SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 59
Baixar para ler offline
พุทธศาสนากับการบริหาร
จัดทาโดย
พระมหาธีรพันธ์ ธีรกิตติ
นางสาวอัญชลี จตุรานน
นาเสนอ อาจารย์ ดร. เทพประวิณ จันทร์แรง
ในรายวิชา พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่
ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตเชียงใหม่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
และเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อศึกษาถึงความหมายของการบริหารในพุทธศาสนาและใน
ศาสตร์สมัยใหม่
๒. เพื่อศึกษาถึงขั้นตอนการบริหารในพุทธศาสนาและในศาสตร์
สมัยใหม่
๓. เพื่อศึกษาถึงยุทธวิธีการบริหารในพุทธศาสนาและในศาสตร์
สมัยใหม่
๔. เพื่อศึกษากรณีตัวอย่างรูปแบบการบริหารจัดการเชิงพุทธในองค์กร
ต่างๆ
๕. เพื่อนาแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธไปปรับประยุกต์ใช้ใน
หน้าที่การงานและชีวิตประจาวัน
โครงร่างเนื้อหาสาระ
๑. ความหมายของการบริหารในพุทธศาสนาและในศาสตร์
สมัยใหม่
๒. ขั้นตอนการบริหารในพุทธศาสนาและในศาสตร์สมัยใหม่
๓. ยุทธวิธีการบริหารในพุทธศาสนาและในศาสตร์สมัยใหม่
๔. กรณีตัวอย่างรูปแบบการบริหารจัดการเชิงพุทธในองค์กรต่างๆ
๕. ตัวอย่างผู้บริหารที่ดีที่สุดในพุทธศาสนาและในศาสตร์สมัยใหม
๖. บรรณานุกรม
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
ความหมายของคาว่า “การบริหาร” (Administration)
การบริหารจัดการมีแนวคิดมาจากธรรมชาติของมนุษย์ที่เป็นสัตว์สังคมซึ่งจะต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
โดยจะต้องมีผู้นากลุ่มและมีแนวทางหรือวิธีการควบคุมดูแลกันภายในกลุ่มเพื่อให้เกิดความสุขและ
ความสงบเรียบร้อย ซึ่งอาจเรียกว่าผู้บริหารและการบริหาร ที่ใดมีกลุ่มที่นั่นย่อมมีการบริหาร
การบริหาร - Administration มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน “administatrae” หมายถึง
ช่วยเหลือ (assist) หรืออานวยการ (direct) มีความหมายใกล้เคียงกับคาว่า “minister” ซึ่ง
หมายถึง การรับใช้หรือผู้รับใช้ หรือผู้รับใช้รัฐ คือ รัฐมนตรี สาหรับความหมายดั้งเดิมของคาว่า
administer หมายถึง การติดตามดูแลสิ่งต่าง ๆ
การจัดการ - Management นิยมใช้ในภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง
เพื่อมุ่งแสวงหากาไร (profits)
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
ความหมายของคาว่า “การบริหาร” (Administration)
ผู้ให้ความหมาย ความหมายของคาว่า “การบริหาร”
Herbert A. Simon การบริหาร คือศิลปะในการทาให้สิ่งต่างๆ ได้รับการกระทาจนเป็น
ผลสาเร็จ
Daniel E Griffiths การบริหารเป็นการตัดสินใจ
J.w. Getzels E.G.Guba การบริหารคือกระบวนการทางสังคมที่ประกอบด้วยทางโครงสร้างทาง
หน้าที่ และ ทางปฏิบัติการ
อนันต์ เกตุวงศ์ การบริหารเป็นการประสานความพยายามของมนุษย์ (อย่างน้อย 2 คน)
และทรัพยากรต่าง ๆ เพื่อทาให้เกิดผลตามต้องการ
บุญทัน ดอกไธสง การบริหาร คือ การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
เพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคล องค์การ หรือประเทศ หรือการ
จัดการเพื่อผลกาไรของทุกคนในองค์การ
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
ความหมายของคาว่า “การบริหาร” (Administration)
“Getting results through others by
specializing in the work of
planning, organizing, leading and
control."
“ทางานให้สาเร็จด้วยการจัดให้คนอื่นทา โดยการ
วางแผน จัดส่วนงาน การนา และการควบคุม“
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
“การบริหาร” (Administration) - “การจัดการ” (Management)
• เรื่องที่เกี่ยวกับแนวนโยบายมักจะใช้การบริหาร
• บุคคลที่ทาหน้าที่กาหนดนโยบายเรียกว่าผู้บริหาร ส่วน
บุคคลที่รับเอานโยบายไปปฏิบัติเรียกว่าผู้จัดการ
• การบริหารมักนาไปใช้กับองค์การราชการ ส่วนองค์การ
ทางธุรกิจมักจะใช้คาว่าการจัดการ
การบริหารในพุทธศาสนา
ความหมายของคาว่า “การบริหาร” (Administration)
คาว่า บริหาร ตรงกับภาษาบาลีว่า “ปริหร“ เป็นคาแสดงความหมายถึง ลักษณะของการ
ปกครองว่าเป็นการนาสังคมหรือหมู่คณะให้ดาเนินไปโดยสมบูรณ์ นาหมู่คณะให้พัฒนาไป
พร้อมกัน
“ปริหร“ อาจบ่งถึงความหมายที่ว่า การแบ่งงาน การกระจายอานาจ หรือการที่สมาชิกในสังคม
มีส่วนร่วมในการปกครองหมู่คณะก็ได้ ในพระไตรปิฎกมักจะใช้คาว่า “ปริหร" กับกลุ่มสังคม เช่น
“อห ภิกฺขุสงฺฆ ปริหริสฺสามิ“ เราจักปกครองภิกษุสงฆ์ เป็นต้น
พระพรหมบัณฑิต (ศ. ดร. ประยูร ธมฺมจิตฺโต)
“การบริหาร หมายถึง ศิลปะแห่งการทางานให้สาเร็จโดยอาศัยคนอื่น”
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
“การบริหาร” เป็นทั้งศาสตร์ และ ศิลป์
• สามารถศึกษาได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบแบบแผน มี
กฏเกณฑ์ หลักการ และ ทฤษฎีที่เชื่อถือได้
• มีการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และพิสูจน์ได้โดยการนา
วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้
เป็นศาสตร์
• การนามาใช้ / ประยุกต์ใช้ หรือการมาปฏิบัติเพื่อให้เกิด
ประโยชน์เป็นศิลป์
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
ทักษะการบริหารของผู้บริหาร
ระดับต้น
ระดับกลาง
ระดับสูง การมองภาพรวม
มนุษยสัมพันธ์
เทคนิค
การบริหารในพุทธศาสนา
ทักษะการบริหารของผู้บริหาร
นักบริหารที่จะทาหน้าที่สาเร็จด้วยดี ต้องมีคุณลักษณะ ๓ ประการ ดังเช่นใน ทุติยปาปณิกสูตร คือ
๑.) จักขุมา – มีปัญญามองการณ์ไกล มองสถานการณ์ธุรกิจออก ฉลาดวางแผน และฉลาดใช้คน
๒.) วิธูโร – จัดการธุระได้ดี เชี่ยวชาญในสายงาน
๓.) นิสสยสัมปันโน – มีมนุษยสัมพันธ์ดี พึ่งพาคนอื่นได้ “นกไม่มีขน คนไม่มีเพื่อน ขึ้นสู่ที่สูงไม่ได้”
ระดับต้น
ระดับกลาง
ระดับสูง จักขุ
มานิสสยสัม
ปันโน
วิธูโร
ผู้บริหารระดับสูง - ข้อ ๑ และ ๓ สาคัญมาก ข้อ
๒ ให้ลูกน้องทาได้
ผู้บริหารระดับกลาง - ต้องมีทั้ง ๓ ข้อพอๆกัน
ผู้บริหารระดับต้น - ต้องทางานกับลูกน้องใกล้ชิด
ต้องมีข้อ ๒ และ ๓ มาก
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
การบริหารด้านต่างๆ (9 M)
• การบริหารคน (Man)
• การบริหารเงิน (Money)
• การบริหารวัสดุอุปกรณ์ (Material)
• การบริหารงานทั่วไป (Management)
• การบริหารการให้บริการประชาชน (Market)
• การบริหารคุณธรรม (Morality)
• การบริหารข้อมูลข่าวสาร (Message)
• การบริหารเวลา (Minute)
• การบริหารการวัดผล (Measurement)
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
• การบริหารคน (Man)
• การบริหารเงิน (Money)
• การบริหารงานทั่วไป (Management)
การบริหารด้านต่างๆ (3 M)
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
POSDCoRB
POSDCoRB คือ หลักการพื้นฐานในการบริหารงาน ประกอบด้วย
๑.) การวางแผน (Planning) เป็นการกาหนดลาดับกิจกรรมที่จะต้องกระทาเพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย
ตามที่ต้องการ การวางแผนที่ดีย่อมทาให้ประสบผลสาเร็จถึงครึ่งหนึ่ง
ซุ่นวู “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง“
๒.) การจัดองค์การ (Organizing) คือ การกาหนดตาแหน่งสายการบังคับบัญชาในองค์การ มี
ตาแหน่งอะไรบ้าง แต่ละตาแหน่งมีอานาจหน้าที่อย่างไร ใครสั่งการใคร
๓.) การจัดสรรบุคคล (Staffing) หมายถึง การสรรหาบุคคลเข้าทางานในองค์การตามตาแหน่ง
หน้าที่ที่กาหนดไว้ โดยใช้หลักการใช้คนให้เหมาะกับงาน (Put the right man on the right job)
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
๔.) การอานวยการ (Directing) หมายถึง การกากับ สั่งการและมอบหมายงานให้แต่ละฝ่ายหรือ
แต่ละงานนาไปปฏิบัติตามแผนหรือเป้ า หมายที่วางไว้
๕.) การกากับดูแล (Controlling) เป็นการติดตามฝ่ายหรืองานต่างๆ ว่าได้ดาเนินการถึงไหน มี
ปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้นที่ใดเพื่อป้ องกันไม่ให้ผู้ร่วมงานละทิ้งงานหรือ ทุจริตต่อหน้าที่
๖.) การรายงาน (Reporting) เป็นการรายงานผลงานที่ได้ดาเนินการไปแล้วว่าประสบผลสาเร็จ
มากน้อยเพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้าง ซึ่งเป็นการควบคุมการทางานอย่างมีหลักฐาน (การ
รายงาน) เพื่อการปรับปรุงงานให้ดี
๗.) การงบประมาณ (Budgeting) เป็นการจัดทารายงานการใช้เงินในการดาเนินงานต่าง ๆ และ
รายงานเงินที่คงเหลือ เพื่อการวางแผนทางการเงิน
POSDCoRB
การบริหารในพุทธศาสนา
POSDCoRB ในพุทธศาสนา
๑.) P – Planning การวางแผน
พระพุทธเจ้าเริ่มงานบริหารในศาสนา ๒ เดือนหลังตรัสรู้ คือเมื่อมีพระภิกษุเกิดขึ้นในพุทธศาสนา
ประโยคแรกที่ท่านตรัสกับพระอัญญาโกณฑัญญะคือ “เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว
เธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทาที่สุดแห่งกองทุกข์โดยชอบเถิด” (วิ.มหา. ๑/๑๘/๒๓) ซึ่งเป็นการ
กาหนดจุดประสงค์ของการอุปสมบท และทรงมีการวางแผนในการออกเผยแพร่ธรรม ว่าควรไปที่ใด
โปรดใครก่อน
๒.) O – Organizing การจัดองค์กร
เนื่องจากในคณะสงฆ์ไม่มีชั้นวรรณะ พระพุทธเจ้าจึงทรงกาหนดให้พระภิกษุต้องเคารพกันตามลาดับ
พรรษา กระจายอานาจการบริหารให้แก่หมู่คณะสงฆ์ พระพุทธเจ้าเป็นธรรมราชา และมีการแต่งตั้งอัคร
สาวกซ้ายและขวาดูแลงานด้านวิชาการและงานบริหาร พระอานนท์เป็นเลขานุการ และมีการแต่งตั้ง
เอตทัคคะฝ่ายต่างๆ เป็นตัวอย่างของการใช้คนให้เหมาะกับงาน
การบริหารในพุทธศาสนา
๓.) S – Staffing การจัดสรรบุคคล
เมื่อบวชเป็นภิกษุแล้วก็ต้องรับการฝึกหัดอบรมจากพระอุปปัชฌาย์ พระพุทธเจ้าทรงจาแนกบุคคลไป
ตามจริตทั้ง ๖ เพื่อพัฒนาให้เหมาะสม การบริหารบุคคลในพุทธศาสนามีระบบการให้รางวัลและ
ลงโทษ “นิคฺคณฺเห นิคฺคหารห ปคฺคณฺเห ปคฺคหารห” “ข่มคนที่ควรข่ม ยกย่องคนที่ควรยกย่อง” (ขุ.ชา.
๒๗/๒๔๔๒/๕๓๑)
๔.) D – Directing การอานวยการ
พระพุทธเจ้าทรงใช้หลัก ๔ ส. ในการสื่่อสารเพื่อการบริหาร (ที.สี. ๙/๑๙๘/๑๖๑) คือ สันทัสสนา (แจ่ม
แจ้ง), สมาทปนา (จูงใจ), สมุตเตชนา (แกล้วกล้า) และ สัมปหังสนา (ร่าเริง)
ตถาคต แปลว่า คนที่พูดอย่างไรแล้วทาอย่างนั้น พระพุทธเจ้าทรง สอนให้รู้ (ยถาวาที) ทาให้ดู (ตถากา
รี) และ อยู่ให้เห็น (ยถาวาที ตถาการี)
POSDCoRB ในพุทธศาสนา
การบริหารในพุทธศาสนา
๕.) C – Controlling การกากับดูแล
พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติพระวินัยเพื่อเป็นการกากับดูแลคณะสงฆ์ เมื่อมีข้อขัดแย้ง เรียกว่าอธิกรณ์
เกิดขึ้น จะใช้วิธีระงับอธิกรณ์เรียกว่า อธิกรณสมถะ ๗ ประการ (วิ.มหา. ๒/๘๗๙/๕๗๑)กาหนดไว้
๖.) R- Reporting การรายงาน
ทางพุทธศาสนามีหลักอปริหานิยธรรม ๗ เป็นธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม เป็นไปเพื่อความเจริญ
ฝ่ายเดียว เน้นการประชุมกันเป็นเนืองนิตย์
๗.) B – Budgeting การงบประมาณ
เป็นการวางแผนควบคุมการใช้เงิน ซึ่งเป็นไปตามหลักจักขุมาและหลักวิธูโรในทางพุทธศาสนา
POSDCoRB ในพุทธศาสนา
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
ขั้นตอนการบริหารงานแบบ PDCA
P = Plan คือ การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และ
เป้ าหมายที่ได้กาหนดขึ้น
D = Do คือ การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานที่ได้เขียน
ไว้อย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่อง
C = Check คือ การตรวจสอบ
ผลการดาเนินงานในแต่ล่ะขั้นตอน
ของแผนงานว่ามีปัญหาอะไร
เกิดขึ้น จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลง
แก้ไขแผนงานในขั้นตอน
ใด
A = Action คือ การปรับปรุง
แก้ไขส่วนที่มีปัญหา หรือถ้าไม่มี
ปัญหาใดๆ ก็ยอมรับแนวทางการ
ปฏิบัติตามแผนงานที่ได้ผลสาเร็จ
เพื่อนาไปใช้ในการทางานครั้งต่อไป
การบริหารในพุทธศาสนา
อิทธิบาท ๔
หมายถึง ฐานหรือหนทางสู่ความสาเร็จ หรือ คุณ
เครื่องให้ถึงความสาเร็จ เป็นคุณธรรมที่นาไปสู่
ความสาเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย มี ๔ ประการ คือ
๑.) ฉันทะ (ความพอใจ) คือ ความต้องการที่
จะทา ใฝ่ใจรักจะทาสิ่งนั้นอยู่เสมอ
๒.) วิริยะ (ความเพียร) คือ ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน
๓.) จิตตะ (ความคิด) คือ ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทา และทาสิ่งนั้นด้วยความคิด เอาจิตฝักใฝ่
๔.) วิมังสา (ความไตร่ตรอง) คือ หมั่นใช้ปัญญา พิจารณาใคร่ครวญ ตรวจหาเหตุผล
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
รูปแบบการบริหารจัดการองค์กรแบบ SICLP
โรงเรียนบ้านหนองปรู ได้จัดรูปแบบการบริหารจัดการองค์กรแนวใหม่ ดังนี้คือ
S – Sufficiency หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
I – Integrate การบูรณาการ ทางานประสานกัน
C – Continuous การทางานต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน
L – Learning การทาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
P - Participation การมีส่วนร่วมเพื่อสร้างพลังร่วมในการทางานอย่างเต็มใจ
การบริหารในพุทธศาสนา
รูปแบบการบริหารจัดการองค์กรแบบ SICLP
การบริหารจัดการองค์กรแบบ SICLP ของโรงเรียนบ้านหนองปรูล้วนอยู่ในหลักธรรมของพุทธศาสนา
S – Sufficiency หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
I – Integrate การบูรณาการ ทางานประสานกัน
C – Continuous การทางานต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน
L – Learning การทาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
P - Participation การมีส่วนร่วมเพื่อสร้างพลังร่วมในการทางานอย่างเต็มใจ
หลักสันโดษ, มัชฌิมาปฏิปทา
อิทธิบาท ๔
ลิปปิทท์ (Lippitt) แบ่งประเภทของผู้นาตามลักษณะของการบริหารงานเป็น ๓ ประเภทได้แก่
๑.) ผู้นาแบบเผด็จการ (The Autocratic Style)
๒.) ผู้นาแบบประชาธิปไตย (The Democratic Leader)
๓.) ผู้นาแบบตามสบายหรือแบบเสรี (The Laissez-faire or Anarchic Leader)
คาเตือนของปราชญ์จีน “ซุนวู” ที่กล่าวถึงจุดอ่อนของผู้นา 5 ประการ คือ
ผู้นาที่คิดรุกตลอดเวลา ถูกทาลายได้
ผู้นาที่ห่วงภัยเฉพาะตน ถูกจับกุมได้
ผู้นาที่ฉุนเฉียวง่ายดาย เป็นที่ดูถูกได้
ผู้นาที่พิถีพิถันจู้จี้ เป็นที่ขบขันได้
ผู้นาที่อ่อนไหว ลาบากใจได้
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
ผู้นา ผู้บริหาร - ผู้ที่ทาให้คนอื่นทางานตามที่ผู้บริหารต้องการ
ผู้นา - ผู้ที่ทาให้คนอื่นอยากทางานตามที่ผู้นาต้องการ
การบริหารในพุทธศาสนา
ผู้นา
อธิปไตยสูตร (ที.ปา. ๑๑/๒๒๘/๒๓๑ ; ๒๐/๘๙๕/๑๘๗) คือวิธีการบริหาร ๓ แบบ
๑.) อัตตาธิปไตย – บริหารงานแบบยึดประโยชน์ตนเป็นที่ตั้ง เชื่อมั่นในตนเองสูง ไม่รับฟังความเห็น
ผู้อื่น “เผด็จการ” ได้งาน ไม่ได้คน
๒.) โลกาธิปไตย – บริหารงานแบบยึดผู้อื่นเป็นหลัก มักอ่อนแอ ไม่กล้าตัดสินชี้ขาด ลูกน้องรัก แต่ไม่มี
ผลงาน ได้คน ไม่ได้งาน
๓.) ธรรมาธิปไตย – บริหารงานแบบยึดธรรมคือความถูกต้องเป็นสาคัญ แยกเรื่องงานจากเรื่อง
ส่วนตัวได้ ยอมโง่เพื่อศึกษาจากผู้รู้ เดินทางสายกลางคือใช้ทั้งพระเดชและพระคุณ ได้ทั้งคนได้ทั้งงาน
“นิคฺคณฺเห นิคฺคหารห ปคฺคณฺเห ปคฺคหารห” “การาบคนที่ควรการาบ ยกย่องคนที่ควรยกย่อง” (ขุ.
ชา. ๒๗/๒๔๔๒/๕๓๑)
โง่ไม่เป็นเป็นใหญ่ยากฝากให้คิด ทางชีวิตจะรุ่งโรจน์โสตถิผล ต้องรู้โง่รู้ฉลาดปราดเปรื่องตน โง่สิบ
หนดีกว่าเบ่งเก่งเดี๋ยวเดียว (พระมหาวีรวงศ์ ติสฺสมหาเถร)
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
หน้าที่ของผู้นา
ผู้นาที่ประสบความสาเร็จได้ผู้นั้นจะต้องบริหาร ๓ ปัจจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อัน
ได้แก่ การบริหารตนเอง การบริหารคน การบริหารงาน
“โง่ในเวลาที่ต้องฟังความเห็นคนอื่น”
“ผู้นาที่นั่งในหัวใจคนจะมีศัตรูน้อย”
“ไม้สูงกว่าแม่มักจะแพ้ลมบน คนสูงเกินคนมักจะโค่นกลางคัน”
“มีมิตรห้าร้อยคนยังนับว่าน้อยเกินไป มีศัตรูหนึ่งคน ยังนับว่ามากเกินไป”
“ผู้นานั่งบนหัวคน ผู้นานั่งในหัวใจคน อ่อนน้อม ไม่ได้อ่อนแอ แม่น้ายิ่งใหญ่เพราะวางตัวต่า”
“วิธีกาจัดศัตรูที่ดีที่สุดก็คือ เปลี่ยนศัตรูมาเป็นมิตรด้วยวิธี เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร”
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
บริหารตน บริหารคน บริหารงาน
การบริหารตน คือ การรู้จักตนเอง รู้จักควบคุมตนหรือมีวินัยแห่งตน มีความมั่นคงตั้งมั่นกับเป้ าหมาย
แห่งตน มีความอดทนมีการพัฒนาตนเอง
การบริหารคน คือ การรู้จักคนอื่น มองคนอื่นในแง่ดี ในการทางานร่วมกับคนอื่น การครองคนเป็น
เรื่องที่ยากที่สุด จึงควรทราบหลักการครองใจคน
การบริหารงาน คือ การรู้จักงานที่ตนเองกาลังทา และทางานอย่างมีความสุข รักและชอบในงานที่
ตนเองกาลังทาอยู่ มีวิธีการครองงาน
การบริหารตน บริหารคน บริหารงาน เป็นศิลปะการทางานให้มีความสุข
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
หลักการบริหารตน บริหารคน บริหารงาน ของราชการ
ผู้บริหารต้องมีความจริงใจ ความดี ความงาม
๑.) รู้เด็ก รู้ผู้ร่วมงาน รู้ผู้บริหาร รู้ชุมชน
๒.) อุทิศตนให้ราชการ
๓.) ประสานงานเครือข่าย
๔.) หลากหลายองค์ความรู้
๕.) มุ่งเชิดชูคุณธรรม
๖.) เป็นผู้นาประชาธิปไตย
๗.) จริงใจต่อภาระหน้าที่
๘.) มีจรรยาบรรณวิชาชีพ
การบริหารในพุทธศาสนา
บริหารตน บริหารคน บริหารงาน ด้วย พละ ๔
พละ ๔ คือ ธรรมอันเป็นพลังในการดาเนินชีวิตให้ประสบความสาเร็จ ประกอบด้วย
ปัญญาพละ – กาลังความรู้ ความฉลาด
วิริยพละ – กาลังแห่งความเพียร
อนวัชชพละ – กาลังการงานที่ไม่มีโทษ
สังคหพละ – กาลังการสงเคราะห์ หรือมนุษยสัมพันธ์
“ฉลาด ขยัน สุจริต มนุษยสัมพันธ์” ผู้บริหารและผู้นาที่ดีต้องมีให้ครบ ควรพิจารณา
ตนเองว่าขาดข้อใด และพัฒนาให้เท่าเทียมกัน
บริหารตน
บริหารตน
บริหารงาน
บริหารคน
การบริหารในพุทธศาสนา
บริหารตนด้วย “ปัญญาพละ”
ปัญญา คือความรอบรู้ มีความหมายลึกซึ้งกว่า สัญญา คือความจาได้หมายรู้
ผู้บริหารต้องมีปัญญารอบรู้ใน ๓ เรื่อง คือ
รู้ตน - รู้จุดแข็ง จุดอ่อนตนเอง รู้ข้อผิดพลาดของตน “อตฺตนา โจทยตฺตาน” เจริญวิปัสสนาช่วยให้รู้ตน
รู้คน – รู้จักเพื่อนร่วมงานและผู้ร่วมงาน เพื่อใช้งานคนให้เหมาะกับจริตของเขา
รู้งาน – รู้ในงานที่ต้องทา คือ รู้ขั้นตอนและวิธีการทางาน และรู้วิธีแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
วิธีพัฒนาปัญญา
สุตมยปัญญา - ปัญญาที่เกิดจากการรับข้อมูลทางการอ่านและการฟัง
จินตามยปัญญา - ปัญญาที่เกิดจากการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาจากการฟังและอ่าน (โยนิโสมนสิการ)
ภาวนามยปัญญา - ปัญญาที่เกิดจากการลงมือปฏิบัติ ทาให้มีผลงานเป็นรูปธรรม
การบริหารในพุทธศาสนา
บริหารตนด้วย “วิริยพละ”
วิริยะ คือ กาลังความเพียร และความขยัน กาลังใจต้องมาคู่ปัญญา คนมีปัญญาแต่ขาดกาลังใจ จะ
เป็นคนขลาด คนมีกาลังใจแต่ขาดปัญญาจะเป็นคนบ้าบิ่น ถ้ามีทั้งปัญญาและกาลังใจก็เปรียบเหมือน
นักมวยที่มีทั้งชั้นเชิงและหมัดหนัก
วิริยะในการบริหารมี ๒ ประเภท
สสังขาริกวิริยะ – ความขยันที่ต้องมีคนอื่นปลุกใจ หรือสถานการณ์บีบบังคับ
อสังขาริกวิริยะ – ความขยันที่เกิดจากกาลังใจตัวเอง
“จับให้มั่นคั้นหมายให้วายวอด
ช่วยให้รอดรักให้ชิดพิสมัย
ตัดให้ขาดปรารถนาหาสิ่งใด
เพียรจงได้ดังประสงค์ที่ตรงดี”
สุนทรภู่
ผู้บริหารต้องมี อสังขาริกวิริยะ ไม่ยอมแพ้
ง่ายๆ ดังพุทธพจน์ที่ว่า “วายเมเถวปุริโส
ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา” เกิดเป็นคนต้อง
พยายามร่าไปจนกว่าจะได้สิ่งที่ปรารถนา
การบริหารในพุทธศาสนา
บริหารคนด้วย “สังคหพละ”
สังคหพละ คือกาลังแห่งการสงเคราะห์ หรือ หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ด้วยสังคหวัตถุ ๔ (อง.จต
กก. ๒๑/๓๒/๔๔) ประกอบด้วย
๑.) ทาน คือการให้ โอบอ้อมอารี ผู้บริหารสามารถให้ทานได้ ๓ วิธี คือ อามิสทาน (ให้สิ่งของ รางวัล),
วิทยาทาน (ให้คาแนะนาในการทางาน) และ อภัยทาน (ให้อภัยเมื่อลูกน้องทาผิดพลาด)
๒.) ปิยวาจา คือการพูดคาไพเราะอ่อนหวาน คาพูดที่ไพเราะอ่อนหวานสามารถผูกใจคนได้
๓.) อัตถจริยา คือ การทาตัวให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น เช่น เป็นประธานในงานพิธีของลูกน้อง
๔.) สมานัตตา คือ การวางตัวสม่าเสมอ ร่วมรับผิดชอบในปัญหา กล้าตัดสินใจ
“ทโท คตฺถติมิตฺตานิ” ผู้ให้ย่อมผูกใจมิตรไว้ได้
“มนาปทายี ลภเต มนาป” ผู้ให้สิ่งที่น่าพอใจย่อม
ได้รับสิ่งที่น่าพอใจ
“การเป็นใหญ่ต้องมี ๒ สิ่ง มีศัตรูที่กล้าแข็ง
ที่สุด และมีมิตรที่ซื่อสัตย์ที่สุด”
นโปเลียนมหาราช
การบริหารในพุทธศาสนา
บริหารงานด้วย “อนวัชชพละ”
อนวัชชพละ คือ กาลังแห่งการงานที่ไม่มีโทษ คือการงานที่ไม่มีความเสียหาย เป็นการ
งานที่สุจริต
“ธมฺมญฺจเร สุจริต” บุคคลควรประพฤติธรรม (หน้าที่) ให้สุจริต
ผู้บริหารที่กระทาหน้าที่การงานด้วยความทุจริตก็เปรียบเหมือนเรือที่มีรูรั่ว รอวันจม
การบริหารในพุทธศาสนา
ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔
ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔ หรือหัวใจเศรษฐี คือ ประโยชน์ในปัจจุบัน ๔ อย่าง
การบริหารตน บริหารคน บริหารงาน ด้วยพละ ๔ สามารถกล่าวโดยสรุปรวมในคาถา
เศรษฐี ๔ (ทิฏฐธัมมิกัตถะ) ได้ดังนี้
๑.) อุ. (อุฏฐานสัมปทา) ขยันหา
๒.) อา. (อารักขสัมปทา) รักษาดี
๓.) ก. (กัลยาณมิตตตา) มีกัลยาณมิตร
๔.) ส. (สมชีวิตา) เลี้ยงชีวิตชอบธรรม
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
กลยุทธ์การบริหารคนด้วยทฤษฎี X Y Z W
เป็นทฤษฎีการบริหารคนของญี่ปุ่น โดยมีข้อสมมติเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ ความต้องการ
แรงจูงใจ เพื่อให้ผู้บริหารตัดสินใจใช้วิธีการบริหารที่เหมาะสมกับคน
ทฤษฎี X - ใช้การให้คุณให้โทษเพื่อกระตุ้นการทางานของบุคคลที่ขี้เกียจ ไม่ชอบทางาน
ทฤษฎี Y - ใช้วิธีสร้างแรงจูงใจที่เหมาะสม กระตุ้นการทางานของบุคคลที่มีความรับผิดชอบ
ทฤษฎี Z - ให้ความสาคัญและความไว้วางใจ ทาให้คนรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร
ทฤษฎี W - เชื่อว่ามนุษย์จะพอใจ และตั้งใจทางาน เมื่อมองเห็นความสาเร็จที่สัมผัสได้ ผู้บริหารต้อง
สร้าง เป้ าหมายระยะสั้น ให้เป็นตัวกระตุ้นการทางาน
การบริหารในพุทธศาสนา
พรหมวิหาร ๔
คือ ธรรมอันเป็นเครื่องอยู่ของพรหม เพื่อที่จะประพฤติตนตามสังคหวัตถุ ๔
ได้โดยไม่ต้องฝืนใจ ผู้บริหารต้องมีพรหมวิหาร ๔ คือ
๑.) เมตตา คือ ความรัก ความหวังดี ที่ปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข ผู้บริหารจะมีความ
เมตตาได้ต้องรู้จักมองส่วนดีของเพื่อนร่วมงานและลูกน้อง
๒.) กรุณา คือ ความเห็นใจ ปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ ผู้บริหารควรเปิดใจรับฟังปัญหา
ของผู้อื่น
๓.) มุทิตา คือ ความรู้สึกยินดีเมื่อเห็นผู้อื่นได้ดีมีสุข ผู้บริหารควรส่งเสริมให้ผู้อื่นได้มี
โอกาสพัฒนาความรู้ความสามารถ ไม่ปิดกั้นโอกาสเจริญก้าวหน้าของลูกน้อง
๔.) อุเบกขา คือ ความวางเฉยเป็นกลาง ไม่ลาเอียง ผู้บริหารต้องมีความยุติธรรมใน
การให้รางวัลและลงโทษ
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
ข้อใคร่ครวญ ๑๐ ประการ
๑.) กษัตริยราช ยามปรารถนาสิ่งใด ต้องคิดถึง "ความรู้จักพอ" เพื่อเตือนสติตนเอง
๒.) ยามกะเกณฑ์แรงงานก่อสร้างสิ่งใด ต้องรู้จักประมาณและคานึงถึงความเหมาะสม เพื่อสงบใจอาณาประชาราษฎร์
๓.) เมื่อรู้ว่าอยู่ในตาแหน่งสูงสุด เต็มไปด้วยภยันตราย ต้องคิดถึงความนอบน้อมถ่อมใจและความโอบอ้อมอารี เพื่อควบคุม
ตนเอง
๔.) เมื่อกลัวความเย่อหยิ่งทะนงตน ฟังคาแนะนาที่ตรงไปตรงมาไม่ได้ ก็ควรรู้ว่า "มหาสมุทรอยู่ต่ากว่าแม่น้าลาคลองทุกสาย"
๕.) เมื่อจะท่องเที่ยวหาล่าสัตว์ความสาราญควรคิดถึงกษัตริยราชสมัยโบราณ ไม่ออกล่าสัตว์เกิน ๓ ครั้งต่อปี
๖.) เมื่อกังวลว่าราชกิจจะถูกปล่อยปละละเลย ก็ไม่ลืมว่า "จะทาการใดต้องทาให้ดีและทาถึงที่สุด"
๗.) ถ้าเกรงว่าจะถูกปิดหูปิดตา "ต้องรับฟังความเห็นของข้าราชบริพารด้วยใจถ่อม"
๘.) ถ้ากังวลว่าความชั่วช้าจะเข้าครอบงาราชสานัก ต้องดารงตนอยู่ในความถูกต้อง หลีกห่างจากความชั่วร้ายทั้งปวง
๙.) เมื่อจะบาเหน็จรางวัล "ต้องระวังไม่ตกรางวัลมากมายส่งเดช เพียงเพราะความพอใจชั่วขณะ"
๑๐.) เมื่อจะลงโทษทัณฑ์ ก็ "ไม่ควรลงโทษทัณฑ์ส่งเดช เพราะอารมณ์โกรธชั่วครู่“
ราชันศาสตร์ของถางไท่จงฮ่องเต้
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
คุณธรรม ๙ ข้อ
๑.) กว้างขวางมีวินัย
๒.) อ่อนโยนและสามารถ
๓.) เคร่งขรึม แต่ไม่หมางเมิน
๔.) แก้ปัญหาโดยระมัดระวัง
๕.) อ่อนหยุ่น แต่เข้มแข็ง
๖.) ตรงไปตรงมา แต่อ่อนโยน
๗.) ไม่จุกจิกจู้จี้แต่ยืนบนความเป็นจริง
๘.) เข้มแข็ง และมีความสามารถที่เป็นจริง
๙.) กล้าหาญ และคลองธรรม
ราชันศาสตร์ของถางไท่จงฮ่องเต้
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
การบริหารในพุทธศาสนา
ทศพิธราชธรรม
คือจริยวัตร ๑๐ ประการที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจาพระองค์ ซึ่งบุคคลธรรมดาที่เป็นผู้บริหาร
ระดับสูงในทุกองค์กรก็พึงใช้หลักธรรมเหล่านี้ในการบริหารงาน ประกอบด้วย
๑.) ทาน (ทาน) คือ การเสียสละ ทั้งทรัพย์สิ่งของและน้าใจ
๒.) ศีล (สีล) คือ ความประพฤติที่ดีงาม ทั้ง กาย วาจา และใจ
๓.) บริจาค (ปริจาค) คือ การเสียสละความสุขส่วนตน เพื่อความสุขส่วนรวม
๔.) ความซื่อตรง (อาชฺชว) คือ ความซื่อตรงในฐานะที่เป็นผู้ปกครอง ดารงอยู่ในสัตย์สุจริต
๕.) ความอ่อนโยน (มทฺทว) คือ การมีความอ่อนโยน มีสัมมาคารวะ
๖.) ความเพียร (ตป) คือ มีความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน โดยปราศจากความเกียจคร้าน
๗.) ความไม่โกรธ (อกฺโกธ) คือ ความไม่แสดงความโกรธให้ปรากฏเห็น
๘.) ความไม่เบียดเบียน (อวิหิงสา) คือ การไม่เบียดเบียน หรือบีบคั้น ไม่ก่อทุกข์หรือเบียดเบียนผู้อื่น
๙.) ความอดทน (ขนฺติ) คือ การมีความอดทนต่อสิ่งทั้งปวง รักษาอาการ กาย วาจา ใจให้เรียบร้อย
๑๐.) ความเที่ยงธรรม (อวิโรธน) คือ ความหนักแน่น ถือความถูกต้อง เที่ยงธรรมเป็นหลัก
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
การบริหารเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development)
คือ “การกระการพัฒนาที่สามารถตอบสนองความต้องการของ
คนรุ่นปัจจุบัน โดยไม่มีผลกระทบในทางลบต่อความต้องการ
ของคนรุ่นต่อไปในอนาคต”
บาเบียร์ (Barbier,1987) ได้เสนอว่า การพัฒนา แบบ
ยั่งยืนเป็นรูปแบบการพัฒนาที่สามารถตอบสนองต่อเป้ าหมาย
ของระบบ 3 ระบบด้วยกันคือ ระบบทางชีววิทยา ระบบ
เศรษฐกิจ และระบบสังคม โดยที่แต่ละระบบสามารถพัฒนา
ไปสู่เป้ าหมายของตนเองได้ โดยรักษาสมดุลของกันและกัน
ระบบ
ชีวภาพ
ระบบ
สังคม
ระบบ
เศรษฐกิจ
การบริหาร
เพื่อการ
พัฒนาที่ยั่งยืน
การบริหารในพุทธศาสนา
สัปปุริสรรม ๗
คือ ธรรมที่ทาให้คนเป็นสัตบุรุษ หรือ เป็นคนดี ประกอบด้วย
๑.) ธัมมัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักเหตุ รู้กฎเกณฑ์แห่งเหตุผล และรู้จักหลักการที่จะทาให้เกิดผล
๒.) อัตถัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักผล หรือความมุ่งหมาย รู้ประโยชน์ที่ประสงค์
๓.) อัตตัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักตน ประพฤติให้เหมาะสม และรู้จักที่จะปรับปรุงต่อไป
๔.) มัตตัญญุตา - ความผู้รู้จักประมาณ คือ ความพอดีในการจ่ายโภคทรัพย์ และการบริหารการเงิน
๕.) กาลัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักกาลอันเหมาะสม และระยะเวลาในการประกอบกิจ
๖.) ปริสัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักชุมชน คือ รู้กริยาที่ควรจะประพฤติต่อชุมชนนั้นๆ
๗.) ปุคคลัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักบุคคล คือ รู้จักความแตกต่างของบุคคลในด้านต่างๆ
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
กลยุทธ์การสร้างทีม ๑.) ทาความรู้จักกับผู้ร่วมทีม
๒.) กาหนดจุดมุ่งหมายของทีม
๓.) ทาบทบาทของแต่ละคนให้กระจ่าง
๔.) สร้างบรรทัดฐานขององค์กรขึ้นมา
๕.) ตั้งแผนขึ้นมาแต่ละงาน
๖.) สนับสนุนให้มีการถามคาถาม
๗.) แจกจ่ายความดีความชอบ
๘.) เน้นการมีส่วนร่วม
๙.) เฉลิมฉลองความสาเร็จ
๑๐.) ประเมินความมีประสิทธิภาพของทีม
การบริหารในพุทธศาสนา
กลยุทธ์การสร้างทีมด้วยสาราณียธรรม
สาราณียธรรม ๖ หมายถึง ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง หมายถึง มีความปรารถนาดีต่อกัน
เอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน ดังนี้
๑.) เมตตากายกรรม คือ การอยู่ด้วยกันด้วยการกระทาดีต่อกัน ไม่เบียดเบียนทาร้ายกัน มุ่งเน้นการ
สร้างความร่วมมือกัน
๒.) เมตตาวจีกรรม คือ ใช้หลักการทูต โดยการเจรจาให้เข้าใจกัน ไม่กล่าวร้ายเสียดสีกัน
๓.) เมตตามโนธรรม คือ การไม่คิดทาร้ายซึ่งกันและกัน มีความซื่อสัตย์เคารพในความคิดเห็นซึ่งกัน
และกัน
๔.) สาธารณโภคี คือ การรู้จักแบ่งปันผลประโยชน์กันด้วยความยุติธรรมช่วยเหลือกัน ไม่เห็นแก่ตัว
๕.) สีลสามัญญตา คือ การอยู่ในศีล หรือการปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับหรือวินัยต่างๆ
๖.) ทิฏฐิสามัญญตา คือ คิดในสิ่งที่ตรงกัน ปรับมุมมองให้ตรงกัน รู้จักแสงหาจุดร่วมในความเห็น
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
กลยุทธ์การสร้างความสามัคคีของทีมงาน
เสริมสร้าง หมายถึง ก. เพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือมั่นคงยิ่งขึ้น
สามัคคี หมายถึง น. ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดองกัน
**ความหมายตามพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒
แนวทางการสร้างความสามัคคี*
๑. ต้องทาให้กฏหมายเป็นกฏหมาย
๒. ต้องทาศีลธรรมให้เป็นศิลธรรม
๓. ต้องมีผู้นาในการสร้างความสามัคคี
๔. ต้องสร้างเมตตาบารมีให้เกิดขึ้น
๕. ต้องมีอภัยทานต่อกัน
*จากการเสวนา เรื่อง “ร่วมสร้างความสามัคคี ทาดีเพื่อในหลวง” เมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๔ งานวันจานง ทอง
ประเสริฐ ครั้งที่ ๙ ณ มจร. วังน้อย
การบริหารในพุทธศาสนา
กลยุทธ์การสร้างความสามัคคีด้วยวัชชีอปริหานิยธรรม
คือ ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม เป็นไปเพื่อความเจริญฝ่ายเดียว
ประกอบด้วย
๑.) ต้องให้มีการประชุมปรึกษาหารือเป็นประจา
๒.) ต้องเข้าประชุมและเลิกประชุมอย่างพร้อมเพรียง
๓.) ไม่บัญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติไว้ ไม่ล้มล้างสิ่งที่บัญญัติไว้แล้ว (เคารพกฎ
กติกาและมารยาทของที่ประชุม)
๔.) เคาระผู้เป็นประธานและสมาชิกอาวุโสกว่า
๕.) ให้เกียรติและเคารพสุภาพสตรี
๖.) สักการะ เคารพ นับถือ บูชา เจดีย์ (คือ ปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน (เคารพ
กฎระเบียบของบ้านเมืองและขององค์กร)
๗.) ให้ความอารักขา คุ้มครอง ป้ องกัน พระอรหันต์ทั้งหลาย (ต้องจัดให้มีระบบ
ความปลอดภัยและการรักษาสภาพแวดล้อมเป็นอย่างดี)
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
หลักการบริหารวิถีพุทธของบริษัท นิ่มซีเส็ง จากัด
BWBS = Buddhist Weight Balance Scorecard
การถ่วงดุลในการจัดการองค์กรวิถีพุทธ
๑.) ด้านการเงิน - กรุณา, ไม่โลภในการแสวงหากาไร (มีความเห็นอกเห็นใจ อยากช่วยเหลือผู้อื่น)
๒.) ด้านการตลาดลูกค้า - เมตตา (มีความรักต่อผู้อื่นอย่างเสมอกัน)
๓.) ด้านการปฏิบัติงาน - สมานัตตา, มีความสมัครสมานสามัคคี (สุข ทุกข์ เสมอกัน)
๔.) ด้านนวัตกรรมการเรียนรู้ - วิมังสา, การพัฒนาตน (การวิเคราะห์หนทางแก้ปัญหา พัฒนาคน)
๕.) ด้านวัฒนธรรมองค์กร - การเป็นบัณฑิต / การมีกัลยาณมิตร (ใช้หลักมงคลชีวิต ๓๘ ประการ
ในการดาเนินการในองค์กร)
การบริหารในพุทธศาสนา
หลักการบริหาร ๑๑ ประการของพระพิพิธธรรมสุนทร
พระพิพิธธรรมสุนทร วัดสุทัศน์เทพวราราม ได้นาเสนอ
หลักธรรมในการบริหาร ซึ่งจะทาให้การบริหารตน บริหารคน
และบริหารงาน บรรลุความสาเร็จสมความประสงค์ไว้ ๑๑
ประการ คือ
๑.) ส่งเสริมความรู้
๒.) อยู่อย่างเสียสละ
๓.) กระจายตาแหน่งงาน
๔.) ประสานสามัคคี
๕.) ไม่เอาดีแต่เพียงตัว
๖.) ไม่มัวเมาเรื่องเงิน
๗.) ไม่ใหญ่เกินผู้บังคับบัญชา
๘.) ตั้งเมตตาไว้เป็นนิจ
๙.) ใครทาผิดต้อง
๑๐.) ไม่ประมาทเมามัว
๑๑.) ประมาณตัวทุกเวลา
การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่
ฝากทิ้งท้ายสาหรับผู้บริหาร
“FAME is a vapour
POPULARITY an accident
RICHES take wings
Those who cheer to-day
Will curse to-morrow
One thing endures
CHARACTER”
:Horace Greeley
ชื่อเสียงนั้นอันตรธานได้เหมือนไอน้า
สูงแล้วต่าร่ากันไปในสรรเสริญ
คนนิยมชมเปาะเพราะบังเอิญ
สมบัติเหินสิ้นไปได้เหมือนบิน
บางคนชมเราไว้ในวันนี้
รุ่งอีกทีสบประมาทสาดเสียสิ้น
จะชั่วดีมีไว้ให้อาจิณ
คือ ถวิล คุณธรรมประจาใจ
การบริหารในพุทธศาสนา
ฝากทิ้งท้ายสาหรับผู้บริหาร
โลกธรรม ๘ หมายถึง เรื่องธรรมดาของโลก ที่สัตว์โลกต้องเป็นไปตามธรรมดานี้๘
ประการอันประกอบด้วย
โลกธรรมฝ่ายอิฏฐารมณ์ คือ ความพอใจของมนุษย์ เป็นที่รักเป็นที่ปรารถนา
ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข
โลกธรรมฝ่ายอนิฏฐารมณ์ คือ ความไม่พอใจของมนุษย์ ไม่เป็นที่ปรารถนา
เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทาว่าร้าย ทุกข์
ผู้บริหารที่ดีที่สุด
ผู้บริหารที่ดีที่สุด
ทรงพระเจริญ
หัวข้อ ศาสตร์สมัยใหม่ พุทธศาสนา
ความหมาย รากศัพท์มาจากภาษาลาติน “administatrae”
หมายถึง ช่วยเหลือ
“ปริหร“ ลักษณะของการปกครองว่าเป็นการ
นาสังคมหรือหมู่คณะให้ดาเนินไปโดย
สมบูรณ์
ทักษะการบริหาร มองภาพรวม, เทคนิค, มนุษยสัมพันธ์ จักขุมา, วิธูโร, นิสสยสัมปันโน
หน้าที่การบริหาร POSDCoRB – Planning (การวางแผน ),
Organizing (การจัดองค์การ), Staffing (การ
จัดสรรบุคคล), Directing (การอานวยการ),
Coordinating (การประสานงาน), Reporting
(การรายงาน), Budgeting (การงบประมาณ)
วางแผนการเผยแพร่พุทธศาสนา, เคารพกัน
ตามพรรษา, พัฒนาคนตามจริต, สื่อสารด้วย
๔ ส. สันทัสสนา, สมาทปนา, สมุตเตชนา, สัม
ปหังสนา, ดูแลความขัดแย้งด้วยอธิกรณ
สมถะ ๗ ประการ, รายงานด้วยหลักอปริ
หานิยธรรม ๗, วางแผนการเงินด้วยหลักจักขุ
มาและหลักวิธูโร
ขั้นตอนการ
บริหารงาน
PDCA – Plan (วางแผน), Do (ลงมือทา), Check
(ตรวจสอบ), Act (ปรับปรุง)
อิทธิบาท ๔ – ฉันทะ, วิริยะ, จิตตะ, วิมังสา
การบริหารจัดการ
องค์กร
SICLP – Sufficiency (พอเพียง), Integrate
(บูรณาการ), Continuous (ทาอย่างต่อเนื่อง),
Learning (เรียนรู้), Participation (มีส่วนร่วม)
หลักสันโดษ, หลักมัชฌิมาปฏิปทา, อิทธิบาท
๔
หัวข้อ ศาสตร์สมัยใหม่ พุทธศาสนา
ผู้นา ๓ แบบ แบ่งแบบลิปปิทท์ (Lippitt) คือ ผู้นาแบบเผด็จการ,
ผู้นาแบบประชาธิปไตย , ผู้นาแบบตามสบายหรือ
แบบเสรี
อธิปไตยสูตร คือ อัตตาธิปไตย, โลกาธิปไตย,
ธรรมาธิปไตย
หลักการบริหารที่ดี บริหารตน บริหารคน บริหารงาน บริหารตนด้วย ปัญญาพละ, วิริยพละ บริหาร
คนด้วยสังคหพละ และบริหารงานด้วยอนวัชช
พละ
โดยสรุปคือทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔ หรือ
หัวใจเศรษฐี อุ. (อุฏฐานสัมปทา), อา. (อารักข
สัมปทา), ก. (กัลยาณมิตตตา), ส. (สมชีวิตา)
หลักการบริหารคน ทฤษฎี X Y Z W ทฤษฎี X (ให้คุณให้โทษกระตุ้น
บุคคลที่ขี้เกียจ), ทฤษฎี Y (สร้างแรงจูงใจกระตุ้น
บุคคลที่มีความรับผิดชอบ), ทฤษฎี Z (ให้
ความสาคัญให้คนรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร),
ทฤษฎี W (สร้างเป้ าหมายระยะสั้น ให้เป็นตัวกระตุ้น
การทางาน )
พรหมวิหาร ๔ - เมตตา, กรุณา, มุทิตา,
อุเบกขา
หัวข้อ ศาสตร์สมัยใหม่ พุทธศาสนา
หลักการปกครอง ราชันศาสตร์ของถางไท่จงฮ่องเต้ (ข้อใคร่ครวญ ๑๐
ประการ, คุณธรรม ๙ ข้อ )
ทศพิธราชธรรม - ทาน, ศีล, บริจาค, ความ
ซื่อตรง, ความอ่อนโยน, ความเพียร, ความไม่
โกรธ, ความไม่เบียดเบียน, ความอดทน,
ความเที่ยงธรรม)
การบริหารเพื่อการ
พัฒนาที่ยั่งยืน
สร้างความสมดุลของระบบทางชีววิทยา ระบบ
เศรษฐกิจ และระบบสังคม
สัปปุริสรรม ๗ - รู้จักเหตุ, รู้จักผล, รู้จักตน,
รู้จักประมาณ, รู้จักกาล, รู้จักชุมชน, รู้จัก
บุคคล
กลยุทธ์การสร้างทีม กาหนดจุดมุ่งหมายของทีม, กาหนดบทบาทของผู้ร่วม
ทีม, สร้างแผนงาน, เน้นการทางานร่วมกัน, กระจาย
ความดีความชอบ
สาราณียธรรม ๖ - เมตตากายกรรม, เมตตา
วจีกรรม, เมตตามโนธรรม, สาธารณโภคี, สีล
สามัญญตา, ทิฏฐิสามัญญตา
กลยุทธ์การสร้างความ
สามัคคีในทีม
ต้องทาให้กฎหมายเป็นกฎหมาย, ต้องทาศีลธรรมให้
เป็นศิลธรรม, ต้องมีผู้นาในการสร้างความสามัคคี}
ต้องสร้างเมตตาบารมีให้เกิดขึ้น, ต้องมีอภัยทานต่อ
กัน
วัชชีอปริหานิยธรรม ๗ - ประชุมเป็นประจา,
เคารพกฎและผู้อาวุโส, รักษาความปลอดภัย
สภาพแวดล้อม
หัวข้อ ศาสตร์สมัยใหม่ พุทธศาสนา
กรณีตัวอย่าง บริษัท นิ่มซีเส็ง จากัด - BWBS (Buddhist
Weight Balance Scorecard) ด้านการเงิน
(กรุณา), ด้านการตลาด (เมตตา), ด้านการปฏิบัติงาน
(สมานัตตา), ด้านนวัตกรรมการเรียนรู้ (วิมังสา),
ด้านวัฒนธรรมองค์กร (การเป็นบัณฑิต การมี
กัลยาณมิตร)
หลักการบริหาร ๑๑ ประการของพระพิพิธ
ธรรมสุนทร - ส่งเสริมความรู้, อยู่อย่าง
เสียสละ, กระจายตาแหน่งงาน, ประสาน
สามัคคี, ไม่เอาดีแต่เพียงตัว, ไม่มัวเมาเรื่อง
เงิน, ไม่ใหญ่เกินผู้บังคับบัญชา, ตั้งเมตตาไว้
เป็นนิจ, ใครทาผิดต้อง, ไม่ประมาทเมามัว,
ประมาณตัวทุกเวลา
ฝากทิ้งท้าย “FAME is a vapour POPULARITY an
accident RICHES take wings Those
who cheer to-day Will curse to-
morrow One thing endures
CHARACTER”
โลกธรรม ๘ - ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เสื่อม
ลาภ เสื่อมยศ นินทาว่าร้าย ทุกข์
ตัวอย่างผู้บริหารที่ดี
ที่สุด
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระพุทธเจ้า
หนังสือ
• การบริหารงานด้วยหลักธรรม, ชนุตรา อิทธิธรรมวินิจ
• การบริหารจัดการธุรกิจตามแนวพุทธศษสตร์. ศิริพงษ์ ศรีชัยรมย์
รัตน์
• คุณธรรมสาหรับนักบริหาร, พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺ
โต)
• ธรรมนูญแห่งชีวิต, โอสถ โกศิน
• นักบริหารทันสมัย, กิติ ตยัคคานนท์
• พุทธวิธีบริหาร, พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)
• ราชันศาสตร์ วิถีการปกครองและผูกใจคน, มิโมโต้ สึชิเฮอิ แปล
โดย อธิคม สวัสดิญาณ
• วิสัยทัศน์การศึกษาศาสนาในศตวรรษหน้า, สาขาศาสนา
เปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยมหิดล
• สาธารณบริหารศาสตร์, สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ
• ธรรมสาหรับนักบริหาร @
รปศ.มข. 56 (พระมหาสมปอง
ตสลปุตฺโต, ดร.)
• การบริหารธุกิจแบบพุทธ
• นักบริหารแบบพุทธธรรมาธิ
บาล
บรรณานุกรม
ขอขอบพระคุณในการติดตามชม หวังว่าการ
นาเสนอครั้งนี้จะทาให้ท่านได้เข้าใจแนวทางของ
การบริหารในเชิงพุทธศาสตร์มากขึ้น
และเกิดประโยชน์แก่การศึกษาพระพุทธศาสนาของ
ทุกท่านต่อไป
และขออนุโมทนาสาธุในบุญทุกประการของทุกท่าน
ขอให้เจริญร่มเย็นในธรรม ตลอดกาลเทอญ สาธุ
รตนตฺตยานุภาเวน รตนตฺตยเตชสา
ยญฺจ โข สกฺกตํ โหติ เอตสฺสานุภาวโต
อโรคา โหถ นิทฺทุกฺขา นิสฺโสกา อกุโตภยา
สมคฺคา จ พลูเปตา ทกฺขา กิจฺจปยุญฺชเน
อิทฺธึ ปปฺโปถ เวปุลฺลํ วิรุฬฺหึ จุตฺตรึ สทา ฯ
โสตฺถิ ภนฺเต อนุโมทามิ สาธุ สาธุ สาธุ ฯ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 

Mais procurados (20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 

Destaque

การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...Anchalee BuddhaBucha
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56sukanya56106930005
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารTaraya Srivilas
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนsoftganz
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4Saiiew
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐPrachoom Rangkasikorn
 
DNEVNIK RADA - STRUČNA PRAKSA JANAF
DNEVNIK RADA - STRUČNA PRAKSA JANAFDNEVNIK RADA - STRUČNA PRAKSA JANAF
DNEVNIK RADA - STRUČNA PRAKSA JANAFJure Vuletić
 
จรรยาบรรณ
จรรยาบรรณจรรยาบรรณ
จรรยาบรรณViyada Pk
 

Destaque (20)

การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
 
Kung
KungKung
Kung
 
DNEVNIK RADA - STRUČNA PRAKSA JANAF
DNEVNIK RADA - STRUČNA PRAKSA JANAFDNEVNIK RADA - STRUČNA PRAKSA JANAF
DNEVNIK RADA - STRUČNA PRAKSA JANAF
 
จรรยาบรรณ
จรรยาบรรณจรรยาบรรณ
จรรยาบรรณ
 
จรรยาบรรณ
จรรยาบรรณจรรยาบรรณ
จรรยาบรรณ
 

Semelhante a พุทธศาสนากับการบริหาร

ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธNatepanna Yavirach
 

Semelhante a พุทธศาสนากับการบริหาร (20)

Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
Abb3
Abb3Abb3
Abb3
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
Report new-final
Report new-finalReport new-final
Report new-final
 
T5
T5T5
T5
 
T3
T3T3
T3
 
Report new-final
Report new-finalReport new-final
Report new-final
 

Mais de Anchalee BuddhaBucha

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อAnchalee BuddhaBucha
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียAnchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 

Mais de Anchalee BuddhaBucha (12)

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 

พุทธศาสนากับการบริหาร

  • 1. พุทธศาสนากับการบริหาร จัดทาโดย พระมหาธีรพันธ์ ธีรกิตติ นางสาวอัญชลี จตุรานน นาเสนอ อาจารย์ ดร. เทพประวิณ จันทร์แรง ในรายวิชา พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ และเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
  • 2. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อศึกษาถึงความหมายของการบริหารในพุทธศาสนาและใน ศาสตร์สมัยใหม่ ๒. เพื่อศึกษาถึงขั้นตอนการบริหารในพุทธศาสนาและในศาสตร์ สมัยใหม่ ๓. เพื่อศึกษาถึงยุทธวิธีการบริหารในพุทธศาสนาและในศาสตร์ สมัยใหม่ ๔. เพื่อศึกษากรณีตัวอย่างรูปแบบการบริหารจัดการเชิงพุทธในองค์กร ต่างๆ ๕. เพื่อนาแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธไปปรับประยุกต์ใช้ใน หน้าที่การงานและชีวิตประจาวัน
  • 3. โครงร่างเนื้อหาสาระ ๑. ความหมายของการบริหารในพุทธศาสนาและในศาสตร์ สมัยใหม่ ๒. ขั้นตอนการบริหารในพุทธศาสนาและในศาสตร์สมัยใหม่ ๓. ยุทธวิธีการบริหารในพุทธศาสนาและในศาสตร์สมัยใหม่ ๔. กรณีตัวอย่างรูปแบบการบริหารจัดการเชิงพุทธในองค์กรต่างๆ ๕. ตัวอย่างผู้บริหารที่ดีที่สุดในพุทธศาสนาและในศาสตร์สมัยใหม ๖. บรรณานุกรม
  • 4. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ ความหมายของคาว่า “การบริหาร” (Administration) การบริหารจัดการมีแนวคิดมาจากธรรมชาติของมนุษย์ที่เป็นสัตว์สังคมซึ่งจะต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยจะต้องมีผู้นากลุ่มและมีแนวทางหรือวิธีการควบคุมดูแลกันภายในกลุ่มเพื่อให้เกิดความสุขและ ความสงบเรียบร้อย ซึ่งอาจเรียกว่าผู้บริหารและการบริหาร ที่ใดมีกลุ่มที่นั่นย่อมมีการบริหาร การบริหาร - Administration มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน “administatrae” หมายถึง ช่วยเหลือ (assist) หรืออานวยการ (direct) มีความหมายใกล้เคียงกับคาว่า “minister” ซึ่ง หมายถึง การรับใช้หรือผู้รับใช้ หรือผู้รับใช้รัฐ คือ รัฐมนตรี สาหรับความหมายดั้งเดิมของคาว่า administer หมายถึง การติดตามดูแลสิ่งต่าง ๆ การจัดการ - Management นิยมใช้ในภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง เพื่อมุ่งแสวงหากาไร (profits)
  • 5. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ ความหมายของคาว่า “การบริหาร” (Administration) ผู้ให้ความหมาย ความหมายของคาว่า “การบริหาร” Herbert A. Simon การบริหาร คือศิลปะในการทาให้สิ่งต่างๆ ได้รับการกระทาจนเป็น ผลสาเร็จ Daniel E Griffiths การบริหารเป็นการตัดสินใจ J.w. Getzels E.G.Guba การบริหารคือกระบวนการทางสังคมที่ประกอบด้วยทางโครงสร้างทาง หน้าที่ และ ทางปฏิบัติการ อนันต์ เกตุวงศ์ การบริหารเป็นการประสานความพยายามของมนุษย์ (อย่างน้อย 2 คน) และทรัพยากรต่าง ๆ เพื่อทาให้เกิดผลตามต้องการ บุญทัน ดอกไธสง การบริหาร คือ การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคล องค์การ หรือประเทศ หรือการ จัดการเพื่อผลกาไรของทุกคนในองค์การ
  • 6. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ ความหมายของคาว่า “การบริหาร” (Administration) “Getting results through others by specializing in the work of planning, organizing, leading and control." “ทางานให้สาเร็จด้วยการจัดให้คนอื่นทา โดยการ วางแผน จัดส่วนงาน การนา และการควบคุม“
  • 7. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ “การบริหาร” (Administration) - “การจัดการ” (Management) • เรื่องที่เกี่ยวกับแนวนโยบายมักจะใช้การบริหาร • บุคคลที่ทาหน้าที่กาหนดนโยบายเรียกว่าผู้บริหาร ส่วน บุคคลที่รับเอานโยบายไปปฏิบัติเรียกว่าผู้จัดการ • การบริหารมักนาไปใช้กับองค์การราชการ ส่วนองค์การ ทางธุรกิจมักจะใช้คาว่าการจัดการ
  • 8. การบริหารในพุทธศาสนา ความหมายของคาว่า “การบริหาร” (Administration) คาว่า บริหาร ตรงกับภาษาบาลีว่า “ปริหร“ เป็นคาแสดงความหมายถึง ลักษณะของการ ปกครองว่าเป็นการนาสังคมหรือหมู่คณะให้ดาเนินไปโดยสมบูรณ์ นาหมู่คณะให้พัฒนาไป พร้อมกัน “ปริหร“ อาจบ่งถึงความหมายที่ว่า การแบ่งงาน การกระจายอานาจ หรือการที่สมาชิกในสังคม มีส่วนร่วมในการปกครองหมู่คณะก็ได้ ในพระไตรปิฎกมักจะใช้คาว่า “ปริหร" กับกลุ่มสังคม เช่น “อห ภิกฺขุสงฺฆ ปริหริสฺสามิ“ เราจักปกครองภิกษุสงฆ์ เป็นต้น พระพรหมบัณฑิต (ศ. ดร. ประยูร ธมฺมจิตฺโต) “การบริหาร หมายถึง ศิลปะแห่งการทางานให้สาเร็จโดยอาศัยคนอื่น”
  • 9. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ “การบริหาร” เป็นทั้งศาสตร์ และ ศิลป์ • สามารถศึกษาได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบแบบแผน มี กฏเกณฑ์ หลักการ และ ทฤษฎีที่เชื่อถือได้ • มีการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และพิสูจน์ได้โดยการนา วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ เป็นศาสตร์ • การนามาใช้ / ประยุกต์ใช้ หรือการมาปฏิบัติเพื่อให้เกิด ประโยชน์เป็นศิลป์
  • 11. การบริหารในพุทธศาสนา ทักษะการบริหารของผู้บริหาร นักบริหารที่จะทาหน้าที่สาเร็จด้วยดี ต้องมีคุณลักษณะ ๓ ประการ ดังเช่นใน ทุติยปาปณิกสูตร คือ ๑.) จักขุมา – มีปัญญามองการณ์ไกล มองสถานการณ์ธุรกิจออก ฉลาดวางแผน และฉลาดใช้คน ๒.) วิธูโร – จัดการธุระได้ดี เชี่ยวชาญในสายงาน ๓.) นิสสยสัมปันโน – มีมนุษยสัมพันธ์ดี พึ่งพาคนอื่นได้ “นกไม่มีขน คนไม่มีเพื่อน ขึ้นสู่ที่สูงไม่ได้” ระดับต้น ระดับกลาง ระดับสูง จักขุ มานิสสยสัม ปันโน วิธูโร ผู้บริหารระดับสูง - ข้อ ๑ และ ๓ สาคัญมาก ข้อ ๒ ให้ลูกน้องทาได้ ผู้บริหารระดับกลาง - ต้องมีทั้ง ๓ ข้อพอๆกัน ผู้บริหารระดับต้น - ต้องทางานกับลูกน้องใกล้ชิด ต้องมีข้อ ๒ และ ๓ มาก
  • 12. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ การบริหารด้านต่างๆ (9 M) • การบริหารคน (Man) • การบริหารเงิน (Money) • การบริหารวัสดุอุปกรณ์ (Material) • การบริหารงานทั่วไป (Management) • การบริหารการให้บริการประชาชน (Market) • การบริหารคุณธรรม (Morality) • การบริหารข้อมูลข่าวสาร (Message) • การบริหารเวลา (Minute) • การบริหารการวัดผล (Measurement)
  • 13. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ • การบริหารคน (Man) • การบริหารเงิน (Money) • การบริหารงานทั่วไป (Management) การบริหารด้านต่างๆ (3 M)
  • 14. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ POSDCoRB POSDCoRB คือ หลักการพื้นฐานในการบริหารงาน ประกอบด้วย ๑.) การวางแผน (Planning) เป็นการกาหนดลาดับกิจกรรมที่จะต้องกระทาเพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย ตามที่ต้องการ การวางแผนที่ดีย่อมทาให้ประสบผลสาเร็จถึงครึ่งหนึ่ง ซุ่นวู “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง“ ๒.) การจัดองค์การ (Organizing) คือ การกาหนดตาแหน่งสายการบังคับบัญชาในองค์การ มี ตาแหน่งอะไรบ้าง แต่ละตาแหน่งมีอานาจหน้าที่อย่างไร ใครสั่งการใคร ๓.) การจัดสรรบุคคล (Staffing) หมายถึง การสรรหาบุคคลเข้าทางานในองค์การตามตาแหน่ง หน้าที่ที่กาหนดไว้ โดยใช้หลักการใช้คนให้เหมาะกับงาน (Put the right man on the right job)
  • 15. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ ๔.) การอานวยการ (Directing) หมายถึง การกากับ สั่งการและมอบหมายงานให้แต่ละฝ่ายหรือ แต่ละงานนาไปปฏิบัติตามแผนหรือเป้ า หมายที่วางไว้ ๕.) การกากับดูแล (Controlling) เป็นการติดตามฝ่ายหรืองานต่างๆ ว่าได้ดาเนินการถึงไหน มี ปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้นที่ใดเพื่อป้ องกันไม่ให้ผู้ร่วมงานละทิ้งงานหรือ ทุจริตต่อหน้าที่ ๖.) การรายงาน (Reporting) เป็นการรายงานผลงานที่ได้ดาเนินการไปแล้วว่าประสบผลสาเร็จ มากน้อยเพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้าง ซึ่งเป็นการควบคุมการทางานอย่างมีหลักฐาน (การ รายงาน) เพื่อการปรับปรุงงานให้ดี ๗.) การงบประมาณ (Budgeting) เป็นการจัดทารายงานการใช้เงินในการดาเนินงานต่าง ๆ และ รายงานเงินที่คงเหลือ เพื่อการวางแผนทางการเงิน POSDCoRB
  • 16. การบริหารในพุทธศาสนา POSDCoRB ในพุทธศาสนา ๑.) P – Planning การวางแผน พระพุทธเจ้าเริ่มงานบริหารในศาสนา ๒ เดือนหลังตรัสรู้ คือเมื่อมีพระภิกษุเกิดขึ้นในพุทธศาสนา ประโยคแรกที่ท่านตรัสกับพระอัญญาโกณฑัญญะคือ “เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทาที่สุดแห่งกองทุกข์โดยชอบเถิด” (วิ.มหา. ๑/๑๘/๒๓) ซึ่งเป็นการ กาหนดจุดประสงค์ของการอุปสมบท และทรงมีการวางแผนในการออกเผยแพร่ธรรม ว่าควรไปที่ใด โปรดใครก่อน ๒.) O – Organizing การจัดองค์กร เนื่องจากในคณะสงฆ์ไม่มีชั้นวรรณะ พระพุทธเจ้าจึงทรงกาหนดให้พระภิกษุต้องเคารพกันตามลาดับ พรรษา กระจายอานาจการบริหารให้แก่หมู่คณะสงฆ์ พระพุทธเจ้าเป็นธรรมราชา และมีการแต่งตั้งอัคร สาวกซ้ายและขวาดูแลงานด้านวิชาการและงานบริหาร พระอานนท์เป็นเลขานุการ และมีการแต่งตั้ง เอตทัคคะฝ่ายต่างๆ เป็นตัวอย่างของการใช้คนให้เหมาะกับงาน
  • 17. การบริหารในพุทธศาสนา ๓.) S – Staffing การจัดสรรบุคคล เมื่อบวชเป็นภิกษุแล้วก็ต้องรับการฝึกหัดอบรมจากพระอุปปัชฌาย์ พระพุทธเจ้าทรงจาแนกบุคคลไป ตามจริตทั้ง ๖ เพื่อพัฒนาให้เหมาะสม การบริหารบุคคลในพุทธศาสนามีระบบการให้รางวัลและ ลงโทษ “นิคฺคณฺเห นิคฺคหารห ปคฺคณฺเห ปคฺคหารห” “ข่มคนที่ควรข่ม ยกย่องคนที่ควรยกย่อง” (ขุ.ชา. ๒๗/๒๔๔๒/๕๓๑) ๔.) D – Directing การอานวยการ พระพุทธเจ้าทรงใช้หลัก ๔ ส. ในการสื่่อสารเพื่อการบริหาร (ที.สี. ๙/๑๙๘/๑๖๑) คือ สันทัสสนา (แจ่ม แจ้ง), สมาทปนา (จูงใจ), สมุตเตชนา (แกล้วกล้า) และ สัมปหังสนา (ร่าเริง) ตถาคต แปลว่า คนที่พูดอย่างไรแล้วทาอย่างนั้น พระพุทธเจ้าทรง สอนให้รู้ (ยถาวาที) ทาให้ดู (ตถากา รี) และ อยู่ให้เห็น (ยถาวาที ตถาการี) POSDCoRB ในพุทธศาสนา
  • 18. การบริหารในพุทธศาสนา ๕.) C – Controlling การกากับดูแล พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติพระวินัยเพื่อเป็นการกากับดูแลคณะสงฆ์ เมื่อมีข้อขัดแย้ง เรียกว่าอธิกรณ์ เกิดขึ้น จะใช้วิธีระงับอธิกรณ์เรียกว่า อธิกรณสมถะ ๗ ประการ (วิ.มหา. ๒/๘๗๙/๕๗๑)กาหนดไว้ ๖.) R- Reporting การรายงาน ทางพุทธศาสนามีหลักอปริหานิยธรรม ๗ เป็นธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม เป็นไปเพื่อความเจริญ ฝ่ายเดียว เน้นการประชุมกันเป็นเนืองนิตย์ ๗.) B – Budgeting การงบประมาณ เป็นการวางแผนควบคุมการใช้เงิน ซึ่งเป็นไปตามหลักจักขุมาและหลักวิธูโรในทางพุทธศาสนา POSDCoRB ในพุทธศาสนา
  • 19. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ ขั้นตอนการบริหารงานแบบ PDCA P = Plan คือ การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และ เป้ าหมายที่ได้กาหนดขึ้น D = Do คือ การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานที่ได้เขียน ไว้อย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่อง C = Check คือ การตรวจสอบ ผลการดาเนินงานในแต่ล่ะขั้นตอน ของแผนงานว่ามีปัญหาอะไร เกิดขึ้น จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลง แก้ไขแผนงานในขั้นตอน ใด A = Action คือ การปรับปรุง แก้ไขส่วนที่มีปัญหา หรือถ้าไม่มี ปัญหาใดๆ ก็ยอมรับแนวทางการ ปฏิบัติตามแผนงานที่ได้ผลสาเร็จ เพื่อนาไปใช้ในการทางานครั้งต่อไป
  • 20. การบริหารในพุทธศาสนา อิทธิบาท ๔ หมายถึง ฐานหรือหนทางสู่ความสาเร็จ หรือ คุณ เครื่องให้ถึงความสาเร็จ เป็นคุณธรรมที่นาไปสู่ ความสาเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย มี ๔ ประการ คือ ๑.) ฉันทะ (ความพอใจ) คือ ความต้องการที่ จะทา ใฝ่ใจรักจะทาสิ่งนั้นอยู่เสมอ ๒.) วิริยะ (ความเพียร) คือ ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน ๓.) จิตตะ (ความคิด) คือ ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทา และทาสิ่งนั้นด้วยความคิด เอาจิตฝักใฝ่ ๔.) วิมังสา (ความไตร่ตรอง) คือ หมั่นใช้ปัญญา พิจารณาใคร่ครวญ ตรวจหาเหตุผล
  • 21. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ รูปแบบการบริหารจัดการองค์กรแบบ SICLP โรงเรียนบ้านหนองปรู ได้จัดรูปแบบการบริหารจัดการองค์กรแนวใหม่ ดังนี้คือ S – Sufficiency หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง I – Integrate การบูรณาการ ทางานประสานกัน C – Continuous การทางานต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน L – Learning การทาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ P - Participation การมีส่วนร่วมเพื่อสร้างพลังร่วมในการทางานอย่างเต็มใจ
  • 22. การบริหารในพุทธศาสนา รูปแบบการบริหารจัดการองค์กรแบบ SICLP การบริหารจัดการองค์กรแบบ SICLP ของโรงเรียนบ้านหนองปรูล้วนอยู่ในหลักธรรมของพุทธศาสนา S – Sufficiency หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง I – Integrate การบูรณาการ ทางานประสานกัน C – Continuous การทางานต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน L – Learning การทาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ P - Participation การมีส่วนร่วมเพื่อสร้างพลังร่วมในการทางานอย่างเต็มใจ หลักสันโดษ, มัชฌิมาปฏิปทา อิทธิบาท ๔
  • 23. ลิปปิทท์ (Lippitt) แบ่งประเภทของผู้นาตามลักษณะของการบริหารงานเป็น ๓ ประเภทได้แก่ ๑.) ผู้นาแบบเผด็จการ (The Autocratic Style) ๒.) ผู้นาแบบประชาธิปไตย (The Democratic Leader) ๓.) ผู้นาแบบตามสบายหรือแบบเสรี (The Laissez-faire or Anarchic Leader) คาเตือนของปราชญ์จีน “ซุนวู” ที่กล่าวถึงจุดอ่อนของผู้นา 5 ประการ คือ ผู้นาที่คิดรุกตลอดเวลา ถูกทาลายได้ ผู้นาที่ห่วงภัยเฉพาะตน ถูกจับกุมได้ ผู้นาที่ฉุนเฉียวง่ายดาย เป็นที่ดูถูกได้ ผู้นาที่พิถีพิถันจู้จี้ เป็นที่ขบขันได้ ผู้นาที่อ่อนไหว ลาบากใจได้ การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ ผู้นา ผู้บริหาร - ผู้ที่ทาให้คนอื่นทางานตามที่ผู้บริหารต้องการ ผู้นา - ผู้ที่ทาให้คนอื่นอยากทางานตามที่ผู้นาต้องการ
  • 24. การบริหารในพุทธศาสนา ผู้นา อธิปไตยสูตร (ที.ปา. ๑๑/๒๒๘/๒๓๑ ; ๒๐/๘๙๕/๑๘๗) คือวิธีการบริหาร ๓ แบบ ๑.) อัตตาธิปไตย – บริหารงานแบบยึดประโยชน์ตนเป็นที่ตั้ง เชื่อมั่นในตนเองสูง ไม่รับฟังความเห็น ผู้อื่น “เผด็จการ” ได้งาน ไม่ได้คน ๒.) โลกาธิปไตย – บริหารงานแบบยึดผู้อื่นเป็นหลัก มักอ่อนแอ ไม่กล้าตัดสินชี้ขาด ลูกน้องรัก แต่ไม่มี ผลงาน ได้คน ไม่ได้งาน ๓.) ธรรมาธิปไตย – บริหารงานแบบยึดธรรมคือความถูกต้องเป็นสาคัญ แยกเรื่องงานจากเรื่อง ส่วนตัวได้ ยอมโง่เพื่อศึกษาจากผู้รู้ เดินทางสายกลางคือใช้ทั้งพระเดชและพระคุณ ได้ทั้งคนได้ทั้งงาน “นิคฺคณฺเห นิคฺคหารห ปคฺคณฺเห ปคฺคหารห” “การาบคนที่ควรการาบ ยกย่องคนที่ควรยกย่อง” (ขุ. ชา. ๒๗/๒๔๔๒/๕๓๑) โง่ไม่เป็นเป็นใหญ่ยากฝากให้คิด ทางชีวิตจะรุ่งโรจน์โสตถิผล ต้องรู้โง่รู้ฉลาดปราดเปรื่องตน โง่สิบ หนดีกว่าเบ่งเก่งเดี๋ยวเดียว (พระมหาวีรวงศ์ ติสฺสมหาเถร)
  • 25. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ หน้าที่ของผู้นา ผู้นาที่ประสบความสาเร็จได้ผู้นั้นจะต้องบริหาร ๓ ปัจจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อัน ได้แก่ การบริหารตนเอง การบริหารคน การบริหารงาน “โง่ในเวลาที่ต้องฟังความเห็นคนอื่น” “ผู้นาที่นั่งในหัวใจคนจะมีศัตรูน้อย” “ไม้สูงกว่าแม่มักจะแพ้ลมบน คนสูงเกินคนมักจะโค่นกลางคัน” “มีมิตรห้าร้อยคนยังนับว่าน้อยเกินไป มีศัตรูหนึ่งคน ยังนับว่ามากเกินไป” “ผู้นานั่งบนหัวคน ผู้นานั่งในหัวใจคน อ่อนน้อม ไม่ได้อ่อนแอ แม่น้ายิ่งใหญ่เพราะวางตัวต่า” “วิธีกาจัดศัตรูที่ดีที่สุดก็คือ เปลี่ยนศัตรูมาเป็นมิตรด้วยวิธี เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร”
  • 26. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ บริหารตน บริหารคน บริหารงาน การบริหารตน คือ การรู้จักตนเอง รู้จักควบคุมตนหรือมีวินัยแห่งตน มีความมั่นคงตั้งมั่นกับเป้ าหมาย แห่งตน มีความอดทนมีการพัฒนาตนเอง การบริหารคน คือ การรู้จักคนอื่น มองคนอื่นในแง่ดี ในการทางานร่วมกับคนอื่น การครองคนเป็น เรื่องที่ยากที่สุด จึงควรทราบหลักการครองใจคน การบริหารงาน คือ การรู้จักงานที่ตนเองกาลังทา และทางานอย่างมีความสุข รักและชอบในงานที่ ตนเองกาลังทาอยู่ มีวิธีการครองงาน การบริหารตน บริหารคน บริหารงาน เป็นศิลปะการทางานให้มีความสุข
  • 27. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ หลักการบริหารตน บริหารคน บริหารงาน ของราชการ ผู้บริหารต้องมีความจริงใจ ความดี ความงาม ๑.) รู้เด็ก รู้ผู้ร่วมงาน รู้ผู้บริหาร รู้ชุมชน ๒.) อุทิศตนให้ราชการ ๓.) ประสานงานเครือข่าย ๔.) หลากหลายองค์ความรู้ ๕.) มุ่งเชิดชูคุณธรรม ๖.) เป็นผู้นาประชาธิปไตย ๗.) จริงใจต่อภาระหน้าที่ ๘.) มีจรรยาบรรณวิชาชีพ
  • 28. การบริหารในพุทธศาสนา บริหารตน บริหารคน บริหารงาน ด้วย พละ ๔ พละ ๔ คือ ธรรมอันเป็นพลังในการดาเนินชีวิตให้ประสบความสาเร็จ ประกอบด้วย ปัญญาพละ – กาลังความรู้ ความฉลาด วิริยพละ – กาลังแห่งความเพียร อนวัชชพละ – กาลังการงานที่ไม่มีโทษ สังคหพละ – กาลังการสงเคราะห์ หรือมนุษยสัมพันธ์ “ฉลาด ขยัน สุจริต มนุษยสัมพันธ์” ผู้บริหารและผู้นาที่ดีต้องมีให้ครบ ควรพิจารณา ตนเองว่าขาดข้อใด และพัฒนาให้เท่าเทียมกัน บริหารตน บริหารตน บริหารงาน บริหารคน
  • 29. การบริหารในพุทธศาสนา บริหารตนด้วย “ปัญญาพละ” ปัญญา คือความรอบรู้ มีความหมายลึกซึ้งกว่า สัญญา คือความจาได้หมายรู้ ผู้บริหารต้องมีปัญญารอบรู้ใน ๓ เรื่อง คือ รู้ตน - รู้จุดแข็ง จุดอ่อนตนเอง รู้ข้อผิดพลาดของตน “อตฺตนา โจทยตฺตาน” เจริญวิปัสสนาช่วยให้รู้ตน รู้คน – รู้จักเพื่อนร่วมงานและผู้ร่วมงาน เพื่อใช้งานคนให้เหมาะกับจริตของเขา รู้งาน – รู้ในงานที่ต้องทา คือ รู้ขั้นตอนและวิธีการทางาน และรู้วิธีแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ วิธีพัฒนาปัญญา สุตมยปัญญา - ปัญญาที่เกิดจากการรับข้อมูลทางการอ่านและการฟัง จินตามยปัญญา - ปัญญาที่เกิดจากการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาจากการฟังและอ่าน (โยนิโสมนสิการ) ภาวนามยปัญญา - ปัญญาที่เกิดจากการลงมือปฏิบัติ ทาให้มีผลงานเป็นรูปธรรม
  • 30. การบริหารในพุทธศาสนา บริหารตนด้วย “วิริยพละ” วิริยะ คือ กาลังความเพียร และความขยัน กาลังใจต้องมาคู่ปัญญา คนมีปัญญาแต่ขาดกาลังใจ จะ เป็นคนขลาด คนมีกาลังใจแต่ขาดปัญญาจะเป็นคนบ้าบิ่น ถ้ามีทั้งปัญญาและกาลังใจก็เปรียบเหมือน นักมวยที่มีทั้งชั้นเชิงและหมัดหนัก วิริยะในการบริหารมี ๒ ประเภท สสังขาริกวิริยะ – ความขยันที่ต้องมีคนอื่นปลุกใจ หรือสถานการณ์บีบบังคับ อสังขาริกวิริยะ – ความขยันที่เกิดจากกาลังใจตัวเอง “จับให้มั่นคั้นหมายให้วายวอด ช่วยให้รอดรักให้ชิดพิสมัย ตัดให้ขาดปรารถนาหาสิ่งใด เพียรจงได้ดังประสงค์ที่ตรงดี” สุนทรภู่ ผู้บริหารต้องมี อสังขาริกวิริยะ ไม่ยอมแพ้ ง่ายๆ ดังพุทธพจน์ที่ว่า “วายเมเถวปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา” เกิดเป็นคนต้อง พยายามร่าไปจนกว่าจะได้สิ่งที่ปรารถนา
  • 31. การบริหารในพุทธศาสนา บริหารคนด้วย “สังคหพละ” สังคหพละ คือกาลังแห่งการสงเคราะห์ หรือ หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ด้วยสังคหวัตถุ ๔ (อง.จต กก. ๒๑/๓๒/๔๔) ประกอบด้วย ๑.) ทาน คือการให้ โอบอ้อมอารี ผู้บริหารสามารถให้ทานได้ ๓ วิธี คือ อามิสทาน (ให้สิ่งของ รางวัล), วิทยาทาน (ให้คาแนะนาในการทางาน) และ อภัยทาน (ให้อภัยเมื่อลูกน้องทาผิดพลาด) ๒.) ปิยวาจา คือการพูดคาไพเราะอ่อนหวาน คาพูดที่ไพเราะอ่อนหวานสามารถผูกใจคนได้ ๓.) อัตถจริยา คือ การทาตัวให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น เช่น เป็นประธานในงานพิธีของลูกน้อง ๔.) สมานัตตา คือ การวางตัวสม่าเสมอ ร่วมรับผิดชอบในปัญหา กล้าตัดสินใจ “ทโท คตฺถติมิตฺตานิ” ผู้ให้ย่อมผูกใจมิตรไว้ได้ “มนาปทายี ลภเต มนาป” ผู้ให้สิ่งที่น่าพอใจย่อม ได้รับสิ่งที่น่าพอใจ “การเป็นใหญ่ต้องมี ๒ สิ่ง มีศัตรูที่กล้าแข็ง ที่สุด และมีมิตรที่ซื่อสัตย์ที่สุด” นโปเลียนมหาราช
  • 32. การบริหารในพุทธศาสนา บริหารงานด้วย “อนวัชชพละ” อนวัชชพละ คือ กาลังแห่งการงานที่ไม่มีโทษ คือการงานที่ไม่มีความเสียหาย เป็นการ งานที่สุจริต “ธมฺมญฺจเร สุจริต” บุคคลควรประพฤติธรรม (หน้าที่) ให้สุจริต ผู้บริหารที่กระทาหน้าที่การงานด้วยความทุจริตก็เปรียบเหมือนเรือที่มีรูรั่ว รอวันจม
  • 33. การบริหารในพุทธศาสนา ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔ ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔ หรือหัวใจเศรษฐี คือ ประโยชน์ในปัจจุบัน ๔ อย่าง การบริหารตน บริหารคน บริหารงาน ด้วยพละ ๔ สามารถกล่าวโดยสรุปรวมในคาถา เศรษฐี ๔ (ทิฏฐธัมมิกัตถะ) ได้ดังนี้ ๑.) อุ. (อุฏฐานสัมปทา) ขยันหา ๒.) อา. (อารักขสัมปทา) รักษาดี ๓.) ก. (กัลยาณมิตตตา) มีกัลยาณมิตร ๔.) ส. (สมชีวิตา) เลี้ยงชีวิตชอบธรรม
  • 34. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ กลยุทธ์การบริหารคนด้วยทฤษฎี X Y Z W เป็นทฤษฎีการบริหารคนของญี่ปุ่น โดยมีข้อสมมติเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ ความต้องการ แรงจูงใจ เพื่อให้ผู้บริหารตัดสินใจใช้วิธีการบริหารที่เหมาะสมกับคน ทฤษฎี X - ใช้การให้คุณให้โทษเพื่อกระตุ้นการทางานของบุคคลที่ขี้เกียจ ไม่ชอบทางาน ทฤษฎี Y - ใช้วิธีสร้างแรงจูงใจที่เหมาะสม กระตุ้นการทางานของบุคคลที่มีความรับผิดชอบ ทฤษฎี Z - ให้ความสาคัญและความไว้วางใจ ทาให้คนรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ทฤษฎี W - เชื่อว่ามนุษย์จะพอใจ และตั้งใจทางาน เมื่อมองเห็นความสาเร็จที่สัมผัสได้ ผู้บริหารต้อง สร้าง เป้ าหมายระยะสั้น ให้เป็นตัวกระตุ้นการทางาน
  • 35. การบริหารในพุทธศาสนา พรหมวิหาร ๔ คือ ธรรมอันเป็นเครื่องอยู่ของพรหม เพื่อที่จะประพฤติตนตามสังคหวัตถุ ๔ ได้โดยไม่ต้องฝืนใจ ผู้บริหารต้องมีพรหมวิหาร ๔ คือ ๑.) เมตตา คือ ความรัก ความหวังดี ที่ปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข ผู้บริหารจะมีความ เมตตาได้ต้องรู้จักมองส่วนดีของเพื่อนร่วมงานและลูกน้อง ๒.) กรุณา คือ ความเห็นใจ ปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ ผู้บริหารควรเปิดใจรับฟังปัญหา ของผู้อื่น ๓.) มุทิตา คือ ความรู้สึกยินดีเมื่อเห็นผู้อื่นได้ดีมีสุข ผู้บริหารควรส่งเสริมให้ผู้อื่นได้มี โอกาสพัฒนาความรู้ความสามารถ ไม่ปิดกั้นโอกาสเจริญก้าวหน้าของลูกน้อง ๔.) อุเบกขา คือ ความวางเฉยเป็นกลาง ไม่ลาเอียง ผู้บริหารต้องมีความยุติธรรมใน การให้รางวัลและลงโทษ
  • 36. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ ข้อใคร่ครวญ ๑๐ ประการ ๑.) กษัตริยราช ยามปรารถนาสิ่งใด ต้องคิดถึง "ความรู้จักพอ" เพื่อเตือนสติตนเอง ๒.) ยามกะเกณฑ์แรงงานก่อสร้างสิ่งใด ต้องรู้จักประมาณและคานึงถึงความเหมาะสม เพื่อสงบใจอาณาประชาราษฎร์ ๓.) เมื่อรู้ว่าอยู่ในตาแหน่งสูงสุด เต็มไปด้วยภยันตราย ต้องคิดถึงความนอบน้อมถ่อมใจและความโอบอ้อมอารี เพื่อควบคุม ตนเอง ๔.) เมื่อกลัวความเย่อหยิ่งทะนงตน ฟังคาแนะนาที่ตรงไปตรงมาไม่ได้ ก็ควรรู้ว่า "มหาสมุทรอยู่ต่ากว่าแม่น้าลาคลองทุกสาย" ๕.) เมื่อจะท่องเที่ยวหาล่าสัตว์ความสาราญควรคิดถึงกษัตริยราชสมัยโบราณ ไม่ออกล่าสัตว์เกิน ๓ ครั้งต่อปี ๖.) เมื่อกังวลว่าราชกิจจะถูกปล่อยปละละเลย ก็ไม่ลืมว่า "จะทาการใดต้องทาให้ดีและทาถึงที่สุด" ๗.) ถ้าเกรงว่าจะถูกปิดหูปิดตา "ต้องรับฟังความเห็นของข้าราชบริพารด้วยใจถ่อม" ๘.) ถ้ากังวลว่าความชั่วช้าจะเข้าครอบงาราชสานัก ต้องดารงตนอยู่ในความถูกต้อง หลีกห่างจากความชั่วร้ายทั้งปวง ๙.) เมื่อจะบาเหน็จรางวัล "ต้องระวังไม่ตกรางวัลมากมายส่งเดช เพียงเพราะความพอใจชั่วขณะ" ๑๐.) เมื่อจะลงโทษทัณฑ์ ก็ "ไม่ควรลงโทษทัณฑ์ส่งเดช เพราะอารมณ์โกรธชั่วครู่“ ราชันศาสตร์ของถางไท่จงฮ่องเต้
  • 37. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ คุณธรรม ๙ ข้อ ๑.) กว้างขวางมีวินัย ๒.) อ่อนโยนและสามารถ ๓.) เคร่งขรึม แต่ไม่หมางเมิน ๔.) แก้ปัญหาโดยระมัดระวัง ๕.) อ่อนหยุ่น แต่เข้มแข็ง ๖.) ตรงไปตรงมา แต่อ่อนโยน ๗.) ไม่จุกจิกจู้จี้แต่ยืนบนความเป็นจริง ๘.) เข้มแข็ง และมีความสามารถที่เป็นจริง ๙.) กล้าหาญ และคลองธรรม ราชันศาสตร์ของถางไท่จงฮ่องเต้
  • 41. การบริหารในพุทธศาสนา ทศพิธราชธรรม คือจริยวัตร ๑๐ ประการที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจาพระองค์ ซึ่งบุคคลธรรมดาที่เป็นผู้บริหาร ระดับสูงในทุกองค์กรก็พึงใช้หลักธรรมเหล่านี้ในการบริหารงาน ประกอบด้วย ๑.) ทาน (ทาน) คือ การเสียสละ ทั้งทรัพย์สิ่งของและน้าใจ ๒.) ศีล (สีล) คือ ความประพฤติที่ดีงาม ทั้ง กาย วาจา และใจ ๓.) บริจาค (ปริจาค) คือ การเสียสละความสุขส่วนตน เพื่อความสุขส่วนรวม ๔.) ความซื่อตรง (อาชฺชว) คือ ความซื่อตรงในฐานะที่เป็นผู้ปกครอง ดารงอยู่ในสัตย์สุจริต ๕.) ความอ่อนโยน (มทฺทว) คือ การมีความอ่อนโยน มีสัมมาคารวะ ๖.) ความเพียร (ตป) คือ มีความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน โดยปราศจากความเกียจคร้าน ๗.) ความไม่โกรธ (อกฺโกธ) คือ ความไม่แสดงความโกรธให้ปรากฏเห็น ๘.) ความไม่เบียดเบียน (อวิหิงสา) คือ การไม่เบียดเบียน หรือบีบคั้น ไม่ก่อทุกข์หรือเบียดเบียนผู้อื่น ๙.) ความอดทน (ขนฺติ) คือ การมีความอดทนต่อสิ่งทั้งปวง รักษาอาการ กาย วาจา ใจให้เรียบร้อย ๑๐.) ความเที่ยงธรรม (อวิโรธน) คือ ความหนักแน่น ถือความถูกต้อง เที่ยงธรรมเป็นหลัก
  • 42. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ การบริหารเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ “การกระการพัฒนาที่สามารถตอบสนองความต้องการของ คนรุ่นปัจจุบัน โดยไม่มีผลกระทบในทางลบต่อความต้องการ ของคนรุ่นต่อไปในอนาคต” บาเบียร์ (Barbier,1987) ได้เสนอว่า การพัฒนา แบบ ยั่งยืนเป็นรูปแบบการพัฒนาที่สามารถตอบสนองต่อเป้ าหมาย ของระบบ 3 ระบบด้วยกันคือ ระบบทางชีววิทยา ระบบ เศรษฐกิจ และระบบสังคม โดยที่แต่ละระบบสามารถพัฒนา ไปสู่เป้ าหมายของตนเองได้ โดยรักษาสมดุลของกันและกัน ระบบ ชีวภาพ ระบบ สังคม ระบบ เศรษฐกิจ การบริหาร เพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน
  • 43. การบริหารในพุทธศาสนา สัปปุริสรรม ๗ คือ ธรรมที่ทาให้คนเป็นสัตบุรุษ หรือ เป็นคนดี ประกอบด้วย ๑.) ธัมมัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักเหตุ รู้กฎเกณฑ์แห่งเหตุผล และรู้จักหลักการที่จะทาให้เกิดผล ๒.) อัตถัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักผล หรือความมุ่งหมาย รู้ประโยชน์ที่ประสงค์ ๓.) อัตตัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักตน ประพฤติให้เหมาะสม และรู้จักที่จะปรับปรุงต่อไป ๔.) มัตตัญญุตา - ความผู้รู้จักประมาณ คือ ความพอดีในการจ่ายโภคทรัพย์ และการบริหารการเงิน ๕.) กาลัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักกาลอันเหมาะสม และระยะเวลาในการประกอบกิจ ๖.) ปริสัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักชุมชน คือ รู้กริยาที่ควรจะประพฤติต่อชุมชนนั้นๆ ๗.) ปุคคลัญญุตา - ความเป็นผู้รู้จักบุคคล คือ รู้จักความแตกต่างของบุคคลในด้านต่างๆ
  • 44. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ กลยุทธ์การสร้างทีม ๑.) ทาความรู้จักกับผู้ร่วมทีม ๒.) กาหนดจุดมุ่งหมายของทีม ๓.) ทาบทบาทของแต่ละคนให้กระจ่าง ๔.) สร้างบรรทัดฐานขององค์กรขึ้นมา ๕.) ตั้งแผนขึ้นมาแต่ละงาน ๖.) สนับสนุนให้มีการถามคาถาม ๗.) แจกจ่ายความดีความชอบ ๘.) เน้นการมีส่วนร่วม ๙.) เฉลิมฉลองความสาเร็จ ๑๐.) ประเมินความมีประสิทธิภาพของทีม
  • 45. การบริหารในพุทธศาสนา กลยุทธ์การสร้างทีมด้วยสาราณียธรรม สาราณียธรรม ๖ หมายถึง ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง หมายถึง มีความปรารถนาดีต่อกัน เอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน ดังนี้ ๑.) เมตตากายกรรม คือ การอยู่ด้วยกันด้วยการกระทาดีต่อกัน ไม่เบียดเบียนทาร้ายกัน มุ่งเน้นการ สร้างความร่วมมือกัน ๒.) เมตตาวจีกรรม คือ ใช้หลักการทูต โดยการเจรจาให้เข้าใจกัน ไม่กล่าวร้ายเสียดสีกัน ๓.) เมตตามโนธรรม คือ การไม่คิดทาร้ายซึ่งกันและกัน มีความซื่อสัตย์เคารพในความคิดเห็นซึ่งกัน และกัน ๔.) สาธารณโภคี คือ การรู้จักแบ่งปันผลประโยชน์กันด้วยความยุติธรรมช่วยเหลือกัน ไม่เห็นแก่ตัว ๕.) สีลสามัญญตา คือ การอยู่ในศีล หรือการปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับหรือวินัยต่างๆ ๖.) ทิฏฐิสามัญญตา คือ คิดในสิ่งที่ตรงกัน ปรับมุมมองให้ตรงกัน รู้จักแสงหาจุดร่วมในความเห็น
  • 46. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ กลยุทธ์การสร้างความสามัคคีของทีมงาน เสริมสร้าง หมายถึง ก. เพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือมั่นคงยิ่งขึ้น สามัคคี หมายถึง น. ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดองกัน **ความหมายตามพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ แนวทางการสร้างความสามัคคี* ๑. ต้องทาให้กฏหมายเป็นกฏหมาย ๒. ต้องทาศีลธรรมให้เป็นศิลธรรม ๓. ต้องมีผู้นาในการสร้างความสามัคคี ๔. ต้องสร้างเมตตาบารมีให้เกิดขึ้น ๕. ต้องมีอภัยทานต่อกัน *จากการเสวนา เรื่อง “ร่วมสร้างความสามัคคี ทาดีเพื่อในหลวง” เมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๔ งานวันจานง ทอง ประเสริฐ ครั้งที่ ๙ ณ มจร. วังน้อย
  • 47. การบริหารในพุทธศาสนา กลยุทธ์การสร้างความสามัคคีด้วยวัชชีอปริหานิยธรรม คือ ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม เป็นไปเพื่อความเจริญฝ่ายเดียว ประกอบด้วย ๑.) ต้องให้มีการประชุมปรึกษาหารือเป็นประจา ๒.) ต้องเข้าประชุมและเลิกประชุมอย่างพร้อมเพรียง ๓.) ไม่บัญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติไว้ ไม่ล้มล้างสิ่งที่บัญญัติไว้แล้ว (เคารพกฎ กติกาและมารยาทของที่ประชุม) ๔.) เคาระผู้เป็นประธานและสมาชิกอาวุโสกว่า ๕.) ให้เกียรติและเคารพสุภาพสตรี ๖.) สักการะ เคารพ นับถือ บูชา เจดีย์ (คือ ปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน (เคารพ กฎระเบียบของบ้านเมืองและขององค์กร) ๗.) ให้ความอารักขา คุ้มครอง ป้ องกัน พระอรหันต์ทั้งหลาย (ต้องจัดให้มีระบบ ความปลอดภัยและการรักษาสภาพแวดล้อมเป็นอย่างดี)
  • 48. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ หลักการบริหารวิถีพุทธของบริษัท นิ่มซีเส็ง จากัด BWBS = Buddhist Weight Balance Scorecard การถ่วงดุลในการจัดการองค์กรวิถีพุทธ ๑.) ด้านการเงิน - กรุณา, ไม่โลภในการแสวงหากาไร (มีความเห็นอกเห็นใจ อยากช่วยเหลือผู้อื่น) ๒.) ด้านการตลาดลูกค้า - เมตตา (มีความรักต่อผู้อื่นอย่างเสมอกัน) ๓.) ด้านการปฏิบัติงาน - สมานัตตา, มีความสมัครสมานสามัคคี (สุข ทุกข์ เสมอกัน) ๔.) ด้านนวัตกรรมการเรียนรู้ - วิมังสา, การพัฒนาตน (การวิเคราะห์หนทางแก้ปัญหา พัฒนาคน) ๕.) ด้านวัฒนธรรมองค์กร - การเป็นบัณฑิต / การมีกัลยาณมิตร (ใช้หลักมงคลชีวิต ๓๘ ประการ ในการดาเนินการในองค์กร)
  • 49. การบริหารในพุทธศาสนา หลักการบริหาร ๑๑ ประการของพระพิพิธธรรมสุนทร พระพิพิธธรรมสุนทร วัดสุทัศน์เทพวราราม ได้นาเสนอ หลักธรรมในการบริหาร ซึ่งจะทาให้การบริหารตน บริหารคน และบริหารงาน บรรลุความสาเร็จสมความประสงค์ไว้ ๑๑ ประการ คือ ๑.) ส่งเสริมความรู้ ๒.) อยู่อย่างเสียสละ ๓.) กระจายตาแหน่งงาน ๔.) ประสานสามัคคี ๕.) ไม่เอาดีแต่เพียงตัว ๖.) ไม่มัวเมาเรื่องเงิน ๗.) ไม่ใหญ่เกินผู้บังคับบัญชา ๘.) ตั้งเมตตาไว้เป็นนิจ ๙.) ใครทาผิดต้อง ๑๐.) ไม่ประมาทเมามัว ๑๑.) ประมาณตัวทุกเวลา
  • 50. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ ฝากทิ้งท้ายสาหรับผู้บริหาร “FAME is a vapour POPULARITY an accident RICHES take wings Those who cheer to-day Will curse to-morrow One thing endures CHARACTER” :Horace Greeley ชื่อเสียงนั้นอันตรธานได้เหมือนไอน้า สูงแล้วต่าร่ากันไปในสรรเสริญ คนนิยมชมเปาะเพราะบังเอิญ สมบัติเหินสิ้นไปได้เหมือนบิน บางคนชมเราไว้ในวันนี้ รุ่งอีกทีสบประมาทสาดเสียสิ้น จะชั่วดีมีไว้ให้อาจิณ คือ ถวิล คุณธรรมประจาใจ
  • 51. การบริหารในพุทธศาสนา ฝากทิ้งท้ายสาหรับผู้บริหาร โลกธรรม ๘ หมายถึง เรื่องธรรมดาของโลก ที่สัตว์โลกต้องเป็นไปตามธรรมดานี้๘ ประการอันประกอบด้วย โลกธรรมฝ่ายอิฏฐารมณ์ คือ ความพอใจของมนุษย์ เป็นที่รักเป็นที่ปรารถนา ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข โลกธรรมฝ่ายอนิฏฐารมณ์ คือ ความไม่พอใจของมนุษย์ ไม่เป็นที่ปรารถนา เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทาว่าร้าย ทุกข์
  • 54. หัวข้อ ศาสตร์สมัยใหม่ พุทธศาสนา ความหมาย รากศัพท์มาจากภาษาลาติน “administatrae” หมายถึง ช่วยเหลือ “ปริหร“ ลักษณะของการปกครองว่าเป็นการ นาสังคมหรือหมู่คณะให้ดาเนินไปโดย สมบูรณ์ ทักษะการบริหาร มองภาพรวม, เทคนิค, มนุษยสัมพันธ์ จักขุมา, วิธูโร, นิสสยสัมปันโน หน้าที่การบริหาร POSDCoRB – Planning (การวางแผน ), Organizing (การจัดองค์การ), Staffing (การ จัดสรรบุคคล), Directing (การอานวยการ), Coordinating (การประสานงาน), Reporting (การรายงาน), Budgeting (การงบประมาณ) วางแผนการเผยแพร่พุทธศาสนา, เคารพกัน ตามพรรษา, พัฒนาคนตามจริต, สื่อสารด้วย ๔ ส. สันทัสสนา, สมาทปนา, สมุตเตชนา, สัม ปหังสนา, ดูแลความขัดแย้งด้วยอธิกรณ สมถะ ๗ ประการ, รายงานด้วยหลักอปริ หานิยธรรม ๗, วางแผนการเงินด้วยหลักจักขุ มาและหลักวิธูโร ขั้นตอนการ บริหารงาน PDCA – Plan (วางแผน), Do (ลงมือทา), Check (ตรวจสอบ), Act (ปรับปรุง) อิทธิบาท ๔ – ฉันทะ, วิริยะ, จิตตะ, วิมังสา การบริหารจัดการ องค์กร SICLP – Sufficiency (พอเพียง), Integrate (บูรณาการ), Continuous (ทาอย่างต่อเนื่อง), Learning (เรียนรู้), Participation (มีส่วนร่วม) หลักสันโดษ, หลักมัชฌิมาปฏิปทา, อิทธิบาท ๔
  • 55. หัวข้อ ศาสตร์สมัยใหม่ พุทธศาสนา ผู้นา ๓ แบบ แบ่งแบบลิปปิทท์ (Lippitt) คือ ผู้นาแบบเผด็จการ, ผู้นาแบบประชาธิปไตย , ผู้นาแบบตามสบายหรือ แบบเสรี อธิปไตยสูตร คือ อัตตาธิปไตย, โลกาธิปไตย, ธรรมาธิปไตย หลักการบริหารที่ดี บริหารตน บริหารคน บริหารงาน บริหารตนด้วย ปัญญาพละ, วิริยพละ บริหาร คนด้วยสังคหพละ และบริหารงานด้วยอนวัชช พละ โดยสรุปคือทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔ หรือ หัวใจเศรษฐี อุ. (อุฏฐานสัมปทา), อา. (อารักข สัมปทา), ก. (กัลยาณมิตตตา), ส. (สมชีวิตา) หลักการบริหารคน ทฤษฎี X Y Z W ทฤษฎี X (ให้คุณให้โทษกระตุ้น บุคคลที่ขี้เกียจ), ทฤษฎี Y (สร้างแรงจูงใจกระตุ้น บุคคลที่มีความรับผิดชอบ), ทฤษฎี Z (ให้ ความสาคัญให้คนรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร), ทฤษฎี W (สร้างเป้ าหมายระยะสั้น ให้เป็นตัวกระตุ้น การทางาน ) พรหมวิหาร ๔ - เมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา
  • 56. หัวข้อ ศาสตร์สมัยใหม่ พุทธศาสนา หลักการปกครอง ราชันศาสตร์ของถางไท่จงฮ่องเต้ (ข้อใคร่ครวญ ๑๐ ประการ, คุณธรรม ๙ ข้อ ) ทศพิธราชธรรม - ทาน, ศีล, บริจาค, ความ ซื่อตรง, ความอ่อนโยน, ความเพียร, ความไม่ โกรธ, ความไม่เบียดเบียน, ความอดทน, ความเที่ยงธรรม) การบริหารเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน สร้างความสมดุลของระบบทางชีววิทยา ระบบ เศรษฐกิจ และระบบสังคม สัปปุริสรรม ๗ - รู้จักเหตุ, รู้จักผล, รู้จักตน, รู้จักประมาณ, รู้จักกาล, รู้จักชุมชน, รู้จัก บุคคล กลยุทธ์การสร้างทีม กาหนดจุดมุ่งหมายของทีม, กาหนดบทบาทของผู้ร่วม ทีม, สร้างแผนงาน, เน้นการทางานร่วมกัน, กระจาย ความดีความชอบ สาราณียธรรม ๖ - เมตตากายกรรม, เมตตา วจีกรรม, เมตตามโนธรรม, สาธารณโภคี, สีล สามัญญตา, ทิฏฐิสามัญญตา กลยุทธ์การสร้างความ สามัคคีในทีม ต้องทาให้กฎหมายเป็นกฎหมาย, ต้องทาศีลธรรมให้ เป็นศิลธรรม, ต้องมีผู้นาในการสร้างความสามัคคี} ต้องสร้างเมตตาบารมีให้เกิดขึ้น, ต้องมีอภัยทานต่อ กัน วัชชีอปริหานิยธรรม ๗ - ประชุมเป็นประจา, เคารพกฎและผู้อาวุโส, รักษาความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
  • 57. หัวข้อ ศาสตร์สมัยใหม่ พุทธศาสนา กรณีตัวอย่าง บริษัท นิ่มซีเส็ง จากัด - BWBS (Buddhist Weight Balance Scorecard) ด้านการเงิน (กรุณา), ด้านการตลาด (เมตตา), ด้านการปฏิบัติงาน (สมานัตตา), ด้านนวัตกรรมการเรียนรู้ (วิมังสา), ด้านวัฒนธรรมองค์กร (การเป็นบัณฑิต การมี กัลยาณมิตร) หลักการบริหาร ๑๑ ประการของพระพิพิธ ธรรมสุนทร - ส่งเสริมความรู้, อยู่อย่าง เสียสละ, กระจายตาแหน่งงาน, ประสาน สามัคคี, ไม่เอาดีแต่เพียงตัว, ไม่มัวเมาเรื่อง เงิน, ไม่ใหญ่เกินผู้บังคับบัญชา, ตั้งเมตตาไว้ เป็นนิจ, ใครทาผิดต้อง, ไม่ประมาทเมามัว, ประมาณตัวทุกเวลา ฝากทิ้งท้าย “FAME is a vapour POPULARITY an accident RICHES take wings Those who cheer to-day Will curse to- morrow One thing endures CHARACTER” โลกธรรม ๘ - ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เสื่อม ลาภ เสื่อมยศ นินทาว่าร้าย ทุกข์ ตัวอย่างผู้บริหารที่ดี ที่สุด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระพุทธเจ้า
  • 58. หนังสือ • การบริหารงานด้วยหลักธรรม, ชนุตรา อิทธิธรรมวินิจ • การบริหารจัดการธุรกิจตามแนวพุทธศษสตร์. ศิริพงษ์ ศรีชัยรมย์ รัตน์ • คุณธรรมสาหรับนักบริหาร, พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺ โต) • ธรรมนูญแห่งชีวิต, โอสถ โกศิน • นักบริหารทันสมัย, กิติ ตยัคคานนท์ • พุทธวิธีบริหาร, พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) • ราชันศาสตร์ วิถีการปกครองและผูกใจคน, มิโมโต้ สึชิเฮอิ แปล โดย อธิคม สวัสดิญาณ • วิสัยทัศน์การศึกษาศาสนาในศตวรรษหน้า, สาขาศาสนา เปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยมหิดล • สาธารณบริหารศาสตร์, สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ • ธรรมสาหรับนักบริหาร @ รปศ.มข. 56 (พระมหาสมปอง ตสลปุตฺโต, ดร.) • การบริหารธุกิจแบบพุทธ • นักบริหารแบบพุทธธรรมาธิ บาล บรรณานุกรม
  • 59. ขอขอบพระคุณในการติดตามชม หวังว่าการ นาเสนอครั้งนี้จะทาให้ท่านได้เข้าใจแนวทางของ การบริหารในเชิงพุทธศาสตร์มากขึ้น และเกิดประโยชน์แก่การศึกษาพระพุทธศาสนาของ ทุกท่านต่อไป และขออนุโมทนาสาธุในบุญทุกประการของทุกท่าน ขอให้เจริญร่มเย็นในธรรม ตลอดกาลเทอญ สาธุ รตนตฺตยานุภาเวน รตนตฺตยเตชสา ยญฺจ โข สกฺกตํ โหติ เอตสฺสานุภาวโต อโรคา โหถ นิทฺทุกฺขา นิสฺโสกา อกุโตภยา สมคฺคา จ พลูเปตา ทกฺขา กิจฺจปยุญฺชเน อิทฺธึ ปปฺโปถ เวปุลฺลํ วิรุฬฺหึ จุตฺตรึ สทา ฯ โสตฺถิ ภนฺเต อนุโมทามิ สาธุ สาธุ สาธุ ฯ