดยนาหลักธรรมไปใช้) ชาวฮินดูกว่าล้านคนปฏิญาณตนนับถือพุทธ
พ.ศ. ๒๕๑๕ - ผลงานนักปราชญ์ชาวอินเดีย
• ผศ.พินเยนทรนาช เชาธุรี, มหาวิยาลัยกัลกัตตา - ค้นคว้าเรียบเรียงเรื่องพุทธสถาน
โบราณในอินเดีย ๓๐๐ กว่าเมือง
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
• ศ. ดร. ลาล มณี โชคี, มหาวิทยาลัยปัญจาบ ฮาร์วาร์ด และ ศ. ศัตการี มุเขอร์จี – แต่ง
หนังสือเสนอความจริงว่า พุทธ ไม่ใช่ ฮินดู
มหาตมา คานธี - เป็นตัวอย่างในการนาคาสอน
ของพระพุทธเจ้ามาเป็นหลักในการดาเนินชีวิต
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
พ.ศ. ๒๕๑๕ - ผลงานนักปราชญ์ชาวอินเดีย
รพินทรนาถ ฐากูร - มีบทบาทในการให้นานา
ประเทศเข้าใจกันยิ่งขึ้น
ยวาหระลาล เนรูห์ - เทิดทูนพระพุทธเจ้าว่าเป็นผู้
ประเสริฐที่สุดในอินเดีย
ทั้ง ๓ มหาบุรุษนี้ได้สดุดี
พระพุทธเจ้าในหนังสือ
Buddha As Seen
By Three
Illustrious Sons
Of India (พระพุทธเจ้า
ในทัศนะของสามรัตนะ
บุรุษของอินเดีย)
อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
ในช่วงปัจจุบัน
มีชาวอินเดียนับถือพุทธศาสนาจานวนน้อย
ไม่ถึง ๒ เปอร์เซ็นต์ของประขากรทั้งหมด
(๑. ฮินดู ๒. อิสลาม)
การนับถือศาสนาพุทธจะกลมกลืนกับศาสนาฮินดูมาก ทั้งความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรม
เพราะศาสนาฮินดูฝังรากลึกกลมกลืนกับวัฒนธรรมอินเดีย
สังเวชนียสถาน และพุทธสถาน
โบราณได้รับการฟื้นฟู และเป็น
สถานที่ศักสิทธิ์ที่พุทธศาสนิกชน
ทั่วโลกไปเยี่ยมชมและบูชา
ก่อนตรัสรู้ - นับถือฮินดู มีการแบ่งชั้นวรรณะ
หลังตรัสรู้ - มีทางเลือกนอกจากวรรณะ, เทพเจ้า
พุทธกาล- ศาสนาพุทธเผยแพร่ในอินเดีย มีผู้บรรลุอรหัตผลมากมาย
หลังพุทธปรินิพพาน
ทางสังคม - อยู่แบบเกื้อกูลกัน กษัตริย์ดูแลแบบพ่อ-ลูก
ทางศาสนา - แพร่หลายเร็ว แต่ก็มีความขัดแย้งบ้าง ทาให้เกิดการสังคายนา และมีการส่งสมณทูตไปเผยแพร่พุทธศาสนา
การศึกษา - ไม่แบ่งชนชั้นวรรณะ เกิดนาลันทามหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยวลภี การศึกษารุ่งเรือง
ช่วง พ.ศ. ๑๐๐๐ - เกิดนักปราชญ์มากมาย กาเนิดคัมภีร์สาคัญๆของพุทธศาสนา
ศิลปะ
พ.ศ. ๑๐๐ - ๕๐๐ - ยังไม่มีพระพุทธรูป ใช้สัญลักษณ์แทน
พ.ศ. ๕๐๐ - ๑๗๐๐ - มีการสร้างพระพุทธรูปในสมัยต่างๆ เริ่มด้วยอิทธิพลกรีก โรมัน จากพระเจ้ามิลินท์
เศรษฐกิจ
เน้นอหิงสา และ ทิฏฐิธัมมีกัตถประโยชน์ อาชีพฆ่าสัตว์ได้รับความนิยมน้อยลง นิยม รับราชการ, งานช่างฝีมือ
การเมือง
ใช้หลักพุทธธรรม, ทศพิธราชธรรม ปกครอง กษัตริย์ให้การรับรองและอุปถัมภ์พุทธศาสนา
พระเจ้าอโศกมหาราช (พ.ศ. ๒๗๐ - ๓๑๑) - เป็นผู้อุปถัมภ์พุทธศาสนาคนสาคัญและเป็นประธานการสังคายนาครั้งที่ ๓
พระเจ้ามิลินท์ (ช่วงพ.ศ. ๕๐๐) - ผู้มีปัญญามาก อุปถัมภ์พุทธศาสนา และออกผนวช บรรลุอรหันต์
พุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
สาเหตุที่พุทธศาสนาเสื่อมไปจากชมพูทวีป
• ในราชวงศ์พระเจ้ายักษะปาละ เสนาบดีพราหมณ์ชื่อ ราวเสน ได้ก่อกบฏ และยึดอานาจ
ในราชวงศ์จึงไม่มีผู้นับถือศาสนาพุทธ
• ต่อมามีกองทัพอิสลาม โดย บักติยาขิลจิ ได้ยกกาลังทาลายล้างพุทธศาสนาสถาน
รวมถึงนาลันทามหาวิทยาลัย และฆ่าพระภิกษุสงฆ์
• ศาสนาฮินดูยังคงดารงอยู่ตลอด ตั้งแต่ก่อน พระพุทธศาสนาบังเกิด และอยู่คู่กันตลอด
มามิได้หายไปจากสังคมอินเดีย เพราะเมื่อพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง ก็ไม่ได้เบียดเบียนหรือ
ล้มล้างศาสนาอื่น
• ศาสนาฮินดูยุคหลังสามารถสอนพระเวทได้ทั้งคฤหัสถ์และบรรชิต จึงแพร่หลายมาก
• พราหมณ์ชื่อ สังกราจารย์ ได้ยกพระพุทธเจ้าเป็นปางอวตารที่ ๙ ของพระนารายณ์ พุทธ
ศาสนาจึงถูกเลือนหายไป
พ.ศ. ๑๗๐๐ – พ.ศ.๒๔๐๐
พ.ศ. ๒๔๙๐ - อินเดียได้รับเอกราชจากอังกฤษ
พ.ศ. ๒๓๙๕ - นายพลอเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม นักโบราณคดีชาวอังกฤษ ค้นพบซากเสาอโศก และนาลันทามหาวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๔๒๒ - เซอร์ เอดวิน อาร์โนล ชาวอังกฤษ ประพันธ์เรื่อง “ประทีปแห่งทวีปเอเชีย” (The Light of Asia)
พ.ศ. ๒๔๒๔ - มิสเตอร์ที.ดับบลิว. รีดส์ เดวิดส์ ชาวอังกฤษ ก่อตั้งสมาคมบาลีปกรณ์ (Pali Text Society)
พ.ศ. ๒๔๓๔ - ท่านอนาคาริกธรรมปาละ ชาวศรีลังกา ได้ฟื้นฟูพุทธคยาและพุทธโบราณสถาน และตั้งสมาคมมหาโพธิ
พ.ศ. ๒๔๓๕ - ปราชญ์ชาวอินเดียก่อตั้งสมาคมพุทธศาสนปกรณ์ (The Buddhist Text Society) เมืองกัลกัตตา
พ.ศ. ๒๔๙๔ - รัฐบาลแห่งแคว้นพิหารได้ตั้งนาลันทามหาวิหารขึ้น เป็นสถาบันศึกษาวิจัยพุทธศาสนาและบาลี ตั้งใกล้กับ
นานลันทามหาวิทยาลัยเดิม
พ.ศ. ๒๔๙๙ - งานพุทธชยันตี ๒๕๐๐ ที่เมืองบอมเบย์ (มุมไบ) ท่านศรี เนรูห์ นายกฯ อินเดีย เป็นประธานในงาน
พ.ศ. ๒๔๙๙ - ดร. บี อาร์ เอ็มเบ็ดการ์ ได้นาชาวฮินดูวรรณศูทรกว่าล้านคน ปฏิญาณตนเปลี่ยนศาสนาจากฮินดูเป็นพุทธ
ก่อตั้งวิทยาลัยสิทธารนาถวิทยาลัย (ศึกษาทางนิติศาสตร์โดยนาหลักธรรมไปใช้)
พ.ศ. ๒๕๑๕ - เกิดผลงานนักปราชญ์ชาวอินเดียมากมาย
--- ผศ.พินเยนทรนาช เชาธุรี ค้นคว้าเรียบเรียงเรื่องพุทธสถานโบราณในอินเดีย ๓๐๐ กว่าเมือง
--- ศ. ดร. ลาล มณี โชคี, มหาวิทยาลัยปัญจาบ ฮาร์วาร์ด และ ศ. ศัตการี มุเขอร์จี –เสนอความจริงว่า พุทธ ไม่ใช่ ฮินดู
--- เกิดหนังสือ Buddha As Seen By Three Illustrious Sons Of India (พระพุทธเจ้าในทัศนะของสาม
รัตนะบุรุษของอินเดีย: รพินทรนาถ ฐากูร, มหาตมา คานธี และ ยวาหระลาล เนรูห์)
ปัจจุบัน – อินเดียมีผู้นับถือศาสนาพุทธน้อย การนับถือจะกลมกลืนกับศาสนาฮินดูมาก แต่ยังมีพุทธสถานโบราณที่คนทั่ว
โลกเดินทางไปบูขา
พ.ศ. ๒๔๐๐ – ปัจจุบัน
อิมสฺมึ ปน กถาปริโยสาเน มหาธีรกิตฺติภิกฺขุ ปญฺญาวุฑฺฒภิกฺขุ อญฺชลี นาม มหาอุปาสิกา จาติ มย กลฺยาณจิตฺ
เตน รตนตฺตยานุภาว อาทิสฺส เทวปวีนาจริยสฺส จ สพฺเพส มหาปณฺฑิตานญฺจ ปสิทฺธิวร ททาม อนุโมทาม ตุมฺเห
จ สิกฺขาปาร ปปฺโปถ ฯ
รตนตฺตยานุภาเวน รตนตฺตยเตชสา
ยญฺจ โข สกฺกต โหติ เอตสฺสานุภาวโต
อโรคา โหถ นิทฺทุกฺขา นิสฺโสกา อกุโตภยา
สมคฺคา จ พลูเปตา ทกฺขา กิจฺจปยุญฺชเน
อิทฺธึ ปปฺโปถ เวปุลฺล วิรุฬฺหึ จุตฺตรึ สทา ฯ
โสตฺถิ ภนฺเต อนุโมทามิ สาธุ สาธุ สาธุ ฯ
ดาวน์โหลดไฟล์งานนาเสนอนี้และวิชาอื่นๆได้ที่
www.BuddhaBucha.net/download
ส่วนในที่สุดแห่งการกล่าวนาเสนองานนี้ ข้าพเจ้าทั้งหลาย คือ พระมหาธีรพันธ์ ธีรกิตฺติ พระรังสรรค์
ปญฺญาวุฑฺโฒ และนางสาวอัญชลีขอตั้งกัลยาณจิตอ้างอิงคุณพระศรีรัตนไตร ให้พรกล่าวขอขอบคุณ อาจารย์
ดร.เทพประวิณ และพระนิสิตมหาบัณฑิตทั้งหลาย ขอให้ พวกท่านทั้งหลายจงถึงฝั่งแห่งการศึกษาเทอญ
ด้วยอานุภาพและตบะเดชะของพระรัตนไตร บุญกุศลใดแลที่ท่านทั้งหลายได้กระทา ด้วยอานุภาพแห่งบุญนั้น
ขอให้ท่านทั้งหลาย จงเป็นผู้ไม่มีโรค ไม่มีทุกข์ ไม่มีความโศกเศร้า ไม่มีภัยทั้งภายในและภายนอก เป็นผู้รักใคร่
สามัคคีกัน มีพละกาลังแกร่งกล้าสามารถและเป็นผู้ขยันในการงานที่จะพึงทา จงได้ถึงความเจริญรุ่งเรืองไพบูลย์
แผ่ไพศาลยิ่งๆขึ้นไปเทอญ
ขอสวัสดี ขอบพระคุณท่านทั้งหลาย สาธุ ๆ ๆ ๆ ฯ
ดาวน์โหลดไฟล์งานนาเสนอนี้และวิชาอื่นๆได้ที่
www.BuddhaBucha.net/download
ขอขอบพระคุณในการติดตามชม หวังว่าการนาเสนอครั้งนี้จะทาให้ท่านเข้าใจถึงความเป็นไป
ของพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียมากขึ้น
และจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาพุทธศาสนาของทุกท่านต่อไป
ขออนุโมทนาสาธุในบุญทุกประการของทุกท่าน
และขอให้เจริญร่มเย็นในธรรม ตลอดกาลเทอญ สาธุ...
शुक्रिया अपने देख के लिए
मुझे उम्मीद है क्रक इस प्रस्तुतत आप भारत में मूि बौद्ध धमम
के बारे में समझ जाएगा और अपने बौद्ध अध्ययन के लिए
िाभ मैं अपने सभी योग्यता के साथ आनन्ददत तुम हमेशा सब
सुख की कामना नमस्ते

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
numattapon
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Mais procurados (20)

Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 

Destaque

ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
Anchalee BuddhaBucha
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
Suriyawaranya Asatthasonthi
 

Destaque (9)

พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
2
22
2
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 

Semelhante a พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย

โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
pentanino
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
Heritagecivil Kasetsart
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
hall999
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
hall999
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
Heritagecivil Kasetsart
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
oraneehussem
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540
 

Semelhante a พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย (20)

โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
 
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-hisแผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
 
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
 
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
 
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวนร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
 
ใบความรู้ พุทธสาวก ป.1+417+dltvsocp1+55t2soc p01 f26-4page
ใบความรู้ พุทธสาวก ป.1+417+dltvsocp1+55t2soc p01 f26-4pageใบความรู้ พุทธสาวก ป.1+417+dltvsocp1+55t2soc p01 f26-4page
ใบความรู้ พุทธสาวก ป.1+417+dltvsocp1+55t2soc p01 f26-4page
 
ใบความรู้ พุทธสาวก ป.1+417+dltvsocp1+55t2soc p01 f26-1page
ใบความรู้ พุทธสาวก ป.1+417+dltvsocp1+55t2soc p01 f26-1pageใบความรู้ พุทธสาวก ป.1+417+dltvsocp1+55t2soc p01 f26-1page
ใบความรู้ พุทธสาวก ป.1+417+dltvsocp1+55t2soc p01 f26-1page
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 

Mais de Anchalee BuddhaBucha

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
Anchalee BuddhaBucha
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
Anchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
Anchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
Anchalee BuddhaBucha
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Anchalee BuddhaBucha
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
Anchalee BuddhaBucha
 

Mais de Anchalee BuddhaBucha (14)

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 

พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย

  • 1. อิทธิพลของพระพุทธศาสนาเถรวาท ที่มีต่อประเทศอินเดีย จัดทาโดย พระมหาธีรพันธ์ ธีรกิตติ พระรังสรรค์ ปญญาวุฑโฒ นางสาวอัญชลี จตุรานน นาเสนอ อาจารย์ ดร. เทพประวิณ จันทร์แรง วิชา พระพุทธศาสนาเถรวาท ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ และเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
  • 2. วัตถุประสงค์และประโยชน์จากงานนาเสนอ • เข้าใจถึงความเป็นมาของพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียตั้งแต่ช่วงพุทธกาลจนถึง ปีพ.ศ. ๑๗๐๐ ทั้งในด้านสังคม, การศึกษา, การเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจ • เข้าใจถึงสาเหตุที่พุทธศาสนาเถรวาทเลือนหายไปจากอินเดียในช่วงปีพ.ศ. ๑๗๐๐ - พ.ศ. ๒๔๐๐ • ทราบและเข้าใจถึงเหตุการณ์การฟื้นฟูพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย เริ่มตั้งแต่ ในช่วงปีพ.ศ. ๒๔๐๐ • ทราบถึงเหตุการณ์ และบุคคลสาคัญผู้มีส่วนในการฟื้นฟู พุทธศาสนาเถรวาทคืนสู่อินเดีย และเผยแพร่สู่ทั่วโลก • เข้าใจถึงอิทธิพลของพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ในยุค ปัจจุบัน
  • 3. โครงสร้างเนื้อหาการนาเสนอ อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย อิทธิพลของพุทธศาสนาเถร วาทในอินเดียตั้งแต่ช่วง พุทธกาล - พ.ศ. ๑๗๐๐ • ด้านสังคม •ด้านศาสนา • ด้านการศึกษา • ด้านศิลปะ • ด้านเศรษฐกิจ • ด้านการเมือง • พระเจ้าอโศกมหาราช • พระเจ้ามิลินท์ ช่วงที่พุทธศาสนาเลือน หายไปจากอินเดีย พ.ศ. ๑๗๐๐ – พ.ศ. ๒๔๐๐ • สาเหตุจากการใช้กาลัง ทาลายล้าง • สาเหตุจากการกลืนศาสนา พุทธเข้ากับศาสนาฮินดู ช่วงที่พุทธศาสนาได้รับการ ฟื้นฟูคืนสู่อินเดีย พ.ศ. ๒๔๐๐ – ปัจจุบัน • ชาวตะวันตกหันมาสนใจ ศึกษา ค้นคว้าทางพุทธ ศาสนา • มีการตั้งสมาคมต่างๆ และ ฟื้นฟูพุทธสถาน • ดร. เอ็มเบ็ดการ์ ผู้นาชาว พุทธใหม่ • พุทธศาสนาในอินเดีย ปัจจุบัน
  • 4. ประวัติประเทศอินเดียโดยสังเขป • สมัยพุทธกาลเรียกว่า ชมพูทวีป มีภาษาพูดกว่า ๒๐๐ ภาษา • พ.ศ. ๒๔๙๐ อังกฤษคืนเอกราช จึงมีการแบ่งแคว้นต่างๆเป็นเขตประเทศ เขตประเทศ ระบบการปกครอง จานวนประชากร นับถือศาสนา เมืองหลวง สาธารณรัฐอินเดีย สหพันธ์สาธารณรัฐ ๑,๑๖๙ ล้านคน ฮินดู, อิสลาม, ซิกข์, เชน, ปาร์รีส์, คริสเตียน นิวเดลี สาธารณรัฐอิสลาม ปากีสถาน สาธารณรัฐ ๑๖๑ ล้านคน อิสลาม อิสลามาบัด สาธารณรัฐประชาชน บังคลาเทศ สาธารณรัฐ ๑๕๘ ล้านคน อิสลาม ธากา ราชอาณาจักรเนปาล ประชาธิปไตยแบบฮินดู มีพระมหากษัตริย์เป็น ประมุข ๒๘ ล้านคน ฮินดู, พุทธ, อิสลาม กาฏมันฑุ ราชอาณาจักรภูฐาน ประชาธิปไตย ๒ ล้านคน พุทธศาสนา ทิมบู
  • 5. ภูมิประเทศอินเดีย • อากาศหนาวที่สุด (เทือกเขาหิมาลัย) จนถึงร้อนที่สุด (ทะเลทรายแคว้นราช สถาน อินเดียตะวันตกและ ทางใต้) • เขตอุดมสมบูรณ์คือแถบลุ่มแม่น้า สินธุ และคงคา และภาคใต้ • มีเขตฝนตกชุกคือ อินเดียตะวันออก ต่อแดนพม่า • ลักษณะประเทศเป็นแหลมยื่นลง มหาสมุทร
  • 6. ความเป็นไปของพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย พุทธกาล - พ.ศ. ๕๐๐ เป็นยุคที่พุทธศาสนาเจริญในอินเดียสูงที่สุด มีอิทธิพลทั้ง ทางด้านสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ พ.ศ. ๕๐๐ - พ.ศ. ๑๗๐๐ ศึกษาเฉพาะบางเรื่องที่เด่นชัดและสาคัญ พ.ศ. ๑๗๐๐ - พ.ศ. ๒๔๐๐ พุทธศาสนาเสื่อมไปจากชมพูทวีป พ.ศ. ๒๔๐๐ - ปัจจุบัน มีการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาคืนสู่ชมพูทวีป
  • 7. อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ช่วงพุทธกาล– พ.ศ. ๑๗๐๐ ด้านสังคม ชนชั้นวรรณะ, ครอบครัว, การสาธารณสุข, การประปา, การศึกษา, ศิลปะ ด้านเศรษฐกิจ การค้า, การฝีมือ, งานช่าง, งานอาชีพ, เกษตรกรรม, การเก็บภาษีอากร ด้านการเมือง ระบบการปกครอง, กฎหมาย, การทูต วัฒนธรรมการเมือง, บทบาททางการเมือง ด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม แบ่งเป็นยุคก่อนมีพระพุทธรูป และยุคหลังสร้างพระพุทธรูป
  • 8. อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐ สถาบันสังคม สังคมอินเดียมีการจัดระบบวรรณะ ๔ คือ กษัตริย์, พราหมณ์, แพศย์, ศูทร ศาสนาพุทธเน้นความเสมอภาค ล้างระบบ วรรณะ เน้นคุณค่าของชีวิตที่เกิดจากการ กระทา ถือเป็นแนวคิดที่แปลกใหม่ในยุคนี้
  • 9. อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐ สวัสดิการสังคม พระเจ้าอโศกมหาราชได้สร้างโรงพยาบาลรักษาคนและสัตว์ การประปา และ คมนาคม ทั้งในแคว้นของท่าน และเผื่อแผ่ไปถึงราชอาณาจักรของกษัตริย์กรีกองค์ อื่นๆ อีก ๔ พระองค์ หลักฐานเรื่องนี้ปรากฏในศิลาจารึกของพระเจ้า อโศก อัครศาสนูปถัมภ์ ฉบับที่ ๒ (ในช่วงพุทธ ศตวรรษที่ ๒) เสาจารึก พระเจ้าอโศกมหาราช
  • 10. การศาสนา พระพุทธศาสนาแพร่หลายเร็วเพราะมีความเสมอภาค ไม่แบ่งชั้นวรรณะ อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐ การแพร่หลายเร็ว มีส่วนทาให้เกิดภิกษุ อลัชชีขึ้นจานวนมาก จึงเป็นเหตุให้มีการสังคายนาครั้งที่ ๓ และส่งสมณทูตไปเผยแพร่พุทธศาสนา ในประเทศต่างๆถึง ๙ สาย
  • 11. การศึกษา • การศึกษายึดหลัก สมภาพ, เสรีภาพ, ภราดรภาพ และ การศึกษาแบบให้เปล่า อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐ • แต่เดิมวรรณะศูทรและนอกวรรณะ ไม่มี สิทธิเรียนคัมภีร์พระเวท • การศึกษาขยายตัวจากครัวเรือน สู่ สังคม • การศึกษาครอบคลุมทั้งบรรพชิตและ คฤหัสถ์
  • 12. การศึกษา - กาเนิดมหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลก  นาลันทามหาวิทยาลัย – ทางฝั่งอินเดียตะวันออกมีชื่อเสียงเด่นทางมหายาน และภาษาบาลี วิชาหลักธรรมมหายานเป็นภาคบังคับ และมีวิชาฝ่ายเถรวาท, นิรุกติศาสตร์, ปรัชญา, ฯลฯ อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐  มหาวิยาลัยวลภี – ทางฝั่งอินเดีย ตะวันตก ให้การศึกษาทุกนิกาย แต่เน้น วิชาฝ่ายเถรวาท และมีวิชาการทางโลก ด้วย วลภีเป็นเมืองศูนย์กลางการศึกษา ที่สาคัญ ซากปรักหักพังของนาลันทา มหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลก
  • 13. การศึกษา - บ่อเกิดแห่งนักปราชญ์ พระพุทธทัตตะ (พ.ศ. ๙๔๐-๑๐๐๐) – อภิธรรมาวตาร, อุตรวินิจฉัย, วินยวินิจฉัย, รูปารูปวินิจฉัย, มธุรัตถวิลาสินี ฯลฯ อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้านสังคม ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐ พระพุทธโฆษาจารย์ (พ.ศ. ๙๔๕-๑๐๐๐) – สมันตปาสาทิ กา, กังขาวิตรณี, สารัตถปกาสินี, วิสุทธิมรรค ฯลฯ พระธัมปาละ (พ.ศ. ๙๕๐-๑๐๐๐) – ปรมัตถทีปนี, อรรถ กถาเปตวัตถุ, อรรถกถาวิสุทธิมรรค ฯลฯ นิทานชาดกถูกแปลเป็นหลายภาษา และมีอิทธิพลต่อนิทาน ของประเทศอื่นๆหลายประเทศ เช่น นิทานอีสป คัมภีร์วิสุทธิมรรค ภาษาไทย
  • 14. อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้าน ศิลปวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม ช่วงปี พ.ศ. ๑๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐ พ.ศ. ๑๐๐ - ๕๐๐ ยุคก่อนมีพระพุทธรูป ใช้สัญลักษณ์แทน พ.ศ. ๕๐๐ - ๑๗๐๐ ยุคหลังการสร้างพระพุทธรูป มีศิลปะสมัยต่างๆ
  • 15. อิทธิพลด้านศิลปวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม ช่วงปี พ.ศ. ๑๐๐ – พ.ศ. ๕๐๐ พ.ศ. ๑๐๐ – ๕๐๐ ยุคก่อนมีพระพุทธรูป • พระเจ้าอโศกมหาราช สร้างวัด ๘๔,๐๐๐ แห่ง • สถาปัตยกรรม ใช้หินแทนไม้ • นิยมการสร้างสถูป ที่ยังเหลืออยู่คือ สาญจิสถูป • ประติมากรรม เน้นงานแกะสลัก • ศิลาจารึก เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่คงทน • งานศิลปะเน้นนามธรรม และสัญลักษณ์แทน เช่น ดอกบัวแทนปางประสูติ ต้นโพธิ์แทนปางตรัสรู้ ธรรมจักรแทน ปางปฐมเทศนาและพระสถูปแทนปาง ปรินิพพาน
  • 16. พ.ศ. ๕๐๐ – ๑๗๐๐ ยุคหลังสร้างพระพุทธรูป • ยุคแรกที่สร้างพระพุทธรูป คือยุคของพระเจ้ามิลินท์ อิทธิพลด้านศิลปวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม ช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐ • กษัตริย์ราชวงศ์ศาตวหานะ มี อานาจรุ่งเรือง และทานุบารุงพุทธ ศาสนา • สนับสนุน สาญจิ, อมราวดี และ นาคารชุนโกณฑะ เป็นต้น
  • 17. ศิลปะแบบคันธารราฐ (Gandhara) พ.ศ. ๖๐๐ - ๗๐๐ พระพุทธรูปยุคแรก ได้รับอิทธิพลจากรูปปั้นเทพเจ้าของกรีก ศิลปะแบบมถุรา (Mathura) พ.ศ. ๖๐๐ - ๙๐๐ ใกล้เคียงกับแบบคันธารราฐ ลักษณะเด่นคือ ฐานเป็นสิงห์ ประดับด้วยรูปพระโพธิสัตว์และสาวก อิทธิพลด้านศิลปวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม ช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐
  • 18. ศิลปะแบบปาละ (Pala) พ.ศ. ๑๔๐๐ - ๑๘๐๐ ผสมผสานคติของพราหมณ์ พระพักตร์คม พระ ขนงคมชัด พระนาสิกโด่งงุ้ม จีวรแนบเนื้อ ศิลปะแบบคุปตะ (Gupta) พ.ศ. ๙๐๐ - ๑๓๐๐ อิทธิพลด้านศิลปวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม ช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐ เป็นลักษณะของอินเดียอย่างแท้จริง พระเกศาขมวดเป็นก้น หอยเช่นเดียวกับสมัยมถุรา พระเกตุมาลาเป็นต่อม พระ พักตร์เป็นแบบอินเดีย ห่มจีวรบางแนบติดพระองค์
  • 19. ศิลปะอมราวดี (Amaravati) พ.ศ. ๖๐๐ - ๗๐๐ พระพักตร์งดงาม จีวรเป็นริ้วระเบียบทอดยาว จรดขอบพระบาท นิยมแต่งลายที่ฐาน ศิลปะจาลุกยะ (Chalukya) ได้รับอิทธิพลจากคุปตะ ศิลปะโจฬะ (Chola) พราหมณ์เริ่มเฟื่องฟู พระพักตร์ทรงรี คาง หยิก บั้นพระองค์คอด ศิลปะสกุลช่างใต้ ช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐
  • 20. ศิลปะแบบสาญจิ ช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐ – พ.ศ. ๑๗๐๐ ถ้าอชันตา (Achanta) มีโบราณสถานที่เป็นวิหาร ที่เจาะเข้าไปในภูเขาลึก ๑๒๐๐ แห่ง (พราหมณ์ ๒๐๐, เชน ๑๐๐, พุทธ ๙๐๐) ห้องสมุดเป็นอาคารใหญ่ ๓ หลัง หลังหนึ่งสูงถึง ๙ ชั้น ประณีตวิจิตรกว่างานก่อสร้างอิฐในยุคต่อๆมา มหาวิทยาลัยนาลันทา
  • 21. บทบาทของวัดและพระสงฆ์ทางสังคม ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐ • ชาวบ้านส่งลูกหลานมาร่าเรียนที่วัด, รับใช้พระสงฆ์ • ชาวบ้านมาฟังธรรมเทศนา • วัดเป็นสถานที่พยาบาล เป็นแหล่ง ตาราแพทย์ • วัดเป็นที่พักพิงของคนเดินทาง • วัดเป็นศูนย์กลางศิลปะ วัฒนธรรม • วัดเป็นที่ช่วยแก้ทุกข์ของชาวบ้าน
  • 22. อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียด้าน เศรษฐกิจช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐ สัมมาอาชีวะ ไม่ค้าอาวุธ, ไม่ค้ามนุษย์, ไม่ค้าเนื้อสัตว์, ไม่ค้าน้าเมา, ไม่ค้ายาพิษ ทิฏฐิธัมมิกัตถประโยชน์ ๔ ขยัน, อดออม, คบเพื่อนดี และไม่ฟุ่มเฟือย อาชีพที่นิยม ค้าขาย, รับราชการ, งานช่างฝีมือ อิทธิพลของหลักอหิงสา คนทาอาชีพฆ่าสัตว์น้อยลง หันมาทาเกษตรกรรม
  • 23. การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การกาหนดกฎหมาย นโยบายต่างๆ ใช้หลักแห่งพุทธธรรม ไม่ใช้ ความรุนแรง เรียกว่าระบบสามัคคีธรรม ความชอบธรรมทางการเมือง กฎเกณฑ์ทางศีลธรรมมีอิทธิพลกับการจัดระเบียบทางสังคม การปกครองใช้หลักทศพิธราชธรรม พระเป็นที่ปรึกษาของกษัตริย์ และประชาชน รัฐรับรองพุทธศาสนา กษัตริย์ให้การรับรองถึงความสาคัญของพุทธ ศาสนา มีพิธีกรรมทางพุทธคู่กับพระราชพิธีต่างๆ กษัตริย์ทานุบารุงพุทธศาสนา อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ด้านการเมือง ช่วงพุทธกาล– พ.ศ. ๑๗๐๐ บทบาทของพระสงฆ์
  • 24. ราชอาณาจักรครั้งพุทธกาล ๔ แห่ง ๑.) มคธ ๒.) โกศล ๓.) วังสะ ๔.) อวันตี อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ด้านการเมือง ช่วงพุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
  • 25. • ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมริยะ ผู้ปรีชาสามารถ พระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ ทรงปกครองแคว้นมคธ มีพระราช ธานีชื่อว่า ปาฏลีบุตร (ปัจจุบันเรียกว่า ปัฏนะ Patna) ทรง เป็นพระโอรสของพระเจ้าพินทุสารแห่งราชวงศ์โมริยะ พระมารดานามว่าศิริธรรม พระเจ้าอโศกมีพระโอรส และธิดา ๑๑ พระองค์ พระเจ้าอโศกมหาราช (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๗๐ – ๓๑๑) • เดิมเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่โหดร้าย ชอบการทาสงครามกับแว่นแคว้นต่าง ๆ จนได้รับ สมญานามว่า จัณฑาโศกราช (พระเจ้าอโศกผู้โหดเหี้ยม) • ได้ฟังธรรมจากนิโครธสามเณร และ พระสมุทรเถระ จึงเกิดความเลื่อมใสในพุทธศาสนา
  • 26. พระเจ้าอโศกมหาราช (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๗๐ – ๓๑๑) • หันมานับถือพระพุทธศาสนา อุปถัมภ์พุทธศาสนา และปกครองด้วยทศพิธราชธรรม ภายหลังทรงได้รับการขนานพระราชสมัญญานามว่า ธรรมาโศกราช (พระเจ้าอโศกผู้ ทรงธรรม) ๑. ทาน ๒. ศีล ๓. บริจาค ๔. ความซื่อตรง ๕. ความอ่อนโยน ๖. ความเพียร ๗. ความไม่โกรธ ๘. ความไม่เบียดเบียน ๙. ความอดทน ๑๐. ความเที่ยงธรรม ทศพิธราชธรรม
  • 27. ผลงานด้านการปกครอง ปกครองแบบบิดากับบุตร, สั่งสอนธรรม, จัดบริการสาธารณประโยชน์แบบสังคม สงเคราะห์ ผลงานด้านการปฏิบัติธรรม ผลงานด้านศาสนา เน้นการทาทาน (ทั้งสิ่งของและธรรมทาน), งดการบูชายัญ,สอนให้ปฏิบัติธรรม และให้ เสรีภาพในการนับถือศาสนา ทรงทานุบารุงพุทธศาสนา, สนับสนุน การทาการสังคายนาครั้งที่ ๓ และส่ง สมณทูตไปเผยแพร่ศาสนา ทรงสร้าง วัด, ศิลาจารึก และเสาอโศก ซึ่งเป็น หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญ ของพุทธศาสนา ผลงานพระเจ้าอโศกมหาราช
  • 28. • ทรงเป็นกษัตรย์เชื้อสายกรีก เข้ามาตีเมืองอินเดียได้ เมืองปัญจาปคันธาระ จึงสถาปนาเมืองสาคละเป็นราชธานี เป็นผู้แตกฉานในไตรเภท โต้วาทีชนะพราหมณ์ทั้งหมด • จนได้มาพบพระนาคเสน เกิดความเลื่อมใสศรัทธาใน พุทธศาสนา • ทรงอุปถัมภ์พุทธศาสนา ต่อมาได้เสด็จออกผนวชและ บรรลุอรหัตผล • มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์อ้างอิงว่าพระเจ้ามิลินท์มีอยู่ จริงคือ เหรียญพระยามิลินท์ Basileus Soteros Menandros พระเจ้ามิลินท์ (ประมาณช่วงปี พ.ศ. ๕๐๐)
  • 29. อุปถัมภ์และเผยแพร่พุทธศาสนา ทรงทานุบารุงพุทธศาสนา สร้างวิหารหลายแห่ง, ทรงบารุงพระขีณาสพถึง ๑๐ โกฎิรูป , ทรงเผยแพร่พุทธศาสนาไปไกล รวมถึงกรีก ผลงานพระเจ้ามิลินท์ พระพุทธรูปองค์แรก ต้นกาเนิดคัมภีร์มิลินทปัญหา เป็นยุคแรกที่เริ่มมีการสร้างพระพุทธรูป โดยได้รับอิทธิพลจาก ศิลปะกรีก รวบรวมถาม-ตอบ จาก สติปัญญาอันเป็นเลิศของพระ นาคเสนและพระเจ้ามิลินท์
  • 30. พุทธศาสนาเลือนหายไปจากชมพูทวีป (พ.ศ. ๑๗๐๐ – ๒๔๐๐) สาเหตุ - ถูกล้มล้าง • ในราชวงศ์พระเจ้ายักษะปาละ เสนาบดีพราหมณ์ ชื่อ ราวเสน ได้ก่อกบฏ และยึดอานาจ ในราชวงศ์ จึงไม่มีผู้นับถือศาสนาพุทธ • ต่อมามีกองทัพอิสลาม โดย บักติยาขิลจิ ได้ยก กาลังทาลายล้างพุทธศาสนาสถาน รวมถึงนาลันทา มหาวิทยาลัย และฆ่าพระภิกษุสงฆ์
  • 31. พุทธศาสนาเลือนหายไปจากชมพูทวีป (พ.ศ. ๑๗๐๐ – ๒๔๐๐) ศาสนาฮินดูยังคงดารงอยู่ตลอด ตั้งแต่ก่อน พระพุทธศาสนาบังเกิด และอยู่คู่กัน ตลอดมามิได้หายไปจากสังคมอินเดีย เพราะเมื่อพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง ก็ไม่ได้ เบียดเบียนหรือล้มล้างศาสนาอื่น ศาสนาฮินดูยุคหลัง สามารถสอนพระเวท ได้ทั้งคฤหัสถ์และบรรชิต จึงแพร่หลาย มาก ต่อมาพราหมณ์ชื่อ สังกราจารย์ ได้ยก พระพุทธเจ้าเป็นปางอวตารที่ ๙ ของพระ นารายณ์ พุทธศาสนาจึงถูกเลือนหายไป สาเหตุ – ถูกลืมเลือน และกลมกลืน
  • 32. พ.ศ. ๒๓๒๗ – ชมพูทวีปตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ ๑๕ สิงหาคม ๒๔๙๐ – อินเดียได้รับเอกราช และแยกประเทศเป็น อินเดีย และ ปากีสถาน ก่อนตกเป็นอาณานิคม – ศาสนาพุทธเริ่มจางหายไปจากอินเดีย ช่วงเป็นอาณานิคม – ศาสนาฮินดูเฟื่องฟู พุทธถูกผสานรวมเข้ากันฮินดู หลังได้รับเอกราช – ชาวยุโรปริเริ่มศึกษาค้นคว้าพุทธศาสนา และพุทธสถาน โบราณ ส่งผลให้ต่อมานักปราชญ์ชาวอินเดียเริ่มกลับมาตื่นตัวกับการศึกษาและ ฟื้นฟูพุทธศาสนา อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
  • 33. พ.ศ. ๒๓๙๕ – นายพลอเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม เป็นนักโบราณคดีชาวอังกฤษผู้สนใจในพุทธศาสนาและเป็น ผู้ค้นคว้าและขุดค้นหลักฐานเกี่ยวกับพระเจ้าอโศกมหาราช และนาลันทามหาวิทยาลัย อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐ ซากปรักหักพังของนาลันทามหาวิทยาลัย เสาอโศกมหาราชที่ขุดพบ
  • 34. ชาวอังกฤษผู้ประพันธ์เรื่อง “ประทีปแห่งทวีปเอเชีย” (The Light of Asia) พุทธประวัติที่ไพเราะและลึกซึ้ง ทาให้ชาวอินเดียหัน กลับมาสนใจพุทธศาสนา และชาวตะวันตกเริ่มมาสนใจและศึกษา พุทธศาสนาอย่างจริงจัง อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐ พ.ศ. ๒๔๒๒ – เซอร์ เอดวิน อาร์โนล
  • 35. ชาวอังกฤษผู้ก่อตั้งสมาคมบาลีปกรณ์ (Pali Text Society) แปลและจัดพิมพ์พระไตรปิฎกและคัมภีร์ต่างๆทางพุทธศาสนาเป็น ภาษาอังกฤษ ด้วยทุนส่วนตัว พ.ศ. ๒๔๒๔ – Mr. T.W. Ryds Davids อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐
  • 36. พ.ศ. ๒๔๓๔ - ท่านอนาคาริกธรรมปาละ • เป็นชาวศรีลังกา เกิดในครอบครัวชาวคริสต์ที่มั่งคั่ง สนใจศึกษาภาษาอังกฤษตั้งแต่เล็ก • ต่อมาได้อ่านหนังสือเรื่อง ประทีปแห่งทวีปเอเชีย และ เกิดความศรัทธามาก จึงเดินทางมาที่พุทธคยาและ ตั้งใจจะฟื้นฟูพุทธคยาและพุทธโบราณสถาน จึงตั้ง สมาคมมหาโพธิ และทางานเผยแพร่พุทธศาสนา • ได้บวชเป็นพระภิกษุในช่วงปัจฉิมวัย และตั้งจิตจะเกิด ใหม่เพื่อมาเผยแพร่พุทธศาสนาต่อไป อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐ สมาคมมหาโพธิ
  • 37. พ.ศ. ๒๔๓๕ – สมาคมพุทธศาสนปกรณ์ (The Buddhist Text Society) • ปราชญ์ชาวอินเดียร่วมกันก่อตั้งสมาคมพุทธศาสนปกรณ์ ณ เมืองกัลกัตตา ถือเป็น ความตื่นตัวหลังจากได้เห็นชาวยุโรปมีความกระตือรือร้นสนใจในพุทธศาสนา อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐ • รัฐบาลแห่งแคว้นพิหารได้ตั้งนาลัน ทามหาวิหารขึ้น เป็นสถาบัน ศึกษาวิจัยพุทธศาสนาและบาลี ตั้ง ใกล้กับนาลันทามหาวิทยาลัยเดิม พ.ศ. ๒๔๙๔ – นาลันทามหาวิหาร นาลันทามหาวิหาร
  • 38. พ.ศ. ๒๔๙๙ – งานพุทธชยันตี ๒๕๐๐ ที่เมืองบอมเบย์ (มุมไบ) • ศรี เนรูห์ นายกฯ อินเดีย เป็นประธานในงาน กล่าวว่าท่านไม่นับถือ ศาสนาใด แต่ศรัทธา และปฏิบัติตามคาสอนของพุทธศาสนา และหาก ต้องเลือก ท่านจะเลือกนับถือศาสนาพุทธ • มีการจัดงานเฉลิมฉลองกันอย่างยิ่งใหญ่ อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐ ศรี เนรูห์
  • 39. พ.ศ. ๒๔๙๙ - ดร. บี อาร์ เอ็มเบ็ดการ์ • รมต.กระทรวงยุติธรรมของอินเดีย ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งรัฐธรรมนูนอินเดีย • ๑๔ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ เมืองนาคปุระ ท่านได้นาชาวฮินดูวรรณศูทรหลายแสนคน ปฏิญาณตนเปลี่ยนศาสนาจากฮินดูเป็นพุทธ โดยกล่าวว่า ‘ข้าพเจ้าเกิดมาจากตระกูลที่นับ ถือศาสนาฮินดู แต่ข้าพเจ้าขอตายในฐานะพุทธศาสนิกชน’ อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐ ดร. เอ็มเบ็ดการ์ •พุทธภาษิตประจาใจของท่านคือ ‘คนเราไม่ใช่ดีเพราะ โคตร ไม่ใช่ดีเพราะตระกูล ไม่ใช่ดีเพราะทรัพย์ แต่จะดี หรือชั่ว อยู่ที่การกระทาของบุคคลนั้นๆ’ • ก่อตั้งวิทยาลัยสิทธารนาถวิทยาลัย (ศึกษาทาง นิติศาสตร์โดยนาหลักธรรมไปใช้) ชาวฮินดูกว่าล้านคนปฏิญาณตนนับถือพุทธ
  • 40. พ.ศ. ๒๕๑๕ - ผลงานนักปราชญ์ชาวอินเดีย • ผศ.พินเยนทรนาช เชาธุรี, มหาวิยาลัยกัลกัตตา - ค้นคว้าเรียบเรียงเรื่องพุทธสถาน โบราณในอินเดีย ๓๐๐ กว่าเมือง อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐ • ศ. ดร. ลาล มณี โชคี, มหาวิทยาลัยปัญจาบ ฮาร์วาร์ด และ ศ. ศัตการี มุเขอร์จี – แต่ง หนังสือเสนอความจริงว่า พุทธ ไม่ใช่ ฮินดู
  • 41. มหาตมา คานธี - เป็นตัวอย่างในการนาคาสอน ของพระพุทธเจ้ามาเป็นหลักในการดาเนินชีวิต อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๐๐ – พ.ศ. ๒๕๐๐ พ.ศ. ๒๕๑๕ - ผลงานนักปราชญ์ชาวอินเดีย รพินทรนาถ ฐากูร - มีบทบาทในการให้นานา ประเทศเข้าใจกันยิ่งขึ้น ยวาหระลาล เนรูห์ - เทิดทูนพระพุทธเจ้าว่าเป็นผู้ ประเสริฐที่สุดในอินเดีย ทั้ง ๓ มหาบุรุษนี้ได้สดุดี พระพุทธเจ้าในหนังสือ Buddha As Seen By Three Illustrious Sons Of India (พระพุทธเจ้า ในทัศนะของสามรัตนะ บุรุษของอินเดีย)
  • 42. อิทธิพลพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย ในช่วงปัจจุบัน มีชาวอินเดียนับถือพุทธศาสนาจานวนน้อย ไม่ถึง ๒ เปอร์เซ็นต์ของประขากรทั้งหมด (๑. ฮินดู ๒. อิสลาม) การนับถือศาสนาพุทธจะกลมกลืนกับศาสนาฮินดูมาก ทั้งความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรม เพราะศาสนาฮินดูฝังรากลึกกลมกลืนกับวัฒนธรรมอินเดีย สังเวชนียสถาน และพุทธสถาน โบราณได้รับการฟื้นฟู และเป็น สถานที่ศักสิทธิ์ที่พุทธศาสนิกชน ทั่วโลกไปเยี่ยมชมและบูชา
  • 43. ก่อนตรัสรู้ - นับถือฮินดู มีการแบ่งชั้นวรรณะ หลังตรัสรู้ - มีทางเลือกนอกจากวรรณะ, เทพเจ้า พุทธกาล- ศาสนาพุทธเผยแพร่ในอินเดีย มีผู้บรรลุอรหัตผลมากมาย หลังพุทธปรินิพพาน ทางสังคม - อยู่แบบเกื้อกูลกัน กษัตริย์ดูแลแบบพ่อ-ลูก ทางศาสนา - แพร่หลายเร็ว แต่ก็มีความขัดแย้งบ้าง ทาให้เกิดการสังคายนา และมีการส่งสมณทูตไปเผยแพร่พุทธศาสนา การศึกษา - ไม่แบ่งชนชั้นวรรณะ เกิดนาลันทามหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยวลภี การศึกษารุ่งเรือง ช่วง พ.ศ. ๑๐๐๐ - เกิดนักปราชญ์มากมาย กาเนิดคัมภีร์สาคัญๆของพุทธศาสนา ศิลปะ พ.ศ. ๑๐๐ - ๕๐๐ - ยังไม่มีพระพุทธรูป ใช้สัญลักษณ์แทน พ.ศ. ๕๐๐ - ๑๗๐๐ - มีการสร้างพระพุทธรูปในสมัยต่างๆ เริ่มด้วยอิทธิพลกรีก โรมัน จากพระเจ้ามิลินท์ เศรษฐกิจ เน้นอหิงสา และ ทิฏฐิธัมมีกัตถประโยชน์ อาชีพฆ่าสัตว์ได้รับความนิยมน้อยลง นิยม รับราชการ, งานช่างฝีมือ การเมือง ใช้หลักพุทธธรรม, ทศพิธราชธรรม ปกครอง กษัตริย์ให้การรับรองและอุปถัมภ์พุทธศาสนา พระเจ้าอโศกมหาราช (พ.ศ. ๒๗๐ - ๓๑๑) - เป็นผู้อุปถัมภ์พุทธศาสนาคนสาคัญและเป็นประธานการสังคายนาครั้งที่ ๓ พระเจ้ามิลินท์ (ช่วงพ.ศ. ๕๐๐) - ผู้มีปัญญามาก อุปถัมภ์พุทธศาสนา และออกผนวช บรรลุอรหันต์ พุทธกาล – พ.ศ. ๑๗๐๐
  • 44. สาเหตุที่พุทธศาสนาเสื่อมไปจากชมพูทวีป • ในราชวงศ์พระเจ้ายักษะปาละ เสนาบดีพราหมณ์ชื่อ ราวเสน ได้ก่อกบฏ และยึดอานาจ ในราชวงศ์จึงไม่มีผู้นับถือศาสนาพุทธ • ต่อมามีกองทัพอิสลาม โดย บักติยาขิลจิ ได้ยกกาลังทาลายล้างพุทธศาสนาสถาน รวมถึงนาลันทามหาวิทยาลัย และฆ่าพระภิกษุสงฆ์ • ศาสนาฮินดูยังคงดารงอยู่ตลอด ตั้งแต่ก่อน พระพุทธศาสนาบังเกิด และอยู่คู่กันตลอด มามิได้หายไปจากสังคมอินเดีย เพราะเมื่อพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง ก็ไม่ได้เบียดเบียนหรือ ล้มล้างศาสนาอื่น • ศาสนาฮินดูยุคหลังสามารถสอนพระเวทได้ทั้งคฤหัสถ์และบรรชิต จึงแพร่หลายมาก • พราหมณ์ชื่อ สังกราจารย์ ได้ยกพระพุทธเจ้าเป็นปางอวตารที่ ๙ ของพระนารายณ์ พุทธ ศาสนาจึงถูกเลือนหายไป พ.ศ. ๑๗๐๐ – พ.ศ.๒๔๐๐
  • 45. พ.ศ. ๒๔๙๐ - อินเดียได้รับเอกราชจากอังกฤษ พ.ศ. ๒๓๙๕ - นายพลอเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม นักโบราณคดีชาวอังกฤษ ค้นพบซากเสาอโศก และนาลันทามหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๔๒๒ - เซอร์ เอดวิน อาร์โนล ชาวอังกฤษ ประพันธ์เรื่อง “ประทีปแห่งทวีปเอเชีย” (The Light of Asia) พ.ศ. ๒๔๒๔ - มิสเตอร์ที.ดับบลิว. รีดส์ เดวิดส์ ชาวอังกฤษ ก่อตั้งสมาคมบาลีปกรณ์ (Pali Text Society) พ.ศ. ๒๔๓๔ - ท่านอนาคาริกธรรมปาละ ชาวศรีลังกา ได้ฟื้นฟูพุทธคยาและพุทธโบราณสถาน และตั้งสมาคมมหาโพธิ พ.ศ. ๒๔๓๕ - ปราชญ์ชาวอินเดียก่อตั้งสมาคมพุทธศาสนปกรณ์ (The Buddhist Text Society) เมืองกัลกัตตา พ.ศ. ๒๔๙๔ - รัฐบาลแห่งแคว้นพิหารได้ตั้งนาลันทามหาวิหารขึ้น เป็นสถาบันศึกษาวิจัยพุทธศาสนาและบาลี ตั้งใกล้กับ นานลันทามหาวิทยาลัยเดิม พ.ศ. ๒๔๙๙ - งานพุทธชยันตี ๒๕๐๐ ที่เมืองบอมเบย์ (มุมไบ) ท่านศรี เนรูห์ นายกฯ อินเดีย เป็นประธานในงาน พ.ศ. ๒๔๙๙ - ดร. บี อาร์ เอ็มเบ็ดการ์ ได้นาชาวฮินดูวรรณศูทรกว่าล้านคน ปฏิญาณตนเปลี่ยนศาสนาจากฮินดูเป็นพุทธ ก่อตั้งวิทยาลัยสิทธารนาถวิทยาลัย (ศึกษาทางนิติศาสตร์โดยนาหลักธรรมไปใช้) พ.ศ. ๒๕๑๕ - เกิดผลงานนักปราชญ์ชาวอินเดียมากมาย --- ผศ.พินเยนทรนาช เชาธุรี ค้นคว้าเรียบเรียงเรื่องพุทธสถานโบราณในอินเดีย ๓๐๐ กว่าเมือง --- ศ. ดร. ลาล มณี โชคี, มหาวิทยาลัยปัญจาบ ฮาร์วาร์ด และ ศ. ศัตการี มุเขอร์จี –เสนอความจริงว่า พุทธ ไม่ใช่ ฮินดู --- เกิดหนังสือ Buddha As Seen By Three Illustrious Sons Of India (พระพุทธเจ้าในทัศนะของสาม รัตนะบุรุษของอินเดีย: รพินทรนาถ ฐากูร, มหาตมา คานธี และ ยวาหระลาล เนรูห์) ปัจจุบัน – อินเดียมีผู้นับถือศาสนาพุทธน้อย การนับถือจะกลมกลืนกับศาสนาฮินดูมาก แต่ยังมีพุทธสถานโบราณที่คนทั่ว โลกเดินทางไปบูขา พ.ศ. ๒๔๐๐ – ปัจจุบัน
  • 46. อิมสฺมึ ปน กถาปริโยสาเน มหาธีรกิตฺติภิกฺขุ ปญฺญาวุฑฺฒภิกฺขุ อญฺชลี นาม มหาอุปาสิกา จาติ มย กลฺยาณจิตฺ เตน รตนตฺตยานุภาว อาทิสฺส เทวปวีนาจริยสฺส จ สพฺเพส มหาปณฺฑิตานญฺจ ปสิทฺธิวร ททาม อนุโมทาม ตุมฺเห จ สิกฺขาปาร ปปฺโปถ ฯ รตนตฺตยานุภาเวน รตนตฺตยเตชสา ยญฺจ โข สกฺกต โหติ เอตสฺสานุภาวโต อโรคา โหถ นิทฺทุกฺขา นิสฺโสกา อกุโตภยา สมคฺคา จ พลูเปตา ทกฺขา กิจฺจปยุญฺชเน อิทฺธึ ปปฺโปถ เวปุลฺล วิรุฬฺหึ จุตฺตรึ สทา ฯ โสตฺถิ ภนฺเต อนุโมทามิ สาธุ สาธุ สาธุ ฯ ดาวน์โหลดไฟล์งานนาเสนอนี้และวิชาอื่นๆได้ที่ www.BuddhaBucha.net/download ส่วนในที่สุดแห่งการกล่าวนาเสนองานนี้ ข้าพเจ้าทั้งหลาย คือ พระมหาธีรพันธ์ ธีรกิตฺติ พระรังสรรค์ ปญฺญาวุฑฺโฒ และนางสาวอัญชลีขอตั้งกัลยาณจิตอ้างอิงคุณพระศรีรัตนไตร ให้พรกล่าวขอขอบคุณ อาจารย์ ดร.เทพประวิณ และพระนิสิตมหาบัณฑิตทั้งหลาย ขอให้ พวกท่านทั้งหลายจงถึงฝั่งแห่งการศึกษาเทอญ ด้วยอานุภาพและตบะเดชะของพระรัตนไตร บุญกุศลใดแลที่ท่านทั้งหลายได้กระทา ด้วยอานุภาพแห่งบุญนั้น ขอให้ท่านทั้งหลาย จงเป็นผู้ไม่มีโรค ไม่มีทุกข์ ไม่มีความโศกเศร้า ไม่มีภัยทั้งภายในและภายนอก เป็นผู้รักใคร่ สามัคคีกัน มีพละกาลังแกร่งกล้าสามารถและเป็นผู้ขยันในการงานที่จะพึงทา จงได้ถึงความเจริญรุ่งเรืองไพบูลย์ แผ่ไพศาลยิ่งๆขึ้นไปเทอญ ขอสวัสดี ขอบพระคุณท่านทั้งหลาย สาธุ ๆ ๆ ๆ ฯ
  • 47. ดาวน์โหลดไฟล์งานนาเสนอนี้และวิชาอื่นๆได้ที่ www.BuddhaBucha.net/download ขอขอบพระคุณในการติดตามชม หวังว่าการนาเสนอครั้งนี้จะทาให้ท่านเข้าใจถึงความเป็นไป ของพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียมากขึ้น และจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาพุทธศาสนาของทุกท่านต่อไป ขออนุโมทนาสาธุในบุญทุกประการของทุกท่าน และขอให้เจริญร่มเย็นในธรรม ตลอดกาลเทอญ สาธุ... शुक्रिया अपने देख के लिए मुझे उम्मीद है क्रक इस प्रस्तुतत आप भारत में मूि बौद्ध धमम के बारे में समझ जाएगा और अपने बौद्ध अध्ययन के लिए िाभ मैं अपने सभी योग्यता के साथ आनन्ददत तुम हमेशा सब सुख की कामना नमस्ते