SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 57
Baixar para ler offline
รายงานนาเสนอเรื่อง
โครงสร้างและเนื้อหาสาระ
พระไตรปิฏก
นำเสนอ อำจำรย์ ดร.ไพฑูรย์ รื่นสัตย์ รำยวิชำ พระไตรปิฎกวิเครำะห์
ตำมหลักสูตรปริญญำพุทธศำสตรมหำบัณฑิต
มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขตเชียงใหม่
ภำคเรียนที่ ๑ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๕
และเพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำ ธรรมบูชำ สังฆบูชำ
จัดทาโดย
พระครูโสภิตพัฒนโชติ
พระครูใบฏีกำอุทัย
นำงสำวอัญชลี จตุรำนน
โครงร่างเนื้อหาสาระ
• ความเป็นมาการจัดพิมพ์พระไตรปิฎก
• การแบ่งหมวดหมู่พระไตรปิฎก
• รายละเอียดแต่ละหมวดหมู่
• บาลีพระไตรปิฎก
• อรรถกถา
• ฎีกา
• อนุฎีกา
• พระไตรปิฎกฉบับสมาคมบาลีปกรณ์
การจารึกพระไตรปิฎกครั้งแรก
สุชีพ ปุญญำนุภำพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๗, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย, ๒๕๕๐),
หน้ำ ๑๑-๑๒.
• เพื่อป้ องกันการผิดพลาดจำกกำรท่องจำสืบต่อกันไป
• จึงเริ่มมีกำรจำรึกพุทธวจนะลงในใบลำนในช่วงปีพ.ศ.
๔๓๓ ในรัชสมัยพระเจ้ำวัฏฏคำมณีอภัย (ลังกำ)
พระไตรปิฎกเกิดขึ้นเมื่อใด
• เริ่มมีกำรแบ่งหมวดหมู่เป็น ๓ หมวด หรือที่เรียกว่ำ
พระไตรปิฎก ในการสังคายนาครั้งที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๔)
• การสังคายนาครั้งที่ ๑ และ ๒ ก็ได้มีกำรชำระทั้งธรรม
และวินัยครบ ๓ หมวดเช่นกัน หำกแต่ได้รวมพระ
สุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎกไว้ในหมวดเดียวกัน
คือ หมวดธรรม รวมเรียกทั้งหมดว่ำ “ธรรม และ วินัย”
สุชีพ ปุญญำนุภำพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๗, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย,
๒๕๕๐), หน้ำ ๘ – ๙.
พระไตรปิฎกในประเทศไทย
• พ.ศ. ๒๐๒๐ – จำรึกในใบลาน สมัยพระเจ้ำติโลกรำช
(เชียงใหม่)
• พ.ศ.๒๔๓๑ – จัดพิมพ์เป็นเล่มหนังสือครั้งแรก ในรัชกำลที่ ๕
• พ.ศ.๒๔๓๖ – ตีพิมพ์เสร็จเรียบร้อย และฉลองงำนรัชดำภิเษก
พระไตรปิฎกรวม ๓๙ เล่ม
• พ.ศ. ๒๔๖๘ - ตีพิมพ์ใหม่เป็นฉบับที่สมบูรณ์ (พระไตรปิฎก
ฉบับสยำมรัฐ ๔๕ เล่ม) ในรัชกำลที่ ๗
สุชีพ ปุญญำนุภำพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๗, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย,
๒๕๕๐), หน้ำ ๑๗.
ทาไมพระไตรปิฎกต้องมี
๔๕ เล่ม ?
• พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม สื่อถึง ๔๕ พรรษำแห่งพุทธกิจของ
พระพุทธเจ้ำ
หลักในการจัดหมวดหมู่ของพระไตรปิฎก
• ปัจจุบันใช้รูปแบบกำรแบ่งหมวดหมู่เช่นเดียวกับที่ใช้ในการสังคายนาครั้งที่ ๓
พระวินัยปิฎก
พระอภิธรรมปิฎก
พระสุตตันตปิฎก
พระวินัยทั้งหมดของภิกษุและภิกษุณี สังฆกรรม ประวัติควำม
เป็นมำภิกษุณี และประวัติกำรสังคำยนำครั้งที่ ๑ และ ๒
พระสูตรขนำดยำวและขนำดกลำง พระสูตรประมวลเป็นเรื่องๆ
หรือเป็นข้อๆ พร้อมเรื่องรำวประกอบของแต่ละพระสูตร รวมถึง
ภำษิตสำวก และชำดก
ข้อธรรมล้วนๆ แบ่งเป็นหมวดๆ เป็นข้อๆ แบ่งตำมธำตุ ธรรมะเป็น
คู่ๆ กำรบัญญัติบุคคล ถำม-ตอบกถำวัตถุ
สุชีพ ปุญญำนุภำพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๗, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย,
๒๕๕๐), หน้ำ ๒๐-๒๓.
โครงสร้างพระวินัยปิฎก
อำทิกัมมะ (อำบัติหนัก)
ปำจิตตีย์ (อำบัติเบำ)
มหำวรรค (สิกขำบทนอกปำติโมกข์ตอนต้น)
จูฬวรรค (สิกขำบทนอกปำติโมกข์ตอนปลำย)
ปริวำร (ภำคผนวก)
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระวินัยปิฎก, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์จุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย,
๒๕๕๐), หน้ำ ๑๑-๑๓.
แบ่งหมวดย่อยแบบในคัมภีร์วชิรสำรัตถสังคหะ
(พระรัตนปัญญำเถระ) ข้อ ๒๒
มหาวิภังค์ (ภิกขุวิภังค์) (เล่ม ๑-๒)
ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓)
มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕)
จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗)
ปริวาร (เล่ม ๘)
พระวินัยปิฎก (เล่ม ๑-๘)
โครงสร้างพระวินัยปิฎก
พระวินัยปิฎก (เล่ม ๑-๘)
ปำรำชิก (อำบัติหนัก)
ปำจิตตีย์ (อำบัติเบำ)
มหำวรรค (สิกขำบทนอกปำติโมกข์ตอนต้น)
จูฬวรรค (สิกขำบทนอกปำติโมกข์ตอนปลำย)
ปริวำร (ภำคผนวก)
แบ่งหมวดย่อยแบบในคัมภีร์วชิรสำรัตถสังคหะ
(พระรัตนปัญญำเถระ) ข้อ ๓๙๘
มหาวิภังค์ (ภิกขุวิภังค์) (เล่ม ๑-๒)
ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓)
มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕)
จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗)
ปริวาร (เล่ม ๘)
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระวินัยปิฎก, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์จุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย,
๒๕๕๐), หน้ำ ๑๑-๑๓.
โครงสร้างพระวินัยปิฎก
ม
ภิ
ม
จู
ป
แบ่งตำมชื่อ แบ่งแบบสมำคมบำลีปกรณ์
สุ สุตตวิภังค์ (ประมวล
สิกขำบทภิกษุ ภิกษุณี)
ข ขันธกะ (รวมสิกขำบท
นอกปำติโมกข์)
ป ปริวำร (เบ็ดเตล็ด)
มจร.
ใช้
แบบ
นี้
พระวินัยปิฎก (เล่ม ๑-๘)
มหาวิภังค์ (ภิกขุวิภังค์) (เล่ม ๑-๒)
ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓)
มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕)
จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗)
ปริวาร (เล่ม ๘)
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระวินัยปิฎก, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์จุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย,
๒๕๕๐), หน้ำ ๑๑-๑๓.
โครงสร้างพระวินัยปิฎก
พระวินัยปิฎก (เล่ม ๑-๘)
สังฆกรรม ควำมเป็นมำภิกษุณี กำรสังคำยนำ
มหาวิภังค์ (ภิกขุวิภังค์) (เล่ม ๑-๒)
ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓)
มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕)
จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗)
ปริวาร (เล่ม ๘)
ศีล และข้อห้ำมของภิกษุ
ศีล และข้อห้ำมของศีลภิกษุณี
พุทธประวัติช่วงแรกๆ และพิธีกรรมต่ำงๆ
เบ็ดเตล็ดพระวินัย
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๒๕-๒๖.
ทาไมต้องจัดพระวินัยปิฎก
ไว้เป็นหมวดแรก?
(สังคายนาครั้งที่ ๑ หลังจากพระอานนท์เข้าในที่ประชุมสงฆ์)
“เมื่อพระอำนนท์นั้นนั่งแล้วอย่ำงนั้น พระมหำกัสสปเถรจึงปรึกษำภิกษุทั้งหลำยว่ำ “ผู้
มีอำยุทั้งหลำย ! พวกเรำจะสังคำยนำอะไรก่อน พระธรรมหรือพระวินัย”
ภิกษุทั้งหลำยเรียนว่ำ "ข้ำแต่ท่ำนพระมหำกัสสป! ชื่อว่ำ
พระวินัยเป็นอำยุของพระพุทธศำสนำ เมื่อพระวินัยยังตั้งอยู่
พระพุทธศำสนำจัดว่ำยังดำรงอยู่; เพราะฉะนั้นพวก
เราจะสังคายนาพระวินัยก่อน”
มหำมกุฏรำชวิทยำลัย. ปฐมสมันตปาสาทิกา แปล ภาค ๑, (กรุงเทพมหำนคร :
โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย, ๒๕๓๕), หน้ำ ๑๙.
โครงสร้างพระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ (เล่ม ๑-๒)
เล่มที่ ๑ - มหาวิภังค์
๑. เวรัญชกัณฑ์ – พระสำรีบุตรคำนึงถึงควำมตั้งมั่นในพรหมจรรย์
๒. ปฐมปาราชิกกัณฑ์ – ห้ำมภิกษุเสพเมถุน
๓. ทุติยปาราชิกกัณฑ์ – ห้ำมภิกษุเอำของผู้อื่นเกิน ๕ มำสก
๔. ตติยปาราชิกกัณฑ์ – ห้ำมภิกษุฆ่ำมนุษย์
๕. จตุตถปาราชิกกัณฑ์ – ห้ำมอวดอุตริมนุสยธรรมที่ไม่มีในตน
๖. เตรสกัณฑ์ – สังฆำทิเสส ๑๓
๗. อนิยตกัณฑ์ – อำบัติไม่แน่ว่ำปรับข้อไหน ต้องดูพยำนหลักฐำน
อำบัติปำรำชิก ๔
สังฆำทิเสส ๑๓
อนิยต ๒
(รวม ๑๙ ข้อ)
เล่มที่ ๒ - มหาวิภังค์ ๑. นิสสัคคิยกัณฑ์ – ปำจิตตีย์ สละของ อำบัติตก ๓๐
๒. ปาจิตติยกัณฑ์ – ปำจิตตีย์ ไม่มีเงื่อนไข ๙๒
๓. ปาฏิเทสนียกัณฑ์ – อำบัติพึงแสดงคืน ๔
๔. เสขิยกัณฑ์ – ข้อพึงศึกษำ ๗๕ สรุป และ เบ็ดเตล็ด
๕. ธรรมสาหรับระงับอธิกรณ์ – ๗ ประกำร
โครงสร้างพระวินัยปิฎก ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓)
เล่มที่ ๓ - ภิกขุณีวิภังค์
๑. ปาราชิกกัณฑ์ – ปำรำชิก ๘ (เหมือนภิกษุ ๔ เพิ่ม ๔)
๒. สัตตรสกัณฑ์ – สังฆำทิเสส ๑๗ (เหมือนภิกษุ ๑๐ เพิ่ม ๗)
๓. นิสสัคคิยกัณฑ์ – นิสัคคิยปำจิตตีย์ ๓๐ (เหมือนภิกษุ ๑๒ เพิ่ม ๑๘)
๔. ปาจิตติยกัณฑ์ – ปำจิตตีย์ ๑๑๖ (เหมือนภิกษุ ๙๖ เพิ่ม ๗๐)
๕. ปาฏิเทสนียกัณฑ์ – ปำฏิเทสนียะ ๘ (ไม่เหมือนของภิกษุ)
๖. เสขิยกัณฑ์ – ข้อพึงศึกษำ ๗๕ และธรรมระงับอธิกรณ์ ๗
(เหมือนภิกษุ)
อำบัติปำรำชิก ๘
สังฆำทิเสส ๑๗
นิสสัคคิย ๓๐
ปำจิตตีย์ ๑๑๖
ปำฏิเทส ๘
เสขิย ๘๑
(รวม ๓๑๑ ข้อ)
โครงสร้างพระวินัยปิฎก มหาวรรค (เล่ม ๔-๕)
เล่มที่ ๔ - มหาวรรค
๑. มหาขันธกะ – ว่ำด้วยเรื่องตั้งแต่ตรัสรู้ แสดงธรรมเทศนำกัณฑ์ต่ำงๆ และข้อปฏิบัติกำรบวช
๒. อุโบสถขันธกะ – ว่ำด้วยกำรฟังธรรม และสวดปำฏิโมกข์
๓. วัสสูปนายิกาขันธกะ – ว่ำด้วยกำรจำพรรษำ
๔. ปวารณาขันธกะ – ว่ำด้วยกำรปวำรณำตน
เล่มที่ ๕ - มหาวรรค
๑. จัมมขันธกะ – หมวดว่ำด้วยหนัง
๒. เภสัชชขันธกะ – หมวดว่ำด้วยยำรักษำโรค
๓. กฐินขันธกะ – หมวดว่ำด้วยกฐิน
๔. จีวรขันธกะ – หมวดว่ำด้วยจีวร
๕. จัมเปยยขันธกะ – หมวดว่ำด้วยเหตุกำรณ์ในกรุงจัมปำ
๖. โกสัมพีขันธกะ – หมวดว่ำด้วยเหตุกำรณ์ในกรุงโกสัมพี
โครงสร้างพระวินัยปิฎก จูฬวรรค (เล่ม ๖-๗)
เล่มที่ ๖ - จูฬวรรค ๑. กัมมขันธกะ – หมวดว่ำด้วยสังฆกรรม
๒. ปาริวาสิกขันธกะ –หมวดว่ำกำรอยู่ปริวำส
๓. สมุจจยขันธกะ – หมวดว่ำกำรออกอำบัติสังฆำทิเสสเพิ่มเติม
๔. สมถขันธกะ – หมวดว่ำด้วยวิธีระงับอธิกรณ์
เล่มที่ ๗ - จูฬวรรค
๑. ขุทธกวัตถุขันธกะ – หมวดว่ำเรื่องเล็กๆน้อยๆ
๒. เสนาสนวัตถุขันธกะ – หมวดว่ำด้วยเรื่องที่อยู่อำศัย
๓. สังฆเภทขันธกะ – หมวดว่ำด้วยเรื่องสงฆ์แตกกัน
๔. วัตตขันธกะ – หมวดว่ำด้วยข้อวัตร
๕. ภิกขุณีขันธกะ – หมวดว่ำด้วยควำมเป็นมำ และข้อปฏิบัติของภิกษุณี
๖. ปัญจสติกขันธกะ – หมวดว่ำด้วยพระอรหันต์ ๕๐๐ รูป ในกำรสังคำยนำครั้งที่ ๑
๗. สัตตสติกขันธกะ – หมวดว่ำด้วยพระอรหันต์ ๗๐๐ รูป ในกำรสังคำยนำครั้งที่ ๒
โครงสร้างพระวินัยปิฎก ปริวาร (เล่ม ๘)
เล่มที่ ๘ - ปริวาร
สรุป และเบ็ดเตล็ดพระวินัย รวมเป็นหัวข้อย่อยๆ ๒๑ หัวข้อ
ที
ม
สัง
อัง
ขุ
พระสูตรเป็นข้อๆ (๙,๕๕๗ สูตร)
พระสูตรขนำดยำว (๓๔ สูตร)
พระสูตรขนำดกลำง (๓๒ สูตร)
พระสูตรประมวลเป็นเรื่องๆ (๗,๗๖๒ สูตร)
พระสูตรเบ็ดเตล็ด, ภำษิตสำวก, ชำดก
โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก
ทีฆนิกาย(เล่ม ๙ - ๑๑)
มัชฌิมนิกาย (เล่ม ๑๒ - ๑๔)
สังยุตตนิกาย (เล่ม ๑๕ - ๑๙)
อังคุตตรนิกาย (เล่ม ๒๐ - ๒๔)
ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓)
พระสุตตันตปิฎก (เล่ม ๙-๓๓)
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๒๗-๓๐.
โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก
ทีฆนิกาย (เล่ม ๙ - ๑๑)
เล่มที่ ๙ – ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
หมวดที่ว่ำด้วยกองศีล ๑๓ พระสูตร มีพรหมชำลสูตร เป็นต้น
เล่มที่ ๑๐ – ทีฆนิกาย มหาวรรค
หมวดที่ว่ำเรื่องใหญ่ๆ ๑๐ พระสูตร มีมหำสติปัฏฐำนสูตร มหำปรินิพพำนสูตร เป็นต้น
เล่มที่ ๑๑ – ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
พระสูตรยำว ๑๑ พระสูตร เรียกชื่อเล่มตำมพระสูตรแรกในเล่มคือ ปำฏิกสูตร
โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก
มัชฌิมนิกาย (เล่ม ๑๒ - ๑๔)
เล่มที่ ๑๒ – มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
๕ วรรค วรรคละ ๑๐ พระสูตร นำด้วยมูลปริยำยสูตร
เล่มที่ ๑๓ – มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
๕ วรรค วรรคละ ๑๐ พระสูตร แบ่งวรรคตำมประเภทบุคคล
เล่มที่ ๑๔ – มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
รวม ๕๒ พระสูตร นำด้วยเทวทหสูตร
โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก
สังยุตตนิกาย (เล่ม ๑๕ - ๑๙)
เล่มที่ ๑๕ – สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
พระสูตรที่มีคำถำ หรือคำสอนเป็นบทกวีสอนบุคคลต่ำงๆ แบ่งตำมบุคคล และสถำนที่
เล่มที่ ๑๖ – สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
พระสูตรว่ำด้วยเหตุปัจจัยแห่งกำรเวียนว่ำยตำยเกิด (ปฏิจจสมุปบำท)
เล่มที่ ๑๗ – สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
พระสูตรว่ำด้วยเรื่องขันธ์ ๕ รูปและนำม ในแง่มุมต่ำงๆ
เล่มที่ ๑๘ – สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
พระสูตรว่ำด้วยเรื่องอำยตนะ ๖ ตำมแนวไตรลักษณ์
เล่มที่ ๑๙ – สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
พระสูตรว่ำด้วยเรื่องใหญ่คือ โพธิปักขิยธรรม มี มรรค, โพชฌงค์, สติปัฏฐำน เป็นต้น
โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก
อังคุตตรนิกาย (เล่ม ๒๐ - ๒๔)
เล่มที่ ๒๐ – อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
ว่ำด้วยหลักธรรมที่มีจำนวน ๑, ๒, ๓ ข้อ
เล่มที่ ๒๑ – อังคุตตรนิกาย จตุกกบาต
ว่ำด้วยหลักธรรมที่มีจำนวน ๔ ข้อ
เล่มที่ ๒๒ – อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกบาต
ว่ำด้วยหลักธรรมที่มีจำนวน ๕,๖ ข้อ
เล่มที่ ๒๓ – อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกบาต
ว่ำด้วยหลักธรรมที่มีจำนวน ๗, ๘, ๙ ข้อ
เล่มที่ ๒๔ – อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
ว่ำด้วยหลักธรรมที่มีจำนวน ๑๐, ๑๑ ข้อ
โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก
ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓)
เล่มที่ ๒๕ – ขุททกนิกาย
๑. ขุททกปาฐะ – บทสวดเล็กๆ
๒. ธัมมปทคาถา – ธรรมบท ๔๒๓ บท
๓. อุทาน – พุทธภำษิต
๔. อิติวุตตกะ – ถ้อยคำที่อ้ำงว่ำเป็นพุทธภำษิต
๕. สุตตนิบาต - พระสูตรเบ็ดเตล็ด
เล่มที่ ๒๖ – ขุททกนิกาย
๑. วิมานวัตถุ – เหตุอย่ำงไร ได้วิมำนอย่ำงไร
๒. เปตวัตถุ – เปรตในสภำวะต่ำงๆ
๓. เถรคาถา – ภำษิตเตือนใจภิกษุ
๔. เถรีคาถา – ภำษิตเตือนใจภิกษุณี
โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก
ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓) (ต่อ)
เล่มที่ ๒๗ – ขุททกนิกาย ชาดก ๑
ชำดกเรื่องเล็กๆ ๕๒๕ เรื่อง
เล่มที่ ๒๘ – ขุททกนิกาย ชาดก ๒
ชำดกเรื่องยำว ๒๒ เรื่อง รวมถึงชำดกทศชำติ
เล่มที่ ๒๙ – ขุททกนิกาย มหานิเทส
ภำษิตพระสำรีบุตร คำอธิบำยพระสูตรโดยพระสำรีบุตร ๑๖ พระสูตร
เล่มที่ ๓๐ – ขุททกนิกาย จูฬนิเทส
ภำษิตพระสำรีบุตร คำอธิบำยพระสูตรโดยพระสำรีบุตร ๑๗ พระสูตร
โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก
ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓) (ต่อ)
เล่มที่ ๓๑ – ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
ภำษิตพระสำรีบุตร คำอธิบำยพระสูตรที่เกี่ยวกับทำงแห่งควำมแตกฉำน โดยพระสำรีบุตร
มี มหาวรรค (เรื่องใหญ่ๆ ๑๐ เรื่อง), ยุคนัทธวรรค (เรื่องสมถะและวิปัสนำ ๑๐ เรื่อง),
ปัญญาวรรค (ว่ำด้วยปัญญำ ๑๐ เรื่อง)
เล่มที่ ๓๒ – ขุททกนิกาย อปทาน ๑
ประวัติกำรบำเพ็ญควำมดีงำมของพระพุทธเจ้ำ, พระปัจเจกพุทธเจ้ำ และพระสำวก
เล่มที่ ๓๓ – ขุททกนิกาย อปทาน ๒
ว่ำด้วยเรื่องของพุทธวังสะ (วงศ์ของพระพุทธเจ้ำ คือพระพุทธเจ้ำ ๒๕ พระองค์), พุทธจริยำ
และกำรบำเพ็ญบำรมีในชำติต่ำงๆ
พระสูตรใดเป็นพระสูตรแรก
ในพระสุตตันตปิฎก?
พรหมชำลสูตร, พระสุตตันตปิฎก, ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค, พระไตรปิฎกเล่ม ๙.
พรหมชาลสูตร (สูตรว่าด้วยข่ายอันประเสริฐ)
 มิให้โกรธเมื่อมีผู้ติเตียนพระรัตนตรัย และมิให้ยินดีเมื่อมีผู้สรรเสริญพระรัตนตรัย
 จูฬศีล, มัชฌิมศีล, มหำศีล (ศีลอย่ำงเล็กน้อย, อย่ำงกลำง และอย่ำงใหญ่)
 ทิฏฐิ ๖๒ ประกำร (ปรำรภเบื้องต้น ๑๘, เบื้องปลำย ๔๔)
 ผู้ที่มีทิฏฐิ ๖๒ ประกำรนี้ย่อมได้เสวยอำรมณ์จำกอำยตนะทั้ง ๖ มีความยึดมั่น
ถือมั่นดังปลาที่ติดอยู่ในข่าย
 ตถำคตเป็นผู้ถอนตัณหาอันจะทาให้ติดอยู่ในภพได้แล้ว
เหตุใดจึงต้องนาพรหมชาลสูตรมา
ไว้เป็นพระสูตรแรก?
............................?
พระพุทธเจ้ำทรงแสดง ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรไว้เป็นพระสูตรแรก หลังตรัสรู้
เหตุใดจึงไม่นำธัมมจักกัปปวัตตนสูตรมำแสดงเป็นพระสูตรแรกในพระสุตตันตปิฎก?
 มิให้โกรธเมื่อมีผู้ติเตียนพระรัตนตรัย และมิให้ยินดีเมื่อมีผู้สรรเสริญพระรัตนตรัย
เหตุใดจึงต้องนาพรหมชาลสูตรมา
ไว้เป็นพระสูตรแรก?
 จูฬศีล, มัชฌิมศีล, มหำศีล (ศีลอย่ำงเล็กน้อย, อย่ำงกลำง และอย่ำงใหญ่)
พรหมชาลสูตร
(พระสูตรว่าด้วยข่ายอันประเสริฐ)
เปิดใจผู้เริ่มศึกษาได้ ว่ำพระพุทธเจ้ำมิได้ทรงต้องกำรกำรสรรเสริญหรือยอมรับ มิได้ทรง
โกรธหำกมีผู้ไม่ยอมรับ ไม่บังคับให้ศรัทธำ หำกแต่มีเหตุและผลให้ไปพิจำรณำเอง
ศีลเป็นบาทฐานของกำรเริ่มฝึกตนในทำงพุทธศำนำตำมหลักของไตรสิกขำ พระสูตร
เรื่องศีลจึงถูกนำมำรวมไว้ใน พระสุตตันตปิฎก ทีฑนิกำย สีลขันธวรรค (เล่มที่ ๙) เป็น
เล่มแรกในหมวดพระสุตตันตปิฎก
พรหมชำลสูตร, พระสุตตันตปิฎก, ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค, พระไตรปิฎกเล่ม ๙.
เหตุใดจึงต้องนาพรหมชาลสูตรมาไว้เป็นพระสูตรแรก? (ต่อ)
 ผู้ที่มีทิฏฐิ ๖๒ ประกำรนี้ย่อมได้เสวยอำรมณ์จำกอำยตนะทั้ง ๖ มีความยึดมั่น
ถือมั่นดังปลาที่ติดอยู่ในข่าย
 ทิฏฐิ ๖๒ ประกำร (ปรำรภเบื้องต้น ๑๘, เบื้องปลำย ๔๔)
 ตถำคตเป็นผู้ถอนตัณหาอันจะทาให้ติดอยู่ในภพได้แล้ว
- ชี้แจงความเห็นที่ผิดทั้ง ๖๒ ประกำร เป็นกำรปูพื้นฐำนในกำรศึกษำต่อไป ไม่ให้
เข้ำใจหรือตีควำมผิดไปเป็นควำมเห็นใดใน ๖๒ ประกำรนี้เพรำะทรำบแต่เบื้องต้นแล้ว
ว่ำสิ่งใดไม่ใช่ สิ่งใดไม่ถูก
- เป็นกำรให้ผู้เริ่มศึกษำได้พิจำรณำควำมเห็นเดิมของตน ว่ำอยู่ในขอบข่ำยของทิฏฐิ
๖๒ ประกำรนี้บ้ำงหรือไม่
ผู้ศึกษำจะได้ทราบถึงผล ที่เกิดจำกเหตุแห่งการมีทิฏฐิ ๖๒ ประกำรนี้
ชี้ให้เห็นว่ำมีควำมเป็นไปได้ที่จะหลุดพ้นจำกข่ำยแห่งควำมยึดมั่นถือมั่นนี้ ถือเป็นกำร
ปูทางก่อนที่จะเริ่มต้นศึกษาในหลักธรรมต่ำงๆ เป็นเป้ ำหมำยในทำงพุทธศำสนำ
พรหมชำลสูตร, พระสุตตันตปิฎก, ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค, พระไตรปิฎกเล่ม ๙.
โครงสร้างพระวินัยปิฎก และพระสุตตันตปิฎก
สังฆกรรม ควำมเป็นมำภิกษุณี กำรสังคำยนำ
มหาวิภังค์ (เล่ม ๑-๒)
ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓)
มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕)
จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗)
ปริวาร (เล่ม ๘)
ศีล และข้อห้ำมของภิกษุ
ศีล และข้อห้ำมของศีลภิกษุณี
พุทธประวัติช่วงแรกๆ และพิธีกรรมต่ำงๆ
เบ็ดเตล็ดพระวินัย
ที
ม
สัง
อัง
ขุ
พระสูตรเป็นข้อๆ (๙,๕๕๗ สูตร)
พระสูตรขนำดยำว (๓๔ สูตร)
พระสูตรขนำดกลำง (๓๒ สูตร)
พระสูตรประมวลเป็นเรื่องๆ (๗,๗๖๒ สูตร)
พระสูตรเบ็ดเตล็ด, ภำษิตสำวก, ชำดก
พระสุตตันตปิฎก (เล่ม ๙-๓๓)
ทีฆนิกาย (เล่ม ๙ - ๑๑)
มัชฌิมนิกาย (เล่ม ๑๒ - ๑๔)
สังยุตตนิกาย (เล่ม ๑๕ - ๑๙)
อังคุตตรนิกาย (เล่ม ๒๐ - ๒๔)
ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓)
ม
ภิ
ม
จู
ป
พระวินัยปิฎก (เล่ม ๑-๘)
โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก
พระอภิธรรมปิฎก (เล่ม ๓๔-๔๕)
ธัมมสังคณี (เล่ม ๓๔)
วิภังค์ (เล่ม ๓๕)
ธาตุกถา, ปุคคลปัญญัติ (เล่ม ๓๖)
กถาวัตถุ (เล่ม ๓๗)
ยมก (เล่ม ๓๘-๓๙)
รวมกลุ่มธรรมะเป็นหัวข้อสั้นๆ
ปัฏฐาน (เล่ม ๔๐-๔๕)
แยกกลุ่มธรรมะเพื่อให้ชัดเจน
เรื่องธำตุ และกำรบัญญัติบุคคล
ถำม-ตอบหลักธรรม ๒๑๙ ข้อ
ว่ำด้วยธรรมะเป็นคู่ๆ
ธรรมะที่เป็นปัจจัยเกื้อกูลกัน ๒๔ อย่ำง
สัง
วิ
ธา ปุ
ก
ย
ป
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๓๒-๓๔.
๑. มาติกา (แม่บท) – แม่บทแห่งธรรม
๒. จิตตุปปาทกัณฑ์ – คำอธิบำยเรื่องจิต และเจตสิก
๓. รูปกัณฑ์ – คำอธิบำยเรื่องรูป
๔. นิกเขปกัณฑ์ – คำอธิบำยมำติกำแบบยำว
๕. อัตถุทธารกัณฑ์ - คำอธิบำยมำติกำแบบย่อ
โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก
ธัมมสังณี, วิภังค์ (เล่ม ๓๔-๓๕)
เล่มที่ ๓๔ – ธัมมสังคณี
เล่มที่ ๓๕ – วิภังค์
กลุ่มธรรมะ ๑๘ หมวด
ขันธ์ ๕
อำยตน ๑๒
ธำตุ ๖ ธำตุ ๑๘
อริยสัจ๔
อินทรีย์ ๒๒
ปัจจยำกำร ๑๒
สติปัฏฐำน ๔
สัมมัปปธำน ๔
อิทธิบำท ๔
โพชฌงค์ ๗
มรรค ๘
ฌำน
อัปปมัญญำ ๔
ศีล ๕
ปฏิสัมภิทำ ๔
ญำณ ๑-๑๐
เรื่องเล็กๆน้อยๆ
ธาตุกถา – นำเอำหัวข้อธรรมต่ำงๆมำสังเครำะห์เข้ำกับ ขันธ์, อำยตนะ และธำตุ ว่ำ
สังเครำะห์เข้ำกันได้หรือไม่
ปุคคลบัญญัติ – กำรบัญญัติบุคคล ว่ำบุคคลอย่ำงไร มีชื่อเรียกว่ำอย่ำงไร
โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก
ธาตุกถา, ปุคคลบัญญัติ, กถาวัตถุ (เล่ม ๓๖-๓๗)
เล่มที่ ๓๖ – ธาตุกถา และ ปุคคลบัญญัติ
เล่มที่ ๓๗ – กถาวัตถุ
เป็นถำมตอบข้อธรรม ๒๑๙ ข้อ โดยพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระในกำรสังคำยนำครั้งที่ ๓
มีระบุว่ำถำมตอบข้อไหน เนื่องมำจำกควำมเห็นผิดของนิกำยไหน แต่งขึ้นเพื่อแก้ควำม
เห็นผิดที่แตกแยกออกไปเป็นนิกำยต่ำงๆ
๑. มูลยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นมูล
๒. ขันธยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นขันธ์
๓. อายตนยมก - ธรรมเป็นคู่อันเป็นอำยตนะ
โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก
ยมก (เล่ม ๓๘-๓๙)
เล่มที่ ๓๘ – ยมก ๑
เล่มที่ ๓๙ – ยมก ๒
๔. ธาตุยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นธำตุ
๕. สัจจยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นสัจจะ
๖. สังขารยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นสังขำร
๗. อนุสสยยมก - ธรรมเป็นคู่อันเป็นอนุสัย
๑. จิตตยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นจิต
๒. ธัมมยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นธรรม
๓. อินทรียมก - ธรรมเป็นคู่อันเป็นอินทรีย์
โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก
ปัฏฐาน (เล่ม ๔๐-๔๕)
เล่มที่ ๔๐ – ปัฏฐาน ๑ อนุโลมติกปัฏฐาน
ปัจจัยอันเกี่ยวกับธรรม ๓ อย่าง กุศลธรรม ๓, เวทนำ ๓, วิบำก ๓, อุปำทินนะ ๓ และ
สังกิลิฏฐะ ๓ (คือปัจจัยแห่งธรรมในธัมมสังคณี, “พระอภิธรรมปิฎก, ธัมมสังคณี, เล่ม ๓๔)
เล่มที่ ๔๑ – ปัฏฐาน ๒ อนุโลมติกปัฏฐาน
อธิบำยข้อธรรมจำกธัมมสังคณีต่อจำกเล่มที่ ๔๐
เล่มที่ ๔๒ – ปัฏฐาน ๓ อนุโลมทุกปัฏฐาน
อธิบำยถึงปัจจัยแห่งหัวข้อธรรมจำกธัมมสังคณี ๒ ประกำร
เล่มที่ ๔๓ – ปัฏฐาน ๔ อนุโลมทุกปัฏฐาน
อธิบำยถึงปัจจัยแห่งหัวข้อธรรมจำกธัมมสังคณีอีก ๒ ประกำร
โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก
ปัฏฐาน (เล่ม ๔๐-๔๕) (ต่อ)
เล่มที่ ๔๔ – ปัฏฐาน ๕ ธรรมหมวดต่างๆ
อธิบำยควำมเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลำยในคัมภีร์ธัมมสังคณี
เล่มที่ ๔๕ – ปัฏฐาน ๖ หัวข้อสาคัญ ๓ ประการ
อธิบำยควำมเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลำยในคัมภีร์ธัมมสังคณีในแง่ปฏิเสธ
๑. ปัจจนียปัฏฐาน – ใช้หลักปฏิเสธ + ปฏิเสธ
๒. อนุโลมปัจจนียปัฏฐาน – ใช้หลักอนุโลม+ ปฏิเสธ
๓. ปัจจนียานุโลมปัฏฐาน – ใช้หลักปฏิเสธ + อนุโลม
โครงสร้างพระไตรปิฎกทั้ง ๓ หมวด
สังฆกรรม,ควำมเป็นมำภิกษุณี,สังคำยนำ
มหาวิภังค์ (เล่ม ๑-๒)
ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓)
มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕)
จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗)
ปริวาร (เล่ม ๘)
ศีล และข้อห้ำมของภิกษุ
ศีล และข้อห้ำมของศีลภิกษุณี
พุทธประวัติช่วงแรกๆ และพิธีกรรมต่ำงๆ
เบ็ดเตล็ดพระวินัย
ที
ม
สัง
อัง
ขุ
พระสูตรเป็นข้อๆ (๙,๕๕๗ สูตร)
พระสูตรขนำดยำว (๓๔ สูตร)
พระสูตรขนำดกลำง (๓๒ สูตร)
พระสูตรประมวลเป็นเรื่องๆ (๗,๗๖๒ สูตร)
พระสูตรเบ็ดเตล็ด, ภำษิตสำวก, ชำดก
พระสุตตันตปิฎก (๙-๓๓)
ทีฆนิกาย (เล่ม ๙ - ๑๑)
มัชฌิมนิกาย (เล่ม ๑๒ - ๑๔)
สังยุตตนิกาย (เล่ม ๑๕ - ๑๙)
อังคุตตรนิกาย (เล่ม ๒๐ - ๒๔)
ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓)
ม
ภิ
ม
จู
ป
พระวินัยปิฎก (๑-๘) พระอภิธรรมปิฎก (๓๔-๔๕)
ธัมมสังคณี (เล่ม ๓๔)
วิภังค์ (เล่ม ๓๕)
ธาตุกถา (เล่ม ๓๖)
กถาวัตถุ (เล่ม ๓๗)
ยมก (เล่ม ๓๘-๓๙)
รวมกลุ่มธรรมะเป็นหัวข้อสั้นๆ
ปัฏฐาน (เล่ม ๔๐-๔๕)
แยกกลุ่มธรรมะเพื่อให้ชัดเจน
เรื่องธำตุ กำรบัญญัติบุคคล
ถำม-ตอบหลักธรรม ๒๑๙ ข้อ
ว่ำด้วยธรรมะเป็นคู่ๆ
ธรรมะที่เป็นปัจจัยเกื้อกูลกัน ๒๔ อย่ำง
ปุคคลปัญญัติ (เล่ม ๓๖)
สัง
วิ
ธา
ปุ
ก
ย
ป
เรื่องกำรบัญญัติบุคคล
ปกิณกะ พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย
จำนวนรวม ๔๕ เล่ม
๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์
๒๒,๓๗๙ หน้ำ
๒๔,๓๐๐,๐๐๐ ตัวอักษร
พระพรหมคุณำภรณ์ (ป.อ.ปยุตตโต), พระไตรปิฎก สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้,หน้ำ ๖.
สุตตวิภังค์
มหาวรรค
มหาวิภังค์
โครงสร้างบาลีพระวินัยปิฎก
จูฬวรรค
ขันธกะ บริวาร
ภิกขุนีวิภังค์
พระวินัยปิฎก (๕ คัมภีร์)
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๒๔.
โครงสร้างบาลีพระสุตตันตปิฎก
พระสุตตันตปิฎก (๕ คัมภีร์)
มัชฌิมนิกายทีฆนิกาย
อังคุตตรนิกายสังยุตตนิกาย
ขุททกนิกาย (๑๕ คัมภีร์)
(๑)ขุททกปาฐะ (๒) ธัมมปท (๓) อุทาน (๔) อิติวุตตกะ (๕) สุตตนิบาต
(๖) วิมานวัตถุ (๗) เปตวัตถุ (๘) เถรคาถา (๙) เถรีคาถา (๑๐) ชาตก
(๑๑) นิทเทศ (๑๒) ปฏิสัมภิทามรรค (๑๓) อปทาน
(๑๔) พุทธวงศ์ (๑๕) จริยาปิฎก
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๒๔.
โครงสร้างบาลีพระอภิธรรมปิฎก
สังคณี
วิภังค์
ธาตุกถา
ปุคคลบัญญัติ
กถาวัตถุ
ยมก
ปัฏฐาน
พระอภิธรรมปิฎก (๕ คัมภีร์)
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎก
ศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๒๔.
ลาดับชั้นคัมภีร์ทางพุทธศานา
เป็นหลักฐำนชั้นที่ ๑ เรียกว่ำ บำลี
เป็นหลักฐำนชั้นที่ ๒ เป็นคำอธิบำยพระไตรปิฎก
เป็นหลักฐำนชั้นที่ ๓ เป็นคำอธิบำยอรรถกถำ
เป็นหลักฐำนชั้นที่ ๔ เป็นคำอธิบำยฎีกำ
พระไตรปิฎก
อรรถกถา
ฎีกา
อนุฎีกา
สุชีพ ปุญญำนุภำพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๗, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย,
๒๕๕๐), หน้ำ ๒๓.
วิธีการแบ่งอรรถกถา
 พุทธสังวัณณิตะ (พุทธกถา) – พระพุทธเจ้ำอธิบำยพุทธพจน์เอง
 อนุพุทธสังวัณณิตะ (อนุพุทธกถา) - พระสำวกอธิบำยพุทธพจน์
๑. แบ่งตามผู้แต่ง
๒. แบ่งตามภาษา
 มคธอรรถกถา – แต่งด้วยภำษำมคธ (บำลี)
 สิงหลอรรถกถา – แต่งด้วยภำษำสิงหล
๓. แบ่งตามยุค
 โบราณอรรถกถา – อรรถกถำรุ่นเก่ำ
 อภินวอรรถกถา – เรียบเรียงขึ้นใหม่ (วิสุทธิมรรค, คัมภีร์ญำโณทัย)
 วิตถารอรรถกถา – เนื้อหำตำมลำดับบทบำลีในพระไตรปิฎก
 สังคหอรรถกถา – อธิบำยเฉพำะบทบำลีที่ซับซ้อน
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๔๐-๔๕.
วิธีการแบ่งอรรถกถา (ต่อ)
 อรรถกถาสายพระวินัยปิฎก
– อธิบำยขยำยควำมพระวินัยปิฎก
 อรรถกถาสายพระสุตตันตปิฎก
– อธิบำยขยำยควำมพระสุตตันตปิฎก
 อรรถกถาสายพระอภิธรรมปิฎก
– อธิบำยขยำยควำมพระอภิธรรมปิฎก
๔. แบ่งตามสายคัมภีร์
ปัจจุบัน
นิยม
ใช้
แบบ
นี้
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๔๖-๔๗.
สังฆกรรม,ควำมเป็นมำภิกษุณี,สังคำยนำ
มหาวิภังค์ (เล่ม ๑-๒)
ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓)
มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕)
จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗)
ปริวาร (เล่ม ๘)
ศีล และข้อห้ำมของภิกษุ
ศีล และข้อห้ำมของศีลภิกษุณี
พุทธประวัติช่วงแรกๆ และพิธีกรรมต่ำงๆ
เบ็ดเตล็ดพระวินัย
พระวินัยปิฎก (๑-๘)
สมันตปาสาทิกา
- อธิบำยควำมพระวินัยปิฎก
ทั้ง ๕ คัมภีร์
กังขาวิตรณี (มาติกัฏฐกถา)
- อธิบำยสำระแห่งปำฏิโมกข์
อรรถกถาพระวินัยปิฎก
มีหลำกหลำยคัมภีร์ ยกตัวอย่ำงที่ใช้กันทั่วไปคือ
ผลงำนของท่ำนพระพุทธโฆษำจำรย์
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา,
(กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๔๖.
พระสูตรเป็นข้อๆ (๙,๕๕๗ สูตร)
พระสูตรขนำดยำว (๓๔ สูตร)
พระสูตรขนำดกลำง (๓๒ สูตร)
พระสูตรประมวลเป็นเรื่องๆ (๗,๗๖๒ สูตร)
พระสูตรเบ็ดเตล็ด, ภำษิตสำวก, ชำดก
พระสุตตันตปิฎก (๙-๓๓)
อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก
ทีฆนิกาย (เล่ม ๙ - ๑๑)
มัชฌิมนิกาย (เล่ม ๑๒ - ๑๔)
สังยุตตนิกาย (เล่ม ๑๕ - ๑๙)
อังคุตตรนิกาย (เล่ม ๒๐ - ๒๔)
ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓)
๑. สุมังคลวิลาสินี - อธิบำยควำมในทีฆนิกำย
๒. ปปัญจสูทนี - อธิบำยควำมในมัชฌิมนิกำย
๓. สารัตถปกาสินี - อธิบำยควำมในสังยุตตนิกำย
๕. ปรมัตถโชติกา - อธิบำยควำมในขุททกนิกำย
๖. ชาตกัฏฐกถา - อธิบำยควำมในขุททกนิกำย
๗. ธัมมปทัฏฐกถา - อธิบำยควำมในขุททกนิกำย
๔. มโนรถปูรณี - อธิบำยควำมในอังคุตตรนิกำย
ยกตัวอย่ำงที่ใช้กันทั่วไปคือผลงำนของท่ำนพระพุทธโฆษำจำรย์
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา,
(กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๔๖-๔๗.
พระอภิธรรมปิฎก (๓๔-๔๕)
ธัมมสังคณี (เล่ม ๓๔)
ธาตุกถา (เล่ม ๓๖)
กถาวัตถุ (เล่ม ๓๗)
ยมก (เล่ม ๓๘-๓๙)
ปัฏฐาน (เล่ม ๔๐-๔๕)
เรื่องธำตุ กำรบัญญัติบุคคล
ถำม-ตอบหลักธรรม ๒๑๙ ข้อ
ว่ำด้วยธรรมะเป็นคู่ๆ
ธรรมะที่เป็นปัจจัยเกื้อกูลกัน ๒๔ อย่ำง
ปุคคลปัญญัติ (เล่ม ๓๖)
เรื่องกำรบัญญัติบุคคล
อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก
๑. อัฏฐสาลินี - อธิบำยควำมในธัมมสังคณี
๒. สัมโมหวิโนทนี - อธิบำยควำมในวิภังค์
๓. ปรมัตถทีปนี – อธิบำยควำมใน ๕ คัมภีร์ คือ
ธำตุกถำ, ปุคคลบัญญัติ, กถำวัตถุ, ยมก. ปัฏฐำน
แยกกลุ่มธรรมะเพื่อให้ชัดเจน
รวมกลุ่มธรรมะเป็นหัวข้อสั้นๆ
วิภังค์ (เล่ม ๓๕)
มีหลำกหลำยคัมภีร์ ยกตัวอย่ำงที่ใช้กันทั่วไปคือ
ผลงำนของท่ำนพระพุทธโฆษำจำรย์
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา,
(กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๔๗.
พระอรรถกถาจารย์
 พระพุทธโฆษาจารย์
 พระธรรมปาละ
 พระอุปเสนะ
 พระมหานามะ
 พระพุทธทัตตะ
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๕๖.
คัมภีร์ฎีกา
 ฎีกาอรรถกถาพระวินัยปิฎก
– อธิบำยขยำยควำมอรรถกถำพระวินัยปิฎก (รวม ๒๑ คัมภีร์)
 ฎีกาอรรถกถาพระสุตตันตปิฎก
– อธิบำยขยำยควำมอรรถกถำพระสุตตันตปิฎก (รวม ๑๑ คัมภีร์)
 ฎีกาอรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก
– อธิบำยขยำยควำมอรรถกถำพระอภิธรรมปิฎก (รวม๔๒ คัมภีร์)
แบ่งตามสายคัมภีร์
คัมภีร์ฎีกำเถรวำทยุคแรกหมำยถึงเฉพำะคัมภีร์ที่อธิบำยอรรถกถำ
แต่ยุคหลังหมำยควำมรวมถึงคัมภีร์ที่อธิบำยควำมหมำยของคัมภีร์อื่นๆ
ด้วย เช่น ฎีกำพงศำวดำรบำลี เป็นต้น
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๙๐-๙๓.
คัมภีร์อนุฎีกา
 อนุฎีกาพระวินัยปิฎก
๑. วินยลักขำฎีกำคัมภีร์ใหม่
๒. ขุททกสิกขำฎีกำคัมภีร์ใหม่ (พระสุมังคลปสำทนีฎีกำ)
๓. มูลสิกขำฎีกำคัมภีร์ใหม่
 อนุฎีกาพระสุตตันตปิฎก
๑. ผลงำนพระสำรีบุตรชำวศรีลังกำ ๑๑ คัมภีร์
๒. ผลงำนพระอนุฎีกำจำรย์รูปอื่นๆ ๒ คัมภีร์
 อนุฎีกาพระอภิธรรมปิฎก
๑. ผลงำนพระอำนันทะ ๖ คัมภีร์
๒. ผลงำนพระสุมังคละ ๖ คัมภีร์
๓. ไม่ปรำกฏผู้แต่ง ๕ คัมภีร์
แบ่งตามสายคัมภีร์
ในภำษำบำลีเรียกว่ำ อภินวฎีกำ แปลว่ำ ฎีกำใหม่
คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓),
หน้ำ ๙๔-๙๕.
สมาคมบาลีปกรณ์ (Pali Text Society)
สมำคมบำลีปกรณ์ก่อตั้งโดย Mr. T.W. Rhys Davids
ประเทศอังกฤษ จัดตั้งขึ้นเพื่อแปลและเผยแพร่
คัมภีร์ทำงพุทธศำสนำในภำษำบำลี อักษรโรมัน
และภำคภำษำอังกฤษ
credit: www.palitext.com
พระไตรปิฎกฉบับบาลีปกรณ์ (Pali Text Society)
พระวินัยปิฎก, พระสุตตันตปิฎก
Vinaya-piṭaka (พระวินัยปิฎก) - The Book of the Discipline
Majjhima-nikāya (พระสุตตันตปิฎก, มัชฌิมนิกำย)
- Middle Length Sayings
credit: www.palitext.com
พระไตรปิฎกฉบับบาลีปกรณ์ (Pali Text Society)
พระอภิธรรมปิฎก
Puggalapaññatti (พระอภิธรรมปิฎก, ปุคคลบัญญัติ)
- A Designation of Human Types
credit: www.palitext.com
พระไตรปิฎกฉบับบาลีปกรณ์ (Pali Text Society)
อรรถกถาพระวินัยปิฎก, อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก
Samantapāsādikā (สมันตปำสำทิกำ, อรรถกถำพระวินัยปิฎก)
- The Inception of Discipline
Dhammapada-aṭṭhakathā (ธัมมปทคำถำ, อรรถกถำพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกำย)
- Buddhist Legends
credit: www.palitext.com
พระไตรปิฎกฉบับบาลีปกรณ์ (Pali Text Society)
อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก
Sammohavinodanī (สัมโมหวิโนทนี, อรรถกถำพระอภิธรรมปิฎก วิภังค์)
- Dispeller of Delusion
credit: www.palitext.com
ประโยชน์ของการศึกษาโครงสร้างพระไตรปิฎก
สำมำรถค้นหำข้อมูลในพระไตรปิฎกได้ง่ำยขึ้น
เนื่องจำกเข้ำใจโครงสร้ำงทั้งหมดแล้ว
เข้ำใจภำพรวมทั้งหมดของพระไตรปิฎก
และอรรถกถำว่ำมีเนื้อหำอะไรบ้ำง
กำรศึกษำให้รู้และเข้ำใจในพระไตรปิฏก เป็นแนวทำงกำรศึกษำในลำดับแรกคือ “ปริยัติ”
จำกนั้นจึงควรนำไปกระทำตำม คือ “ปฏิบัติ” เพื่อให้ได้ผลแห่งกำรปฏิบัตินั้น คือ “ปฏิเวธ”
ฝากทิ้งท้าย...
เปรียบเหมือนมีแผนที่นำทำงในกำรศึกษำ
พระพุทธศำสนำต่อไป
ขอขอบพระคุณในการ
ติดตามชม
หวังว่าการนาเสนอครั้งนี้ จะ
เป็นประโยชน์ในการศึกษา
พระไตรปิฎกของทุกท่าน
ต่อไป ขออนุโมทนาสาธุใน
บุญทุกประการของทุกท่าน
และขอให้เจริญร่มเย็นใน
ธรรม ตลอดกาลเทอญ
สาธุ...

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Ch Khankluay
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า chonlataz
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 

Mais procurados (20)

วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
แผนพระพุทธศาสนา
แผนพระพุทธศาสนาแผนพระพุทธศาสนา
แผนพระพุทธศาสนา
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 

Semelhante a โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก

ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016Watpadhammaratana Pittsburgh
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
ธัมมปทัฏฐกถา
ธัมมปทัฏฐกถาธัมมปทัฏฐกถา
ธัมมปทัฏฐกถาPphat Thadhol
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Krawchai Santadwattana
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยSarod Paichayonrittha
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Jirakit Meroso
 

Semelhante a โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก (20)

ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
ธัมมปทัฏฐกถา
ธัมมปทัฏฐกถาธัมมปทัฏฐกถา
ธัมมปทัฏฐกถา
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นเอก  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นเอก  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
 
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
 
Aksorn 1
Aksorn 1Aksorn 1
Aksorn 1
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
Phrakhru2 2554 watpamafai
Phrakhru2 2554 watpamafaiPhrakhru2 2554 watpamafai
Phrakhru2 2554 watpamafai
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
เอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสานเอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสาน
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
 
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
บรรณานุกรมพฤติกรรม
บรรณานุกรมพฤติกรรมบรรณานุกรมพฤติกรรม
บรรณานุกรมพฤติกรรม
 

Mais de Anchalee BuddhaBucha

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อAnchalee BuddhaBucha
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 

Mais de Anchalee BuddhaBucha (13)

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 

โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก

  • 1. รายงานนาเสนอเรื่อง โครงสร้างและเนื้อหาสาระ พระไตรปิฏก นำเสนอ อำจำรย์ ดร.ไพฑูรย์ รื่นสัตย์ รำยวิชำ พระไตรปิฎกวิเครำะห์ ตำมหลักสูตรปริญญำพุทธศำสตรมหำบัณฑิต มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขตเชียงใหม่ ภำคเรียนที่ ๑ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๕ และเพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำ ธรรมบูชำ สังฆบูชำ จัดทาโดย พระครูโสภิตพัฒนโชติ พระครูใบฏีกำอุทัย นำงสำวอัญชลี จตุรำนน
  • 2. โครงร่างเนื้อหาสาระ • ความเป็นมาการจัดพิมพ์พระไตรปิฎก • การแบ่งหมวดหมู่พระไตรปิฎก • รายละเอียดแต่ละหมวดหมู่ • บาลีพระไตรปิฎก • อรรถกถา • ฎีกา • อนุฎีกา • พระไตรปิฎกฉบับสมาคมบาลีปกรณ์
  • 3. การจารึกพระไตรปิฎกครั้งแรก สุชีพ ปุญญำนุภำพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๗, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย, ๒๕๕๐), หน้ำ ๑๑-๑๒. • เพื่อป้ องกันการผิดพลาดจำกกำรท่องจำสืบต่อกันไป • จึงเริ่มมีกำรจำรึกพุทธวจนะลงในใบลำนในช่วงปีพ.ศ. ๔๓๓ ในรัชสมัยพระเจ้ำวัฏฏคำมณีอภัย (ลังกำ)
  • 4. พระไตรปิฎกเกิดขึ้นเมื่อใด • เริ่มมีกำรแบ่งหมวดหมู่เป็น ๓ หมวด หรือที่เรียกว่ำ พระไตรปิฎก ในการสังคายนาครั้งที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๔) • การสังคายนาครั้งที่ ๑ และ ๒ ก็ได้มีกำรชำระทั้งธรรม และวินัยครบ ๓ หมวดเช่นกัน หำกแต่ได้รวมพระ สุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎกไว้ในหมวดเดียวกัน คือ หมวดธรรม รวมเรียกทั้งหมดว่ำ “ธรรม และ วินัย” สุชีพ ปุญญำนุภำพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๗, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย, ๒๕๕๐), หน้ำ ๘ – ๙.
  • 5. พระไตรปิฎกในประเทศไทย • พ.ศ. ๒๐๒๐ – จำรึกในใบลาน สมัยพระเจ้ำติโลกรำช (เชียงใหม่) • พ.ศ.๒๔๓๑ – จัดพิมพ์เป็นเล่มหนังสือครั้งแรก ในรัชกำลที่ ๕ • พ.ศ.๒๔๓๖ – ตีพิมพ์เสร็จเรียบร้อย และฉลองงำนรัชดำภิเษก พระไตรปิฎกรวม ๓๙ เล่ม • พ.ศ. ๒๔๖๘ - ตีพิมพ์ใหม่เป็นฉบับที่สมบูรณ์ (พระไตรปิฎก ฉบับสยำมรัฐ ๔๕ เล่ม) ในรัชกำลที่ ๗ สุชีพ ปุญญำนุภำพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๗, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย, ๒๕๕๐), หน้ำ ๑๗.
  • 6. ทาไมพระไตรปิฎกต้องมี ๔๕ เล่ม ? • พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม สื่อถึง ๔๕ พรรษำแห่งพุทธกิจของ พระพุทธเจ้ำ
  • 7. หลักในการจัดหมวดหมู่ของพระไตรปิฎก • ปัจจุบันใช้รูปแบบกำรแบ่งหมวดหมู่เช่นเดียวกับที่ใช้ในการสังคายนาครั้งที่ ๓ พระวินัยปิฎก พระอภิธรรมปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระวินัยทั้งหมดของภิกษุและภิกษุณี สังฆกรรม ประวัติควำม เป็นมำภิกษุณี และประวัติกำรสังคำยนำครั้งที่ ๑ และ ๒ พระสูตรขนำดยำวและขนำดกลำง พระสูตรประมวลเป็นเรื่องๆ หรือเป็นข้อๆ พร้อมเรื่องรำวประกอบของแต่ละพระสูตร รวมถึง ภำษิตสำวก และชำดก ข้อธรรมล้วนๆ แบ่งเป็นหมวดๆ เป็นข้อๆ แบ่งตำมธำตุ ธรรมะเป็น คู่ๆ กำรบัญญัติบุคคล ถำม-ตอบกถำวัตถุ สุชีพ ปุญญำนุภำพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๗, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย, ๒๕๕๐), หน้ำ ๒๐-๒๓.
  • 8. โครงสร้างพระวินัยปิฎก อำทิกัมมะ (อำบัติหนัก) ปำจิตตีย์ (อำบัติเบำ) มหำวรรค (สิกขำบทนอกปำติโมกข์ตอนต้น) จูฬวรรค (สิกขำบทนอกปำติโมกข์ตอนปลำย) ปริวำร (ภำคผนวก) คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระวินัยปิฎก, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์จุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๒๕๕๐), หน้ำ ๑๑-๑๓. แบ่งหมวดย่อยแบบในคัมภีร์วชิรสำรัตถสังคหะ (พระรัตนปัญญำเถระ) ข้อ ๒๒ มหาวิภังค์ (ภิกขุวิภังค์) (เล่ม ๑-๒) ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓) มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕) จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗) ปริวาร (เล่ม ๘) พระวินัยปิฎก (เล่ม ๑-๘)
  • 9. โครงสร้างพระวินัยปิฎก พระวินัยปิฎก (เล่ม ๑-๘) ปำรำชิก (อำบัติหนัก) ปำจิตตีย์ (อำบัติเบำ) มหำวรรค (สิกขำบทนอกปำติโมกข์ตอนต้น) จูฬวรรค (สิกขำบทนอกปำติโมกข์ตอนปลำย) ปริวำร (ภำคผนวก) แบ่งหมวดย่อยแบบในคัมภีร์วชิรสำรัตถสังคหะ (พระรัตนปัญญำเถระ) ข้อ ๓๙๘ มหาวิภังค์ (ภิกขุวิภังค์) (เล่ม ๑-๒) ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓) มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕) จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗) ปริวาร (เล่ม ๘) คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระวินัยปิฎก, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์จุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๒๕๕๐), หน้ำ ๑๑-๑๓.
  • 10. โครงสร้างพระวินัยปิฎก ม ภิ ม จู ป แบ่งตำมชื่อ แบ่งแบบสมำคมบำลีปกรณ์ สุ สุตตวิภังค์ (ประมวล สิกขำบทภิกษุ ภิกษุณี) ข ขันธกะ (รวมสิกขำบท นอกปำติโมกข์) ป ปริวำร (เบ็ดเตล็ด) มจร. ใช้ แบบ นี้ พระวินัยปิฎก (เล่ม ๑-๘) มหาวิภังค์ (ภิกขุวิภังค์) (เล่ม ๑-๒) ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓) มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕) จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗) ปริวาร (เล่ม ๘) คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระวินัยปิฎก, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์จุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๒๕๕๐), หน้ำ ๑๑-๑๓.
  • 11. โครงสร้างพระวินัยปิฎก พระวินัยปิฎก (เล่ม ๑-๘) สังฆกรรม ควำมเป็นมำภิกษุณี กำรสังคำยนำ มหาวิภังค์ (ภิกขุวิภังค์) (เล่ม ๑-๒) ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓) มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕) จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗) ปริวาร (เล่ม ๘) ศีล และข้อห้ำมของภิกษุ ศีล และข้อห้ำมของศีลภิกษุณี พุทธประวัติช่วงแรกๆ และพิธีกรรมต่ำงๆ เบ็ดเตล็ดพระวินัย คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๒๕-๒๖.
  • 12. ทาไมต้องจัดพระวินัยปิฎก ไว้เป็นหมวดแรก? (สังคายนาครั้งที่ ๑ หลังจากพระอานนท์เข้าในที่ประชุมสงฆ์) “เมื่อพระอำนนท์นั้นนั่งแล้วอย่ำงนั้น พระมหำกัสสปเถรจึงปรึกษำภิกษุทั้งหลำยว่ำ “ผู้ มีอำยุทั้งหลำย ! พวกเรำจะสังคำยนำอะไรก่อน พระธรรมหรือพระวินัย” ภิกษุทั้งหลำยเรียนว่ำ "ข้ำแต่ท่ำนพระมหำกัสสป! ชื่อว่ำ พระวินัยเป็นอำยุของพระพุทธศำสนำ เมื่อพระวินัยยังตั้งอยู่ พระพุทธศำสนำจัดว่ำยังดำรงอยู่; เพราะฉะนั้นพวก เราจะสังคายนาพระวินัยก่อน” มหำมกุฏรำชวิทยำลัย. ปฐมสมันตปาสาทิกา แปล ภาค ๑, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย, ๒๕๓๕), หน้ำ ๑๙.
  • 13. โครงสร้างพระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ (เล่ม ๑-๒) เล่มที่ ๑ - มหาวิภังค์ ๑. เวรัญชกัณฑ์ – พระสำรีบุตรคำนึงถึงควำมตั้งมั่นในพรหมจรรย์ ๒. ปฐมปาราชิกกัณฑ์ – ห้ำมภิกษุเสพเมถุน ๓. ทุติยปาราชิกกัณฑ์ – ห้ำมภิกษุเอำของผู้อื่นเกิน ๕ มำสก ๔. ตติยปาราชิกกัณฑ์ – ห้ำมภิกษุฆ่ำมนุษย์ ๕. จตุตถปาราชิกกัณฑ์ – ห้ำมอวดอุตริมนุสยธรรมที่ไม่มีในตน ๖. เตรสกัณฑ์ – สังฆำทิเสส ๑๓ ๗. อนิยตกัณฑ์ – อำบัติไม่แน่ว่ำปรับข้อไหน ต้องดูพยำนหลักฐำน อำบัติปำรำชิก ๔ สังฆำทิเสส ๑๓ อนิยต ๒ (รวม ๑๙ ข้อ) เล่มที่ ๒ - มหาวิภังค์ ๑. นิสสัคคิยกัณฑ์ – ปำจิตตีย์ สละของ อำบัติตก ๓๐ ๒. ปาจิตติยกัณฑ์ – ปำจิตตีย์ ไม่มีเงื่อนไข ๙๒ ๓. ปาฏิเทสนียกัณฑ์ – อำบัติพึงแสดงคืน ๔ ๔. เสขิยกัณฑ์ – ข้อพึงศึกษำ ๗๕ สรุป และ เบ็ดเตล็ด ๕. ธรรมสาหรับระงับอธิกรณ์ – ๗ ประกำร
  • 14. โครงสร้างพระวินัยปิฎก ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓) เล่มที่ ๓ - ภิกขุณีวิภังค์ ๑. ปาราชิกกัณฑ์ – ปำรำชิก ๘ (เหมือนภิกษุ ๔ เพิ่ม ๔) ๒. สัตตรสกัณฑ์ – สังฆำทิเสส ๑๗ (เหมือนภิกษุ ๑๐ เพิ่ม ๗) ๓. นิสสัคคิยกัณฑ์ – นิสัคคิยปำจิตตีย์ ๓๐ (เหมือนภิกษุ ๑๒ เพิ่ม ๑๘) ๔. ปาจิตติยกัณฑ์ – ปำจิตตีย์ ๑๑๖ (เหมือนภิกษุ ๙๖ เพิ่ม ๗๐) ๕. ปาฏิเทสนียกัณฑ์ – ปำฏิเทสนียะ ๘ (ไม่เหมือนของภิกษุ) ๖. เสขิยกัณฑ์ – ข้อพึงศึกษำ ๗๕ และธรรมระงับอธิกรณ์ ๗ (เหมือนภิกษุ) อำบัติปำรำชิก ๘ สังฆำทิเสส ๑๗ นิสสัคคิย ๓๐ ปำจิตตีย์ ๑๑๖ ปำฏิเทส ๘ เสขิย ๘๑ (รวม ๓๑๑ ข้อ)
  • 15. โครงสร้างพระวินัยปิฎก มหาวรรค (เล่ม ๔-๕) เล่มที่ ๔ - มหาวรรค ๑. มหาขันธกะ – ว่ำด้วยเรื่องตั้งแต่ตรัสรู้ แสดงธรรมเทศนำกัณฑ์ต่ำงๆ และข้อปฏิบัติกำรบวช ๒. อุโบสถขันธกะ – ว่ำด้วยกำรฟังธรรม และสวดปำฏิโมกข์ ๓. วัสสูปนายิกาขันธกะ – ว่ำด้วยกำรจำพรรษำ ๔. ปวารณาขันธกะ – ว่ำด้วยกำรปวำรณำตน เล่มที่ ๕ - มหาวรรค ๑. จัมมขันธกะ – หมวดว่ำด้วยหนัง ๒. เภสัชชขันธกะ – หมวดว่ำด้วยยำรักษำโรค ๓. กฐินขันธกะ – หมวดว่ำด้วยกฐิน ๔. จีวรขันธกะ – หมวดว่ำด้วยจีวร ๕. จัมเปยยขันธกะ – หมวดว่ำด้วยเหตุกำรณ์ในกรุงจัมปำ ๖. โกสัมพีขันธกะ – หมวดว่ำด้วยเหตุกำรณ์ในกรุงโกสัมพี
  • 16. โครงสร้างพระวินัยปิฎก จูฬวรรค (เล่ม ๖-๗) เล่มที่ ๖ - จูฬวรรค ๑. กัมมขันธกะ – หมวดว่ำด้วยสังฆกรรม ๒. ปาริวาสิกขันธกะ –หมวดว่ำกำรอยู่ปริวำส ๓. สมุจจยขันธกะ – หมวดว่ำกำรออกอำบัติสังฆำทิเสสเพิ่มเติม ๔. สมถขันธกะ – หมวดว่ำด้วยวิธีระงับอธิกรณ์ เล่มที่ ๗ - จูฬวรรค ๑. ขุทธกวัตถุขันธกะ – หมวดว่ำเรื่องเล็กๆน้อยๆ ๒. เสนาสนวัตถุขันธกะ – หมวดว่ำด้วยเรื่องที่อยู่อำศัย ๓. สังฆเภทขันธกะ – หมวดว่ำด้วยเรื่องสงฆ์แตกกัน ๔. วัตตขันธกะ – หมวดว่ำด้วยข้อวัตร ๕. ภิกขุณีขันธกะ – หมวดว่ำด้วยควำมเป็นมำ และข้อปฏิบัติของภิกษุณี ๖. ปัญจสติกขันธกะ – หมวดว่ำด้วยพระอรหันต์ ๕๐๐ รูป ในกำรสังคำยนำครั้งที่ ๑ ๗. สัตตสติกขันธกะ – หมวดว่ำด้วยพระอรหันต์ ๗๐๐ รูป ในกำรสังคำยนำครั้งที่ ๒
  • 17. โครงสร้างพระวินัยปิฎก ปริวาร (เล่ม ๘) เล่มที่ ๘ - ปริวาร สรุป และเบ็ดเตล็ดพระวินัย รวมเป็นหัวข้อย่อยๆ ๒๑ หัวข้อ
  • 18. ที ม สัง อัง ขุ พระสูตรเป็นข้อๆ (๙,๕๕๗ สูตร) พระสูตรขนำดยำว (๓๔ สูตร) พระสูตรขนำดกลำง (๓๒ สูตร) พระสูตรประมวลเป็นเรื่องๆ (๗,๗๖๒ สูตร) พระสูตรเบ็ดเตล็ด, ภำษิตสำวก, ชำดก โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย(เล่ม ๙ - ๑๑) มัชฌิมนิกาย (เล่ม ๑๒ - ๑๔) สังยุตตนิกาย (เล่ม ๑๕ - ๑๙) อังคุตตรนิกาย (เล่ม ๒๐ - ๒๔) ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓) พระสุตตันตปิฎก (เล่ม ๙-๓๓) คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๒๗-๓๐.
  • 19. โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย (เล่ม ๙ - ๑๑) เล่มที่ ๙ – ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค หมวดที่ว่ำด้วยกองศีล ๑๓ พระสูตร มีพรหมชำลสูตร เป็นต้น เล่มที่ ๑๐ – ทีฆนิกาย มหาวรรค หมวดที่ว่ำเรื่องใหญ่ๆ ๑๐ พระสูตร มีมหำสติปัฏฐำนสูตร มหำปรินิพพำนสูตร เป็นต้น เล่มที่ ๑๑ – ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระสูตรยำว ๑๑ พระสูตร เรียกชื่อเล่มตำมพระสูตรแรกในเล่มคือ ปำฏิกสูตร
  • 20. โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย (เล่ม ๑๒ - ๑๔) เล่มที่ ๑๒ – มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ๕ วรรค วรรคละ ๑๐ พระสูตร นำด้วยมูลปริยำยสูตร เล่มที่ ๑๓ – มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ๕ วรรค วรรคละ ๑๐ พระสูตร แบ่งวรรคตำมประเภทบุคคล เล่มที่ ๑๔ – มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ รวม ๕๒ พระสูตร นำด้วยเทวทหสูตร
  • 21. โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย (เล่ม ๑๕ - ๑๙) เล่มที่ ๑๕ – สังยุตตนิกาย สคาถวรรค พระสูตรที่มีคำถำ หรือคำสอนเป็นบทกวีสอนบุคคลต่ำงๆ แบ่งตำมบุคคล และสถำนที่ เล่มที่ ๑๖ – สังยุตตนิกาย นิทานวรรค พระสูตรว่ำด้วยเหตุปัจจัยแห่งกำรเวียนว่ำยตำยเกิด (ปฏิจจสมุปบำท) เล่มที่ ๑๗ – สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค พระสูตรว่ำด้วยเรื่องขันธ์ ๕ รูปและนำม ในแง่มุมต่ำงๆ เล่มที่ ๑๘ – สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค พระสูตรว่ำด้วยเรื่องอำยตนะ ๖ ตำมแนวไตรลักษณ์ เล่มที่ ๑๙ – สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค พระสูตรว่ำด้วยเรื่องใหญ่คือ โพธิปักขิยธรรม มี มรรค, โพชฌงค์, สติปัฏฐำน เป็นต้น
  • 22. โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย (เล่ม ๒๐ - ๒๔) เล่มที่ ๒๐ – อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต ว่ำด้วยหลักธรรมที่มีจำนวน ๑, ๒, ๓ ข้อ เล่มที่ ๒๑ – อังคุตตรนิกาย จตุกกบาต ว่ำด้วยหลักธรรมที่มีจำนวน ๔ ข้อ เล่มที่ ๒๒ – อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกบาต ว่ำด้วยหลักธรรมที่มีจำนวน ๕,๖ ข้อ เล่มที่ ๒๓ – อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกบาต ว่ำด้วยหลักธรรมที่มีจำนวน ๗, ๘, ๙ ข้อ เล่มที่ ๒๔ – อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต ว่ำด้วยหลักธรรมที่มีจำนวน ๑๐, ๑๑ ข้อ
  • 23. โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓) เล่มที่ ๒๕ – ขุททกนิกาย ๑. ขุททกปาฐะ – บทสวดเล็กๆ ๒. ธัมมปทคาถา – ธรรมบท ๔๒๓ บท ๓. อุทาน – พุทธภำษิต ๔. อิติวุตตกะ – ถ้อยคำที่อ้ำงว่ำเป็นพุทธภำษิต ๕. สุตตนิบาต - พระสูตรเบ็ดเตล็ด เล่มที่ ๒๖ – ขุททกนิกาย ๑. วิมานวัตถุ – เหตุอย่ำงไร ได้วิมำนอย่ำงไร ๒. เปตวัตถุ – เปรตในสภำวะต่ำงๆ ๓. เถรคาถา – ภำษิตเตือนใจภิกษุ ๔. เถรีคาถา – ภำษิตเตือนใจภิกษุณี
  • 24. โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓) (ต่อ) เล่มที่ ๒๗ – ขุททกนิกาย ชาดก ๑ ชำดกเรื่องเล็กๆ ๕๒๕ เรื่อง เล่มที่ ๒๘ – ขุททกนิกาย ชาดก ๒ ชำดกเรื่องยำว ๒๒ เรื่อง รวมถึงชำดกทศชำติ เล่มที่ ๒๙ – ขุททกนิกาย มหานิเทส ภำษิตพระสำรีบุตร คำอธิบำยพระสูตรโดยพระสำรีบุตร ๑๖ พระสูตร เล่มที่ ๓๐ – ขุททกนิกาย จูฬนิเทส ภำษิตพระสำรีบุตร คำอธิบำยพระสูตรโดยพระสำรีบุตร ๑๗ พระสูตร
  • 25. โครงสร้างพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓) (ต่อ) เล่มที่ ๓๑ – ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค ภำษิตพระสำรีบุตร คำอธิบำยพระสูตรที่เกี่ยวกับทำงแห่งควำมแตกฉำน โดยพระสำรีบุตร มี มหาวรรค (เรื่องใหญ่ๆ ๑๐ เรื่อง), ยุคนัทธวรรค (เรื่องสมถะและวิปัสนำ ๑๐ เรื่อง), ปัญญาวรรค (ว่ำด้วยปัญญำ ๑๐ เรื่อง) เล่มที่ ๓๒ – ขุททกนิกาย อปทาน ๑ ประวัติกำรบำเพ็ญควำมดีงำมของพระพุทธเจ้ำ, พระปัจเจกพุทธเจ้ำ และพระสำวก เล่มที่ ๓๓ – ขุททกนิกาย อปทาน ๒ ว่ำด้วยเรื่องของพุทธวังสะ (วงศ์ของพระพุทธเจ้ำ คือพระพุทธเจ้ำ ๒๕ พระองค์), พุทธจริยำ และกำรบำเพ็ญบำรมีในชำติต่ำงๆ
  • 26. พระสูตรใดเป็นพระสูตรแรก ในพระสุตตันตปิฎก? พรหมชำลสูตร, พระสุตตันตปิฎก, ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค, พระไตรปิฎกเล่ม ๙. พรหมชาลสูตร (สูตรว่าด้วยข่ายอันประเสริฐ)  มิให้โกรธเมื่อมีผู้ติเตียนพระรัตนตรัย และมิให้ยินดีเมื่อมีผู้สรรเสริญพระรัตนตรัย  จูฬศีล, มัชฌิมศีล, มหำศีล (ศีลอย่ำงเล็กน้อย, อย่ำงกลำง และอย่ำงใหญ่)  ทิฏฐิ ๖๒ ประกำร (ปรำรภเบื้องต้น ๑๘, เบื้องปลำย ๔๔)  ผู้ที่มีทิฏฐิ ๖๒ ประกำรนี้ย่อมได้เสวยอำรมณ์จำกอำยตนะทั้ง ๖ มีความยึดมั่น ถือมั่นดังปลาที่ติดอยู่ในข่าย  ตถำคตเป็นผู้ถอนตัณหาอันจะทาให้ติดอยู่ในภพได้แล้ว
  • 28.  มิให้โกรธเมื่อมีผู้ติเตียนพระรัตนตรัย และมิให้ยินดีเมื่อมีผู้สรรเสริญพระรัตนตรัย เหตุใดจึงต้องนาพรหมชาลสูตรมา ไว้เป็นพระสูตรแรก?  จูฬศีล, มัชฌิมศีล, มหำศีล (ศีลอย่ำงเล็กน้อย, อย่ำงกลำง และอย่ำงใหญ่) พรหมชาลสูตร (พระสูตรว่าด้วยข่ายอันประเสริฐ) เปิดใจผู้เริ่มศึกษาได้ ว่ำพระพุทธเจ้ำมิได้ทรงต้องกำรกำรสรรเสริญหรือยอมรับ มิได้ทรง โกรธหำกมีผู้ไม่ยอมรับ ไม่บังคับให้ศรัทธำ หำกแต่มีเหตุและผลให้ไปพิจำรณำเอง ศีลเป็นบาทฐานของกำรเริ่มฝึกตนในทำงพุทธศำนำตำมหลักของไตรสิกขำ พระสูตร เรื่องศีลจึงถูกนำมำรวมไว้ใน พระสุตตันตปิฎก ทีฑนิกำย สีลขันธวรรค (เล่มที่ ๙) เป็น เล่มแรกในหมวดพระสุตตันตปิฎก พรหมชำลสูตร, พระสุตตันตปิฎก, ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค, พระไตรปิฎกเล่ม ๙.
  • 29. เหตุใดจึงต้องนาพรหมชาลสูตรมาไว้เป็นพระสูตรแรก? (ต่อ)  ผู้ที่มีทิฏฐิ ๖๒ ประกำรนี้ย่อมได้เสวยอำรมณ์จำกอำยตนะทั้ง ๖ มีความยึดมั่น ถือมั่นดังปลาที่ติดอยู่ในข่าย  ทิฏฐิ ๖๒ ประกำร (ปรำรภเบื้องต้น ๑๘, เบื้องปลำย ๔๔)  ตถำคตเป็นผู้ถอนตัณหาอันจะทาให้ติดอยู่ในภพได้แล้ว - ชี้แจงความเห็นที่ผิดทั้ง ๖๒ ประกำร เป็นกำรปูพื้นฐำนในกำรศึกษำต่อไป ไม่ให้ เข้ำใจหรือตีควำมผิดไปเป็นควำมเห็นใดใน ๖๒ ประกำรนี้เพรำะทรำบแต่เบื้องต้นแล้ว ว่ำสิ่งใดไม่ใช่ สิ่งใดไม่ถูก - เป็นกำรให้ผู้เริ่มศึกษำได้พิจำรณำควำมเห็นเดิมของตน ว่ำอยู่ในขอบข่ำยของทิฏฐิ ๖๒ ประกำรนี้บ้ำงหรือไม่ ผู้ศึกษำจะได้ทราบถึงผล ที่เกิดจำกเหตุแห่งการมีทิฏฐิ ๖๒ ประกำรนี้ ชี้ให้เห็นว่ำมีควำมเป็นไปได้ที่จะหลุดพ้นจำกข่ำยแห่งควำมยึดมั่นถือมั่นนี้ ถือเป็นกำร ปูทางก่อนที่จะเริ่มต้นศึกษาในหลักธรรมต่ำงๆ เป็นเป้ ำหมำยในทำงพุทธศำสนำ พรหมชำลสูตร, พระสุตตันตปิฎก, ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค, พระไตรปิฎกเล่ม ๙.
  • 30. โครงสร้างพระวินัยปิฎก และพระสุตตันตปิฎก สังฆกรรม ควำมเป็นมำภิกษุณี กำรสังคำยนำ มหาวิภังค์ (เล่ม ๑-๒) ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓) มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕) จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗) ปริวาร (เล่ม ๘) ศีล และข้อห้ำมของภิกษุ ศีล และข้อห้ำมของศีลภิกษุณี พุทธประวัติช่วงแรกๆ และพิธีกรรมต่ำงๆ เบ็ดเตล็ดพระวินัย ที ม สัง อัง ขุ พระสูตรเป็นข้อๆ (๙,๕๕๗ สูตร) พระสูตรขนำดยำว (๓๔ สูตร) พระสูตรขนำดกลำง (๓๒ สูตร) พระสูตรประมวลเป็นเรื่องๆ (๗,๗๖๒ สูตร) พระสูตรเบ็ดเตล็ด, ภำษิตสำวก, ชำดก พระสุตตันตปิฎก (เล่ม ๙-๓๓) ทีฆนิกาย (เล่ม ๙ - ๑๑) มัชฌิมนิกาย (เล่ม ๑๒ - ๑๔) สังยุตตนิกาย (เล่ม ๑๕ - ๑๙) อังคุตตรนิกาย (เล่ม ๒๐ - ๒๔) ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓) ม ภิ ม จู ป พระวินัยปิฎก (เล่ม ๑-๘)
  • 31. โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก พระอภิธรรมปิฎก (เล่ม ๓๔-๔๕) ธัมมสังคณี (เล่ม ๓๔) วิภังค์ (เล่ม ๓๕) ธาตุกถา, ปุคคลปัญญัติ (เล่ม ๓๖) กถาวัตถุ (เล่ม ๓๗) ยมก (เล่ม ๓๘-๓๙) รวมกลุ่มธรรมะเป็นหัวข้อสั้นๆ ปัฏฐาน (เล่ม ๔๐-๔๕) แยกกลุ่มธรรมะเพื่อให้ชัดเจน เรื่องธำตุ และกำรบัญญัติบุคคล ถำม-ตอบหลักธรรม ๒๑๙ ข้อ ว่ำด้วยธรรมะเป็นคู่ๆ ธรรมะที่เป็นปัจจัยเกื้อกูลกัน ๒๔ อย่ำง สัง วิ ธา ปุ ก ย ป คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๓๒-๓๔.
  • 32. ๑. มาติกา (แม่บท) – แม่บทแห่งธรรม ๒. จิตตุปปาทกัณฑ์ – คำอธิบำยเรื่องจิต และเจตสิก ๓. รูปกัณฑ์ – คำอธิบำยเรื่องรูป ๔. นิกเขปกัณฑ์ – คำอธิบำยมำติกำแบบยำว ๕. อัตถุทธารกัณฑ์ - คำอธิบำยมำติกำแบบย่อ โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังณี, วิภังค์ (เล่ม ๓๔-๓๕) เล่มที่ ๓๔ – ธัมมสังคณี เล่มที่ ๓๕ – วิภังค์ กลุ่มธรรมะ ๑๘ หมวด ขันธ์ ๕ อำยตน ๑๒ ธำตุ ๖ ธำตุ ๑๘ อริยสัจ๔ อินทรีย์ ๒๒ ปัจจยำกำร ๑๒ สติปัฏฐำน ๔ สัมมัปปธำน ๔ อิทธิบำท ๔ โพชฌงค์ ๗ มรรค ๘ ฌำน อัปปมัญญำ ๔ ศีล ๕ ปฏิสัมภิทำ ๔ ญำณ ๑-๑๐ เรื่องเล็กๆน้อยๆ
  • 33. ธาตุกถา – นำเอำหัวข้อธรรมต่ำงๆมำสังเครำะห์เข้ำกับ ขันธ์, อำยตนะ และธำตุ ว่ำ สังเครำะห์เข้ำกันได้หรือไม่ ปุคคลบัญญัติ – กำรบัญญัติบุคคล ว่ำบุคคลอย่ำงไร มีชื่อเรียกว่ำอย่ำงไร โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา, ปุคคลบัญญัติ, กถาวัตถุ (เล่ม ๓๖-๓๗) เล่มที่ ๓๖ – ธาตุกถา และ ปุคคลบัญญัติ เล่มที่ ๓๗ – กถาวัตถุ เป็นถำมตอบข้อธรรม ๒๑๙ ข้อ โดยพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระในกำรสังคำยนำครั้งที่ ๓ มีระบุว่ำถำมตอบข้อไหน เนื่องมำจำกควำมเห็นผิดของนิกำยไหน แต่งขึ้นเพื่อแก้ควำม เห็นผิดที่แตกแยกออกไปเป็นนิกำยต่ำงๆ
  • 34. ๑. มูลยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นมูล ๒. ขันธยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นขันธ์ ๓. อายตนยมก - ธรรมเป็นคู่อันเป็นอำยตนะ โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก ยมก (เล่ม ๓๘-๓๙) เล่มที่ ๓๘ – ยมก ๑ เล่มที่ ๓๙ – ยมก ๒ ๔. ธาตุยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นธำตุ ๕. สัจจยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นสัจจะ ๖. สังขารยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นสังขำร ๗. อนุสสยยมก - ธรรมเป็นคู่อันเป็นอนุสัย ๑. จิตตยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นจิต ๒. ธัมมยมก – ธรรมเป็นคู่อันเป็นธรรม ๓. อินทรียมก - ธรรมเป็นคู่อันเป็นอินทรีย์
  • 35. โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน (เล่ม ๔๐-๔๕) เล่มที่ ๔๐ – ปัฏฐาน ๑ อนุโลมติกปัฏฐาน ปัจจัยอันเกี่ยวกับธรรม ๓ อย่าง กุศลธรรม ๓, เวทนำ ๓, วิบำก ๓, อุปำทินนะ ๓ และ สังกิลิฏฐะ ๓ (คือปัจจัยแห่งธรรมในธัมมสังคณี, “พระอภิธรรมปิฎก, ธัมมสังคณี, เล่ม ๓๔) เล่มที่ ๔๑ – ปัฏฐาน ๒ อนุโลมติกปัฏฐาน อธิบำยข้อธรรมจำกธัมมสังคณีต่อจำกเล่มที่ ๔๐ เล่มที่ ๔๒ – ปัฏฐาน ๓ อนุโลมทุกปัฏฐาน อธิบำยถึงปัจจัยแห่งหัวข้อธรรมจำกธัมมสังคณี ๒ ประกำร เล่มที่ ๔๓ – ปัฏฐาน ๔ อนุโลมทุกปัฏฐาน อธิบำยถึงปัจจัยแห่งหัวข้อธรรมจำกธัมมสังคณีอีก ๒ ประกำร
  • 36. โครงสร้างพระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน (เล่ม ๔๐-๔๕) (ต่อ) เล่มที่ ๔๔ – ปัฏฐาน ๕ ธรรมหมวดต่างๆ อธิบำยควำมเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลำยในคัมภีร์ธัมมสังคณี เล่มที่ ๔๕ – ปัฏฐาน ๖ หัวข้อสาคัญ ๓ ประการ อธิบำยควำมเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลำยในคัมภีร์ธัมมสังคณีในแง่ปฏิเสธ ๑. ปัจจนียปัฏฐาน – ใช้หลักปฏิเสธ + ปฏิเสธ ๒. อนุโลมปัจจนียปัฏฐาน – ใช้หลักอนุโลม+ ปฏิเสธ ๓. ปัจจนียานุโลมปัฏฐาน – ใช้หลักปฏิเสธ + อนุโลม
  • 37. โครงสร้างพระไตรปิฎกทั้ง ๓ หมวด สังฆกรรม,ควำมเป็นมำภิกษุณี,สังคำยนำ มหาวิภังค์ (เล่ม ๑-๒) ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓) มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕) จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗) ปริวาร (เล่ม ๘) ศีล และข้อห้ำมของภิกษุ ศีล และข้อห้ำมของศีลภิกษุณี พุทธประวัติช่วงแรกๆ และพิธีกรรมต่ำงๆ เบ็ดเตล็ดพระวินัย ที ม สัง อัง ขุ พระสูตรเป็นข้อๆ (๙,๕๕๗ สูตร) พระสูตรขนำดยำว (๓๔ สูตร) พระสูตรขนำดกลำง (๓๒ สูตร) พระสูตรประมวลเป็นเรื่องๆ (๗,๗๖๒ สูตร) พระสูตรเบ็ดเตล็ด, ภำษิตสำวก, ชำดก พระสุตตันตปิฎก (๙-๓๓) ทีฆนิกาย (เล่ม ๙ - ๑๑) มัชฌิมนิกาย (เล่ม ๑๒ - ๑๔) สังยุตตนิกาย (เล่ม ๑๕ - ๑๙) อังคุตตรนิกาย (เล่ม ๒๐ - ๒๔) ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓) ม ภิ ม จู ป พระวินัยปิฎก (๑-๘) พระอภิธรรมปิฎก (๓๔-๔๕) ธัมมสังคณี (เล่ม ๓๔) วิภังค์ (เล่ม ๓๕) ธาตุกถา (เล่ม ๓๖) กถาวัตถุ (เล่ม ๓๗) ยมก (เล่ม ๓๘-๓๙) รวมกลุ่มธรรมะเป็นหัวข้อสั้นๆ ปัฏฐาน (เล่ม ๔๐-๔๕) แยกกลุ่มธรรมะเพื่อให้ชัดเจน เรื่องธำตุ กำรบัญญัติบุคคล ถำม-ตอบหลักธรรม ๒๑๙ ข้อ ว่ำด้วยธรรมะเป็นคู่ๆ ธรรมะที่เป็นปัจจัยเกื้อกูลกัน ๒๔ อย่ำง ปุคคลปัญญัติ (เล่ม ๓๖) สัง วิ ธา ปุ ก ย ป เรื่องกำรบัญญัติบุคคล
  • 38. ปกิณกะ พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย จำนวนรวม ๔๕ เล่ม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ๒๒,๓๗๙ หน้ำ ๒๔,๓๐๐,๐๐๐ ตัวอักษร พระพรหมคุณำภรณ์ (ป.อ.ปยุตตโต), พระไตรปิฎก สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้,หน้ำ ๖.
  • 39. สุตตวิภังค์ มหาวรรค มหาวิภังค์ โครงสร้างบาลีพระวินัยปิฎก จูฬวรรค ขันธกะ บริวาร ภิกขุนีวิภังค์ พระวินัยปิฎก (๕ คัมภีร์) คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๒๔.
  • 40. โครงสร้างบาลีพระสุตตันตปิฎก พระสุตตันตปิฎก (๕ คัมภีร์) มัชฌิมนิกายทีฆนิกาย อังคุตตรนิกายสังยุตตนิกาย ขุททกนิกาย (๑๕ คัมภีร์) (๑)ขุททกปาฐะ (๒) ธัมมปท (๓) อุทาน (๔) อิติวุตตกะ (๕) สุตตนิบาต (๖) วิมานวัตถุ (๗) เปตวัตถุ (๘) เถรคาถา (๙) เถรีคาถา (๑๐) ชาตก (๑๑) นิทเทศ (๑๒) ปฏิสัมภิทามรรค (๑๓) อปทาน (๑๔) พุทธวงศ์ (๑๕) จริยาปิฎก คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๒๔.
  • 41. โครงสร้างบาลีพระอภิธรรมปิฎก สังคณี วิภังค์ ธาตุกถา ปุคคลบัญญัติ กถาวัตถุ ยมก ปัฏฐาน พระอภิธรรมปิฎก (๕ คัมภีร์) คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎก ศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๒๔.
  • 42. ลาดับชั้นคัมภีร์ทางพุทธศานา เป็นหลักฐำนชั้นที่ ๑ เรียกว่ำ บำลี เป็นหลักฐำนชั้นที่ ๒ เป็นคำอธิบำยพระไตรปิฎก เป็นหลักฐำนชั้นที่ ๓ เป็นคำอธิบำยอรรถกถำ เป็นหลักฐำนชั้นที่ ๔ เป็นคำอธิบำยฎีกำ พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา สุชีพ ปุญญำนุภำพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๗, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำมกุฏรำชวิทยำลัย, ๒๕๕๐), หน้ำ ๒๓.
  • 43. วิธีการแบ่งอรรถกถา  พุทธสังวัณณิตะ (พุทธกถา) – พระพุทธเจ้ำอธิบำยพุทธพจน์เอง  อนุพุทธสังวัณณิตะ (อนุพุทธกถา) - พระสำวกอธิบำยพุทธพจน์ ๑. แบ่งตามผู้แต่ง ๒. แบ่งตามภาษา  มคธอรรถกถา – แต่งด้วยภำษำมคธ (บำลี)  สิงหลอรรถกถา – แต่งด้วยภำษำสิงหล ๓. แบ่งตามยุค  โบราณอรรถกถา – อรรถกถำรุ่นเก่ำ  อภินวอรรถกถา – เรียบเรียงขึ้นใหม่ (วิสุทธิมรรค, คัมภีร์ญำโณทัย)  วิตถารอรรถกถา – เนื้อหำตำมลำดับบทบำลีในพระไตรปิฎก  สังคหอรรถกถา – อธิบำยเฉพำะบทบำลีที่ซับซ้อน คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๔๐-๔๕.
  • 44. วิธีการแบ่งอรรถกถา (ต่อ)  อรรถกถาสายพระวินัยปิฎก – อธิบำยขยำยควำมพระวินัยปิฎก  อรรถกถาสายพระสุตตันตปิฎก – อธิบำยขยำยควำมพระสุตตันตปิฎก  อรรถกถาสายพระอภิธรรมปิฎก – อธิบำยขยำยควำมพระอภิธรรมปิฎก ๔. แบ่งตามสายคัมภีร์ ปัจจุบัน นิยม ใช้ แบบ นี้ คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๔๖-๔๗.
  • 45. สังฆกรรม,ควำมเป็นมำภิกษุณี,สังคำยนำ มหาวิภังค์ (เล่ม ๑-๒) ภิกขุณีวิภังค์ (เล่ม ๓) มหาวรรค (เล่ม ๔ - ๕) จูฬวรรค (เล่ม ๖ - ๗) ปริวาร (เล่ม ๘) ศีล และข้อห้ำมของภิกษุ ศีล และข้อห้ำมของศีลภิกษุณี พุทธประวัติช่วงแรกๆ และพิธีกรรมต่ำงๆ เบ็ดเตล็ดพระวินัย พระวินัยปิฎก (๑-๘) สมันตปาสาทิกา - อธิบำยควำมพระวินัยปิฎก ทั้ง ๕ คัมภีร์ กังขาวิตรณี (มาติกัฏฐกถา) - อธิบำยสำระแห่งปำฏิโมกข์ อรรถกถาพระวินัยปิฎก มีหลำกหลำยคัมภีร์ ยกตัวอย่ำงที่ใช้กันทั่วไปคือ ผลงำนของท่ำนพระพุทธโฆษำจำรย์ คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๔๖.
  • 46. พระสูตรเป็นข้อๆ (๙,๕๕๗ สูตร) พระสูตรขนำดยำว (๓๔ สูตร) พระสูตรขนำดกลำง (๓๒ สูตร) พระสูตรประมวลเป็นเรื่องๆ (๗,๗๖๒ สูตร) พระสูตรเบ็ดเตล็ด, ภำษิตสำวก, ชำดก พระสุตตันตปิฎก (๙-๓๓) อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย (เล่ม ๙ - ๑๑) มัชฌิมนิกาย (เล่ม ๑๒ - ๑๔) สังยุตตนิกาย (เล่ม ๑๕ - ๑๙) อังคุตตรนิกาย (เล่ม ๒๐ - ๒๔) ขุททกนิกาย (เล่ม ๒๕ - ๓๓) ๑. สุมังคลวิลาสินี - อธิบำยควำมในทีฆนิกำย ๒. ปปัญจสูทนี - อธิบำยควำมในมัชฌิมนิกำย ๓. สารัตถปกาสินี - อธิบำยควำมในสังยุตตนิกำย ๕. ปรมัตถโชติกา - อธิบำยควำมในขุททกนิกำย ๖. ชาตกัฏฐกถา - อธิบำยควำมในขุททกนิกำย ๗. ธัมมปทัฏฐกถา - อธิบำยควำมในขุททกนิกำย ๔. มโนรถปูรณี - อธิบำยควำมในอังคุตตรนิกำย ยกตัวอย่ำงที่ใช้กันทั่วไปคือผลงำนของท่ำนพระพุทธโฆษำจำรย์ คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๔๖-๔๗.
  • 47. พระอภิธรรมปิฎก (๓๔-๔๕) ธัมมสังคณี (เล่ม ๓๔) ธาตุกถา (เล่ม ๓๖) กถาวัตถุ (เล่ม ๓๗) ยมก (เล่ม ๓๘-๓๙) ปัฏฐาน (เล่ม ๔๐-๔๕) เรื่องธำตุ กำรบัญญัติบุคคล ถำม-ตอบหลักธรรม ๒๑๙ ข้อ ว่ำด้วยธรรมะเป็นคู่ๆ ธรรมะที่เป็นปัจจัยเกื้อกูลกัน ๒๔ อย่ำง ปุคคลปัญญัติ (เล่ม ๓๖) เรื่องกำรบัญญัติบุคคล อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก ๑. อัฏฐสาลินี - อธิบำยควำมในธัมมสังคณี ๒. สัมโมหวิโนทนี - อธิบำยควำมในวิภังค์ ๓. ปรมัตถทีปนี – อธิบำยควำมใน ๕ คัมภีร์ คือ ธำตุกถำ, ปุคคลบัญญัติ, กถำวัตถุ, ยมก. ปัฏฐำน แยกกลุ่มธรรมะเพื่อให้ชัดเจน รวมกลุ่มธรรมะเป็นหัวข้อสั้นๆ วิภังค์ (เล่ม ๓๕) มีหลำกหลำยคัมภีร์ ยกตัวอย่ำงที่ใช้กันทั่วไปคือ ผลงำนของท่ำนพระพุทธโฆษำจำรย์ คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๔๗.
  • 48. พระอรรถกถาจารย์  พระพุทธโฆษาจารย์  พระธรรมปาละ  พระอุปเสนะ  พระมหานามะ  พระพุทธทัตตะ คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๕๖.
  • 49. คัมภีร์ฎีกา  ฎีกาอรรถกถาพระวินัยปิฎก – อธิบำยขยำยควำมอรรถกถำพระวินัยปิฎก (รวม ๒๑ คัมภีร์)  ฎีกาอรรถกถาพระสุตตันตปิฎก – อธิบำยขยำยควำมอรรถกถำพระสุตตันตปิฎก (รวม ๑๑ คัมภีร์)  ฎีกาอรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก – อธิบำยขยำยควำมอรรถกถำพระอภิธรรมปิฎก (รวม๔๒ คัมภีร์) แบ่งตามสายคัมภีร์ คัมภีร์ฎีกำเถรวำทยุคแรกหมำยถึงเฉพำะคัมภีร์ที่อธิบำยอรรถกถำ แต่ยุคหลังหมำยควำมรวมถึงคัมภีร์ที่อธิบำยควำมหมำยของคัมภีร์อื่นๆ ด้วย เช่น ฎีกำพงศำวดำรบำลี เป็นต้น คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๙๐-๙๓.
  • 50. คัมภีร์อนุฎีกา  อนุฎีกาพระวินัยปิฎก ๑. วินยลักขำฎีกำคัมภีร์ใหม่ ๒. ขุททกสิกขำฎีกำคัมภีร์ใหม่ (พระสุมังคลปสำทนีฎีกำ) ๓. มูลสิกขำฎีกำคัมภีร์ใหม่  อนุฎีกาพระสุตตันตปิฎก ๑. ผลงำนพระสำรีบุตรชำวศรีลังกำ ๑๑ คัมภีร์ ๒. ผลงำนพระอนุฎีกำจำรย์รูปอื่นๆ ๒ คัมภีร์  อนุฎีกาพระอภิธรรมปิฎก ๑. ผลงำนพระอำนันทะ ๖ คัมภีร์ ๒. ผลงำนพระสุมังคละ ๖ คัมภีร์ ๓. ไม่ปรำกฏผู้แต่ง ๕ คัมภีร์ แบ่งตามสายคัมภีร์ ในภำษำบำลีเรียกว่ำ อภินวฎีกำ แปลว่ำ ฎีกำใหม่ คณำจำรย์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, (กรุงเทพมหำนคร : ไทยรำยวันกำรพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้ำ ๙๔-๙๕.
  • 51. สมาคมบาลีปกรณ์ (Pali Text Society) สมำคมบำลีปกรณ์ก่อตั้งโดย Mr. T.W. Rhys Davids ประเทศอังกฤษ จัดตั้งขึ้นเพื่อแปลและเผยแพร่ คัมภีร์ทำงพุทธศำสนำในภำษำบำลี อักษรโรมัน และภำคภำษำอังกฤษ credit: www.palitext.com
  • 52. พระไตรปิฎกฉบับบาลีปกรณ์ (Pali Text Society) พระวินัยปิฎก, พระสุตตันตปิฎก Vinaya-piṭaka (พระวินัยปิฎก) - The Book of the Discipline Majjhima-nikāya (พระสุตตันตปิฎก, มัชฌิมนิกำย) - Middle Length Sayings credit: www.palitext.com
  • 53. พระไตรปิฎกฉบับบาลีปกรณ์ (Pali Text Society) พระอภิธรรมปิฎก Puggalapaññatti (พระอภิธรรมปิฎก, ปุคคลบัญญัติ) - A Designation of Human Types credit: www.palitext.com
  • 54. พระไตรปิฎกฉบับบาลีปกรณ์ (Pali Text Society) อรรถกถาพระวินัยปิฎก, อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก Samantapāsādikā (สมันตปำสำทิกำ, อรรถกถำพระวินัยปิฎก) - The Inception of Discipline Dhammapada-aṭṭhakathā (ธัมมปทคำถำ, อรรถกถำพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกำย) - Buddhist Legends credit: www.palitext.com
  • 55. พระไตรปิฎกฉบับบาลีปกรณ์ (Pali Text Society) อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก Sammohavinodanī (สัมโมหวิโนทนี, อรรถกถำพระอภิธรรมปิฎก วิภังค์) - Dispeller of Delusion credit: www.palitext.com
  • 56. ประโยชน์ของการศึกษาโครงสร้างพระไตรปิฎก สำมำรถค้นหำข้อมูลในพระไตรปิฎกได้ง่ำยขึ้น เนื่องจำกเข้ำใจโครงสร้ำงทั้งหมดแล้ว เข้ำใจภำพรวมทั้งหมดของพระไตรปิฎก และอรรถกถำว่ำมีเนื้อหำอะไรบ้ำง กำรศึกษำให้รู้และเข้ำใจในพระไตรปิฏก เป็นแนวทำงกำรศึกษำในลำดับแรกคือ “ปริยัติ” จำกนั้นจึงควรนำไปกระทำตำม คือ “ปฏิบัติ” เพื่อให้ได้ผลแห่งกำรปฏิบัตินั้น คือ “ปฏิเวธ” ฝากทิ้งท้าย... เปรียบเหมือนมีแผนที่นำทำงในกำรศึกษำ พระพุทธศำสนำต่อไป