SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 59
Baixar para ler offline
เ ด็ ก บ ก พ ร่ อ ง ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า หมายถึง
เด็กที่มีระดับสติปัญญา หรือเชาว์ปัญญาต่่ากว่าเกณฑ์
เฉลี่ยเมื่อเทียบกับเด็กในระดับอายุเดียวกัน
เป็นการแบ่งตาม American of Mental
Retardation(AAMR) ซึ่งไม่ได้เน้นที่ระดับเชาวน์ปัญญา
แต่พิจารณาพฤติกรรมการปรับตน 10 ข้อ
เด็ ก บกพร่ อ งทางสติ ปั ญ ญาแบ่ ง เป็ น 2 กลุ่ ม

 1.เด็กเรียนช้า หมายถึง เด็กที่มีความสามารถในการ
เรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
 2. เด็กปัญญาอ่อน หมายถึง เด็กที่มีภาวะพัฒนาการ
ของจิตใจหยุดชะงัก หรือเจริญไม่เต็มที่
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ประกอบด้วย
             ลักษณะสาคัญ 3 ประการ

   1. ความสามารถทางสติปัญญาต่่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ย
คือมีเชาว์ปัญญาต่่ากว่า 70
   2. ความสามารถทางทักษะในการปรับตัว อย่าง
น้อย 2ใน 10 ดังต่อไปนี้
    2.1. การสื่อความหมาย (Communication)
    2.2. การดูแลตนเอง (Self-care)
    2.3. การด่ารงชีวิตในบ้าน (Home Living)
2.4. ทักษะทางสังคม(Social / Interpersonal Skills)
2.5. ทักษะในการเรียน (Functional Academic Skills)
2.6. การรู้จักใช้แหล่งทรัพยากรในชุมชน (Use of
    Community Resources)
2.7. การควบคุมตนเอง (Self-direction)
2.8. การท่างาน(Work)
2.9. การใช้เวลาว่าง (Leisure)
2.10. การดูแลสุขภาพ และ
 ความปลอดภัย (Health and Safety)
3. อาการแสดงก่อนอายุ 18 ปี
ประเภทของเด็กที่มีความบกพร่องทางด้านสติปัญญา
      แบ่งตามระดับความรุนแรงเป็น 4 ระดับ

1. เด็ ก ที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางด้ า น
สติ ปั ญ ญาระดั บ เล็ ก น้ อ ย IQ 50-70
        2. เด็ ก ที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางด้ า น
สติ ปั ญ ญาระดั บ กลาง IQ 35-49
        3. เด็ ก ที่ มี ค วามบกพร่ อ งทาง
สติ ปั ญ ญาระดั บ รุ น แรง IQ 20-34
        4. เด็ ก ที่ มี ค วามบกพร่ อ งทาง
สติ ปั ญ ญาระดั บ รุ น แรงมาก IQ 20 ลงไป
ลั ก ษณะท่ า ทางของบุ ค คลที่ มี ค วาม
                  บกพร่ อ งทางสติ ปั ญ ญา

1.ลั ก ษณะทางร่ า งกาย
   มั ก มี รู ป ร่ า งหน้ า ตาไม่ ส มประกอบ
2. ลั ก ษณะด้ า นพฤติ ก รรม
   การพู ด การท่า ความเข้ า ใจ
 การตั ด สิ น ใจมั ก ช้ า
ลักษณะทางจิตวิทยา
1. ลักษณะทางด้านการเรียนรู้
    มีช่วงความสนใจสั้น สนใจบทเรียนได้ไม่นาน
เสียสมาธิง่าย

2. ลักษณะทางด้านภาษาและการพูด
  ความสามารถทางภาษาจะต่่ากว่าระดับอายุสมอง

3. ลักษณะด้านร่างกายและสุขภาพ
 ส่วนสูงและน้่าหนักโดยเฉลี่ยต่่ากว่าเด็กปกติ
ความผิดปกติที่พบร่วมด้วย

    ส่วนใหญ่เป็นปัญหาพฤติกรรม ความผิดปกติที่พบ
ได้แก่ ซน สมาธิสั้น พฤติกรรมท่าร้ายตนเอง ก้าวร้าว
กระตุ้นตนเอง
อาการแทรกซ้อน
  1. พิการซ้่าซ้อน ได้แก่ ความพิการร่างกาย
แขนขา ตาบอด หูหนวก เป็นใบ้
2. ปั ญ หาพฤติ ก รรมที่ ไ ม่ เ หมาะสม
(Challenging behavior)
3.พฤติ ก รรมแบบออทิ ส ติ ก (Autistic-like
  behavior) เด็ ก แยกตั ว จากกลุ่ ม
4. โรคลมชั ก
สาเหตุ
    มักเกิดจากหลายสาเหตุเป็นปัจจัยร่วมกัน ทั้งปัจจัยทาง
ชีวภาพ และปัจจัยทางจิตสังคมปัจจัยทางชีวภาพ
     -โรคทางพั น ธุ ก รรม
    - การติ ด เชื้ อ
    - การได้ รั บ สารพิ ษ
    - การขาดออกซิ เ จน
- การขาดสารอาหาร
   - การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ
ปัจจัยทางจิตสังคม
แนวทางการดู แ ลรั ก ษา
  1) การส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพครอบครั ว
ครอบครัวควรมีความรู้ ทักษะและเจตคติที่ดีในการดูแล
  2) การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการ (Early Intervention)
ควรจัดโปรแกรมการฝึกทักษะที่จ่าเป็นในการเรียนรู้
ส่งเสริมพัฒนาการทุกๆด้าน
3) การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
โดยมีแนวทางช่วยเหลือ4 ด้าน ดังนี้
 กายภาพบาบั ด (Physical Therapy)
เน้นพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่
กิ จ กรรมบาบั ด (Occupational Therapy)
เน้นพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก
ฝึกทักษะในชีวิตประจาวัน (Activity of Daily
Living Training) เน้นพัฒนาการด้านสังคม และการ
ดูแลตนเองในชีวิตประจ่าวัน
     4.) การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการศึกษา
ส่งเสริมการจัดการเรียนร่วมให้มากที่สุด โดยท่า
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
5) การฟื้ น ฟู ส มรรถภาพทางสั ง คม
    คือการส่งเสริมให้เด็กสามารถใช้ชีวิตในสังคม และ
ชุมชนได้ปกติ โดยการเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงออก
อย่างเท่าเทียม
          6) การฟื้ น ฟู ส มรรถภาพทางอาชี พ
     การฝึกทักษะพื้นฐานทางอาชีพเฉพาะด้าน
          7) การใช้ ย า
     การใช้ยาไม่ได้มีเป้าหมายเพื่อท่าให้ความบกพร่อง
ทางสติปัญญาหายไปแต่ใช้เพื่อบรรเทาความรุนแรงของ
ปัญหา
เทคนิคการสอนเด็กทีมีความบกพร่องทางสติปัญญา
                        ่
       1. สอนโดยเน้นให้เด็กท่องจ่าค่าหรือข้อความ โดย
ให้เด็กพูดออกเสียงให้ชัดเจน
       2. สอนโดยเน้นการจ่าแนกส่วนต่างๆพร้อมบอกชื่อ
และวาดภาพประกอบ
       3. เนื้อหาควรมีความหมายและเกี่ยวข้องกับตัวเด็ก
       4. ควรเปิดโอกาสให้เด็กได้จับต้องและสัมผัสในสิ่ง
ที่ให้เด็กเรียน
5. หมั่ น ทบทวนสิ่ ง ที่ เ รี ย นไปแล้ ว บ่ อ ยๆ เพื่ อ ให้
   เด็ ก จ่า ได้
6. ควรมี ภ าพประกอบในการอธิ บ าย เนื้ อ หา
7. ควรให้ แ รงเสริ ม แก่ เ ด็ ก อย่ า งสม่่า เสมอ
การป้องกัน
ก่อนตั้งครรภ์
    การให้วัคซีนหัดเยอรมัน หรือ เกลือไอโอดีน ให้
ค่าแนะน่าคู่สมรสเรื่องอายุมารดาที่เหมาะในการ
ตั้งครรภ์
2. ระหว่างตั้งครรภ์
     ควรฝากครรภ์ที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล
เพื่อป้องกันปัจจัยเสี่ยง
3. ระยะคลอด
    ควรคลอดในสถานบริการสาธารณสุข เพื่อป้องกัน
ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น
4. ระยะหลังคลอด
    ควรให้แม่และลูกได้อยู่ด้วยกันเร็วที่สุด เพื่อให้ลูก
ได้ดื่มนมแม่ซึ่งมีภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ
ความหมายของเด็กปัญญาเลิศ(อัจฉริยะ)
   เด็กปัญญาเลิศหมายถึง เด็กที่มีความสามารถทาง
สติปัญญา และความถนัดเฉพาะทางอยู่ระดับสูงกว่าเด็กอื่น
ในวัยเดียวกัน ค่าที่ใช้ในความหมายที่มีอยู่หลายค่า เช่น เด็ก
ปัญญาเลิศ เด็กอัจฉริยะ เด็กฉลาด เด็กมีพรสวรรค์ ฯลฯ เมื่อ
พูดถึงเด็กปัญญาเลิศ ก็มักนึกถึงเด็กทีเ่ รียนเก่ง สอบได้
คะแนนดีหรือถือเอาเรื่องของความถนัดเฉพาะทางซึ่งเรียก
กันว่า พรสวรรค์ในด้านที่เห็นได้ชัด เช่น ทางศิลปะและ
ดนตรีเป็นหลัก
ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ(อัจฉริยะ)
     เด็กปัญญาเลิศเป็นเด็กทีมีสติปัญญาสูงมีความเฉลียวฉลาด
                              ่
กว่าเด็กทั่วไป ความฉลาดได้ส่อแววมาตั้งแต่ในวัยเด็กเล็ก เด็ก
อาจจะเดินได้ วิ่งได้ตั้งแต่อายุยังน้อยมีพัฒนาการล้่าหน้ากว่าเด็ก
อื่นในวัยเดียวกัน เรียนรู้ได้รวดเร็วหากมีการทดสอบทางด้าน
สติปัญญาหรือความถนัด เด็กเหล่านี้จะได้คะแนนสูงกว่าเด็ก
ทั่วไป เด็กปัญญาเลิศมักจะเก่งในด้านต่อไปนี้
    1. มีพัฒนาการทางร่างกายและจิตใจที่เจริญเติบโตได้เร็วกว่า
เด็กปกติ
2. มีความสามารถในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและ
ง่ายดาย
3. มีความอยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจัง ชอบชักถาม
4. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การใช้สามัญส่านึกและ
สามารถน่าความรู้ที่มีไปใช้ได้ในชีวิตจริง
5. มีเหตุผล ความคิดดี
6. จดจ่าสิ่งที่เคยเห็นเคยอ่านได้รวดเร็วและแม่นย่า
7. มีความรู้กว้างขวางเกินวัย
8. ใช้ค่าศัพท์กว้างขวาง ถูกต้องแม่นย่าและปริมาณค่าที่รู้จักก็
มีมาก
9. มีความคิดริเริ่ม มีวิธีการคิดและแนวคิดแปลกๆ แต่ใช้การได้ดี
และมีอารมณ์ขัน
10. เป็นคนตื่นตัว เฉียบแหลม ว่องไวและช่างสังเกต
11. มีแรงจูงใจและมีความมานะบากบั่นมีความจริงจังในการท่างาน
12. ชอบแสวงหาสิ่งท้าทายความคิดความอ่าน
สาเหตุที่ทาให้เด็กเก่ง
  1. พันธุกรรม
  2. องค์ประกอบทางด้านชีววิทยาอื่นๆ
  3. สังคมและวัฒนธรรม
พฤติกรรมบางอย่างในห้องเรียน
1. เข้าใจได้ง่าย และรวดเร็ว มักมีค่าถามชวนคิด
2. สมาธิในการเรียนและการท่างานดี
3. สนใจและสนุกกับปัญหาที่ยากซับซ้อน
4. อ่านหนังสือได้เร็วกว่าอายุ
5. ชอบประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ หรือในแนวใหม่ๆ
6. ใช้ภาษาได้ดี รู้จักค่าศัพท์กว้างขวางเกินวัย
7. ชอบเรียนหนังสือ
8. แก้ปัญหาด้วยวิธีการหลากหลาย
9. มีลักษณะเป็นผู้น่าในกลุ่มเด็กวัยเดียวกัน
การคัดแยกเด็กปัญญาเลิศ(อัจฉริยะ)
      การคัดแยกเด็กปัญญาเลิศต้องสอดคล้องกับกระบวนการ
ที่จะตามมาซึ่งได้แก่เป้าหมายของการศึกษาวัตถุประสงค์ การ
จัดหลักสูตร วิธีสอนและการประเมินผลการศึกษา การคัดแยก
เด็กปัญญาเลิศนั้นควรเริ่มในวัยเด็ก ทั้งนี้เพื่อจะได้ส่งเสริมเด็ก
ได้ทันท่วงทีผู้ที่ท่าการคัดเลือกควรวิธีการหลายๆวิธีรวมกัน ให้
เลือกใช้วิธการคัดแยกเด็กวิธีใดวิธีหนึ่งดังต่อไปนี้
           ี
1. การคัดแยกเด็กตามวิธีของโกแวน (Gowan) มีดังนี้
       1.1 คัดเลือกเด็กที่หลายคนคิดว่าเป็นเด็กฉลาด
       1.2 ทดสอบเด็กโดยใช้แบบทดสอบวัดระดับสติปัญญาที่
เป็นการทดสอบพร้อมกันครั้งละหลายคน คัดเลือกเอาเด็กที่ได้
คะแนนสูงสุด 10% เด็กเหล่านี้จัดเป็นเด็กปัญญาเลิศ ส่วนเด็กที่
เหลือให้จัดกลุ่มไว้ต่างหากเด็กกลุ่มนี้เรียกว่า “อ่างเก็บน้่า”
        1.3 ให้ครูประจ่าชั้นคัดเลือกเด็กในชั้นจ่านวนหนึ่งเด็กที่
คัดเลือกควรมีลักษณะดังนี้
- เรียนเก่ง
- รู้ค่าศัพท์มาก
- มีความคิดสร้างสรรค์สูง
- มีความเป็นผู้น่า
- มีความสนใจและเก่งในวิชาวิทยาศาสตร์
- มีความคิดเชิงวิจารณ์สูง
- มีลักษณะพิเศษ แต่มักรบกวนความสงบในห้องเรียน
- มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง
- มีเพื่อนมากที่สุด
- มีพ่อแม่ผู้ปกครองที่สนใจ ส่งเสริมการเรียนของเด็ก
1.4 ทดสอบเด็กที่คัดเลือกไว้ในข้อ1.3 โดยใช้แบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคัดเอาเด็กที่เก่งที่สุด 10%ไว้ ส่วนเด็ก
ที่เหลือจัดไว้ในกลุ่ม“อ่างเก็บน้่า” ตามข้อ 1.2
     1.5 ครูใหญ่ ครูประจ่าชั้น ครูแนะแนวและครูอื่นที่เคยสอน
หรือรู้จักเด็กเป็นอย่างดี ท่าการคัดเลือกเด็กที่มีคุณสมบัติ
ดังต่อไปนี้
     - เป็นหัวหน้ากลุ่มนักเรียน
         - มีความช่านาญพิเศษเฉพาะด้าน
     - มีพ่อแม่ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและการศึกษาดี
         - เป็นเด็กฉลาด แม้จะมีปัญหาในการอ่าน
- เป็นเด็กฉลาด แม้จะมีปัญหาทางอารมณ์
  - เป็นเด็กฉลาดที่คณะกรรมการนี้มีความเห็นว่าจะเป็นเด็ก
ปัญญาเลิศ
    1.6 เรียงล่าดับรายชื่อเด็กและระบุว่าเด็กแต่ละคนถูก
กล่าวถึงกี่ครั้ง
    1.7 เด็กใน “อ่างเก็บน้่า” เหล่านี้ หากคนใดถูก
กล่าวถึง 3 ครั้งขึ้นไป ให้จัดเป็นเด็กปัญญาเลิศได้
    1.8 เด็กใน “อ่างเก็บน้่า” เหล่านี้ หากคนใดถูก
กล่าวถึง 2 ครั้งขึ้นไป ให้น่าไปทดสอบโดยใช้
แบบทดสอบ Stanford-Binet
1.9 เด็กใน “อ่างเก็บน้่า” ที่ถูกกล่าวถึงเพียงครั้งเดียวให้
ปล่อยกลับชั้นเรียนไป
     1.10 เด็กที่ผ่านการทดสอบโดยแบบทดสอบ Stanford-
Binet ให้จัดเป็นเด็กปัญญาเลิศ เด็กที่ไม่ผ่านให้กลับชั้นเรียนไป
    ในการคัดเลือกครูควรพิจารณาและสังเกตเด็กต่อไปนี้เป็น
พิเศษ
     - เด็กด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม
     - เด็กที่ปัญหาทางอารมณ์
     - เด็กที่มีปัญหาในการอ่าน
     - เด็กที่มีความเป็นผู้น่า
2. การคัดเลือกอย่างเป็นทางการ
     วิธีการต่อไปนี้เป็นวิธีคัดเลือกเด็กปัญญาเลิศซึ่งโรงเรียน
ที่จัดการศึกษาส่าหรับเด็กปัญญาเลิศควรน่ามาใช้
          2.1 การคัดเลือกเบื้องต้น
     การคัดเลือกเบื้องต้นควรเป็นหน้าที่ของครูประจ่าชั้น ครู
ประจ่าวิชา ผู้ปกครอง เพื่อนร่วมชั้นของนักเรียน โดยบุคคล
ดังกล่าวท่าหน้าที่สังเกตพฤติกรรมของเด็กปัญญาเลิศตาม
ค่าจ่ากัดความที่ผู้ที่รับผิดชอบทางการศึกษาตกลงกันแบบ
สังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏในภาคผนวกสามารถน่ามาใช้ได้
โดยเลือกมาใช้ตามความเหมาะสม
2.2 การทดสอบทางจิตวิทยา
     2.3 พิจารณาจากผลการเรียนโดยเฉพาะคะแนนจากวิชา
วิทยาศาสตร์และภาษา
     2.4 การทดสอบความคิดสร้างสรรค์แบบทดสอบที่ควร
ใช้ ได้แก่ Torrance Tests of Creative Thinking ทั้ง Verbal
และ(Figural),Guilfords Test of Creativity
(ทั้ง Verbal และ Figural)
2.5 การทดสอบด้านบุคลิกภาพแบบทดสอบที่ควรใช้
ได้แก่ California tests of Personality หรือแบบทดสอบ
อื่นที่มีลักษณะคล้ายการสัมภาษณ์
    2.2.6 ข้อมูลอื่นๆที่ช่วยคณะกรรมการในการตัดสินใจ
ในการคัดเลือกเด็กปัญญาเลิศ
การคัดแยกเด็กพิจารณาความสามรถ 3 อย่าง คือ
     - ทักษะในการคิดวิเคราะห์ (Analytical Skill)
          - ทักษะในการคิดสร้างสรรค์ (Creative Skill)
          - ทักษะในเชิงปฏิบัติ (Practical Skill)
      ซึ่งทั้ง 3 ทักษะนี้จะน่าไปสู่ความส่าเร็จในการเรียน
และในชีวิตการงาน
การจัดการศึกษาสาหรับเด็กปัญญาเลิศ
    การจัดโปรแกรมการศึกษาพิเศษหมายถึง การจัดการ
ศึกษาเพื่อแสดงถึงการยอมรับและเคารพต่อความแตกต่าง
ของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ การจัดการศึกษาจะต้อง
ปรับให้เกิดความเหมาะสม โดยพิจารณาจากผลของ
กระบวนการประเมินการศึกษาที่ต่อเนื่องรวมไปถึง
แผนการศึกษาที่มีจุดประสงค์เป็นพิเศษเฉพาะที่ระบุถึง
การให้บริการทางการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการ
พิเศษของนักเรียน
การเรียนการสอนของเด็กปัญญาเลิศ(อัจฉริยะ)
วิธีสอนเด็กปัญญาเลิศมีดังนี้
       1. การเรียนรู้แบบรูแจ้ง เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการ
                          ้
สอนให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอนตามระดับ
ความสามารถของเด็กโดยครูแจกแจงเนื้อหาวิชาออกเป็นขั้น
ย่อยๆหลายๆขั้น แล้วให้เด็กได้เรียนตามทีละขั้นโดยไม่มีการ
เร่งรัดเกี่ยวกับเวลามากนัก
      2. การจัดหลักสูตรให้กะทัดรัด เป็นการปรับปรุง
หลักสูตรวิธีหนึ่งเพื่อให้เหมาะกับเด็กปัญญาเลิศโดยมุ่งเน้นให้
เด็กได้มุ่งเรียนในเนื้อหาวิชาที่เป็นจุดส่าคัญจริงๆ
3. การคิดเชิงวิจารณ์ เป็นการสอนให้นักเรียนรู้จักคิด
รู้จักใช้เหตุผลก่อนตัดสินใจและไม่ได้หลงเชื่อใครง่ายๆ
ประกอบด้วยขั้นตอนที่ส่าคัญคือ ประการแรกการตรวจสอบ
ข้อมูลว่าข้อมูลที่ได้รับมาถูกต้องหรือไม่
       4. ศูนย์การเรียน เป็นการจัดมุมใดมุมหนึ่งในห้องเรียน
หรือในโรงเรียนให้เป็นมุมหรือศูนย์ที่เน้นเนื้อหาวิชาใดวิชา
หนึ่งตามเนื้อหาในหลักสูตรแล้วให้เด็กเข้าศึกษาหาความรู้
ด้วยตนเองตามศูนย์ที่ครูจัดไว้
5. การคิดระดับสูง เป็นการสอนให้เด็กเรียนรู้ตาม
แนวความคิดของนักการศึกษาชาวอเมริกันชื่อ Benjamine
Bloom ซึ่งกล่าวว่า การสอนให้มีความรู้และความเข้าใจใน
เนื้อหาวิชาเป็นการสอนให้มีความรู้ในระดับต่่า ครูควรจะสอน
ให้เด็กน่าไปใช้วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลสิ่งที่เรียนดี
ไม่ดี มีประโยชน์ไม่มีประโยชนอย่างไรจึงจะถือว่าประสบ
ผลส่าเร็จ เพราะนั่นคือการสอนให้เด็กรู้จักการคิดในระดับสูง
       6. การศึกษาด้วยตัวเอง เป็นการมอบหมายให้เด็กได้ศึกษา
เรื่องใดเรื่องหนึ่งในแนวลึกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่เด็กให้
ความสนใจอย่างมากแต่ครูจะต้องคอยให้ค่าแนะน่าด้วย
7. การฝึกงานกับผูชานาญงาน เป็นการส่งเด็กปัญญาเลิศ
                          ้
ไปฝึกงานกับผู้ที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เป็นพิเศษ เพื่อให้ผู้ช่านาญการนั้นถ่ายทอดวิชาความรู้ให้แก่
เด็กปัญญาเลิศ
       8. การสอนเร่ง เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนเนื้อหา
ที่ยากขึ้น เกินกว่าที่ก่าหนดไว้ในหลักสูตร
       9. การสอนเสริม เป็นการสอนตามเนื้อหาที่ก่าหนดไว้ใน
หลักสูตรแต่มีกิจกรรมที่กว้างขวางขึ้น ซึ่งอาจจัดเป็นกิจกรรม
นอกหลักสูตรหรือเป็นค่ายฤดูร้อนก็ได้
10. การข้ามชั้น เป็นการเลื่อนชั้นเรียนให้สูงขึ้น
      11. การเข้าเรียนก่อนเกณฑ์ เป็นการส่งเด็กเข้าเรียนเมื่อ
อายุยังน้อย ตามปกติแล้วเด็กจะเข้าเรียนเมื่ออายุครบตามเกณฑ์
ที่กฎหมาก่าหนด
       12. การเรียนตามความสามารถของตนเอง เป็นการให้
เด็กปัญญาเลิศเรียนหนังสือด้วยตัวเองตามเนื้อหาที่ก่าหนดโดย
ครูจะน่าเนื้อหาวิชามาแบ่งเป็นตอน ๆ หรือเป็นชุด ๆ แล้วให้
เด็กเรียนด้วยตนเองเป็นชุด ๆ ตามความสามารถของเด็ก ไม่มี
การก่าหนดเวลา
13. การเข้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัยเมื่ออายุยังน้อย
หากระเบียบการต่างๆเปิดกว้างกว่านี้เด็กเก่งอาจมีโอกาสเข้า
เรียนในระดับมหาวิทยาลัยเมื่ออายุยังน้อยก็ได้ หากเกณฑ์การ
เข้ามหาวิทยาลัยพิจารณาความสามารถทางวิชาการเป็นหลัก
ไม่มีข้อจ่ากัดด้านอายุ เป็นต้น
       14. การเรียนทางไปรษณีย์ เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้
เรียนด้วยตนเองทางไปรษณีย์ ซึ่งมหาวิทยาลัยบางแห่งจัดสอน
อาจฟังค่าบรรยายจากเทปเสียงหรือจากวีดีทัศน์ก็ได้
15. การเรียนล่วงหน้า เป็นการอนุญาตให้นกเรียนในระดับ
                                                ั
มัธยมศึกษาตอนปลายเข้าไปเลือกเรียนบางรายวิชาในระดับ
มหาวิทยาลัยได้และเก็บสะสมหน่วยกิตไว้เมื่อเด็กเข้าเรียนใน
มหาวิทยาลัยจริงจะช่วยให้เด็กเรียนจบระดับมหาวิทยาลัยเร็วขึ้น
        16. การแก้ปัญหา เป็นการฝึกให้เด็กแก้ปัญหาต่างๆที่
เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นปัญหาในการเรียน หรือปัญหาในสังคมก็ได้
ครูอาจให้เด็กท่างานคนเดียวหรือท่างานเป็นกลุ่มก็ได้ เป็นการ
สอนให้เด็กรู้จักการวิเคราะห์ปัญหาต่างๆได้
         17. การจัดหลักสูตรฉบับย่อ เป็นการจัดหลักสูตรที่เข้มข้น
เพื่อให้เด็กปัญญาเลิศได้เรียนภายในเวลาที่สั้นลง
18. การนับหน่วยกิตโดยการสอบ เป็นการสอบโดยที่
เด็กไม่ต้องมา เมื่อสิ้นภาคเรียนให้เด็กเข้าสอบ หากเด็กสอบ
ได้เด็กก็ได้รับสิทธิในการสอบผ่านการเรียนวิชานั้นและเก็บ
สะสมหน่วยกิตไว้เมื่อหน่วยกิตครบตามหลักสูตรก็ถือว่า
ส่าเร็จการศึกษา
       19. การทาสัญญา เป็นการท่าสัญญาที่มีการลงนาม
เป็นลายลักษณ์อักษรด้านการเรียน ภายในจะต้องมี
จุดมุ่งหมายชัดเจน มีขอบข่ายเนื้อหาวิชาที่เด็กจะต้องรู้
ภายในเวลาที่ก่าหนดและเด็กต้องน่าเนื้อหาวิชามาเสนอครู
เมื่อสัญญาสิ้นสุดลง
20. ความคิดสร้างสรรค์ เป็นการสอนและส่งเสริมให้เด็กใช้
ความคิด จินตนาการในการเรียนรู้ให้มาก ควรตั้งค่าถามให้
เด็กตอบ ควรค่าถามปลายเปิดที่มีค่าตอบมากมาย ให้อิสระแก่
เด็ก
ลักษณะของครูผู้สอนเด็กปัญญาเลิศ(อัจฉริยะ)
     ครูสอนผู้เรียนปัญญาเลิศควรเป็นบุคลากรวิชาชีพซึ่งท่า
หน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย
วิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อสอน
รายวิชาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับผู้เรียนปัญญา
เลิศ ศึกษาประวัติและข้อมูลของผู้เรียน ประเมินความสามารถ
ของผู้เรียน เพื่อจัดเตรียมแผนการสอน วิธีการสอน กิจกรรมการ
เรียนการสอนให้เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถ
ของผู้เรียน สอนโดยส่งเสริมให้ผู้เรียนปัญญาเลิศได้มีโอกาส
เต็มที่ในการพัฒนาศักยภาพ พร้อมทั้งบันทึกผลการเรียน
อย่างต่อเนื่องรวมถึงการผลิตสื่อการเรียนการสอนหรือ
การน่าอุปกรณ์การเรียนการสอนที่จ่าเป็นมาใช้ เตรียม
ความพร้อมด้านการศึกษาร่างกาย อารมณ์และสังคมของ
ผู้เรียนเพื่อส่งเข้าไปเรียนในโรงเรียนเรียนร่วมสอน
ผู้เรียนปัญญาเลิศร่วมชั้นเรียนกับผู้เรียนปกติในโรงเรียน
สอนคนปกติทั่วไป ให้ค่าปรึกษาแนะน่าแก่ครูประจ่า
ชั้นในโรงเรียนเรียนร่วม รวมทั้งปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ที่
ได้รับมอบหมาย
ปัญหาของเด็กปัญญาเลิศ
ปัญหาของเด็กปัญญาเลิศ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
    กลุ่มที1 เกี่ยวกับสุขภาพ เช่น นอนหลับลึกปลุกยาก เป็น
            ่
เด็กอ้วนถูกเพื่อนล้อเลียนไม่ค่อยได้ออกก่าลังกาย
    กลุ่มที่ 2 เกี่ยวกับทางอารมณ์และสังคมได้แก่ การทะเลาะ
กันระหว่างพี่น้องเพราะมีความคิดแตกต่างกันมีความก้าวร้าว
หงุดหงิด มีความกังวลสูง ไม่พอใจค่าพูดของผู้ใหญ่ในบ้าน
มีนิสัยเฉื่อยชา กลัวคนแปลกหน้า ได้รับการตามใจมาก
เกินไป มีความกังวลเกี่ยวกับการเรียน ต้องการความรัก-เอา
ใจใส่จากมารดามากกว่าทุกๆคนท่าให้ไม่มีการเสียสละกัน
กลัวความล้มเหลว ขาดรู้สึกว่าตัวเองต่่าต้อยด้อยค่า
รู้สึกว่ามีปัญหาในการปรับตัว มีความเครียดสูง จากสาเหตุ
ต่างๆขาดสมาธิหรือที่เรียกกันทางวิชาการว่าโรคสมาธิ
บกพร่องที่เป็นโรคฮิตอันดับแรกกับเด็กทั่วไปทั้งเด็กปกติ
และเด็กพิเศษท่างานไม่ค่อยเสร็จ มีความคิดดีๆ พูดอะไร
เข้าใจรวดเร็วคิดเก่งคิดไว แต่พอลงมือท่าไม่ค่อยอดทนท่าให้
ส่าเร็จ
     กลุ่มที่ 3 เกี่ยวกับการท่างาน เช่น ท่างานล่าช้า ดูแต่ทีวีไม่
รู้จักการแก้ปัญหาในการท่างานกลุ่ม ไม่ชอบวางแผน
ล่วงหน้า ขาดทักษะในทางกีฬา เพื่อนในกลุ่มไม่ค่อยช่วย
ท่างานจึงไม่สบายใจ
แหล่งอ้างอิง

http://school.obec.go.th/sakeaw/special2/spe3.htm
http://www.rajanukul.com/main/index.php?mode=academic&
   group=1&submode=academic&idgroup=8
http://www.disabled-child-mhs.org/LD3.html
http://www.google.co.th/url?sa


http://www.slideshare.net/guest694cc9f/gifted-2960847
http://pathaipong.blogspot.com/2010/11/blog-post_23.html
http://www.gotoknow.org/blogs/posts/11450
http://rise.swu.ac.th/Portals/184/documents/articles/Mind_Intel
ligence_Children.pdf
1.น.ส.กนกวรรณ คนฟู รหัส 53181520101
2.น.ส.กัลปนา อินปันใจ รหัส 53181520102
3.น.ส.เกษศิรินทร์ อ่อนแก้ว รหัส 53181520103
4.น.ส.ขนิษฐา ดวงน่าน รหัส 53181520104
5.น.ส.ขวัญฤทัย ใจจริง รหัส 53181520105
      สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา(ชีววิทยา)
         มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1teerachon
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นAopja
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองkamolwantnok
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5krutitirut
 
เด็กออทิสติก
เด็กออทิสติกเด็กออทิสติก
เด็กออทิสติกDarika Roopdee
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนเรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนMarg Kok
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพณัฐะ หิรัญ
 
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์Siririn Noiphang
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์7roommate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfToponeKsh
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldPa'rig Prig
 

Mais procurados (20)

บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
 
เด็กออทิสติก
เด็กออทิสติกเด็กออทิสติก
เด็กออทิสติก
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนเรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
 
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
 

Semelhante a เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา

Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1NusaiMath
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1pattamasatun
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Yee022
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1New Born
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1maina052
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1sitipatimoh050
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1azmah055
 

Semelhante a เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา (20)

Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

Mais de DekDoy Khonderm

อังกฤษใหม่
อังกฤษใหม่อังกฤษใหม่
อังกฤษใหม่DekDoy Khonderm
 
วิทย์ท้องถิ่น
วิทย์ท้องถิ่นวิทย์ท้องถิ่น
วิทย์ท้องถิ่นDekDoy Khonderm
 
รูปแบบ Jigzaw
รูปแบบ Jigzawรูปแบบ Jigzaw
รูปแบบ JigzawDekDoy Khonderm
 
โครงการในพระราชดำร (1)
โครงการในพระราชดำร (1)โครงการในพระราชดำร (1)
โครงการในพระราชดำร (1)DekDoy Khonderm
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 

Mais de DekDoy Khonderm (6)

อังกฤษใหม่
อังกฤษใหม่อังกฤษใหม่
อังกฤษใหม่
 
วิทย์ท้องถิ่น
วิทย์ท้องถิ่นวิทย์ท้องถิ่น
วิทย์ท้องถิ่น
 
รูปแบบ Jigzaw
รูปแบบ Jigzawรูปแบบ Jigzaw
รูปแบบ Jigzaw
 
แนะแนว
แนะแนวแนะแนว
แนะแนว
 
โครงการในพระราชดำร (1)
โครงการในพระราชดำร (1)โครงการในพระราชดำร (1)
โครงการในพระราชดำร (1)
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 

เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา

  • 1.
  • 2. เ ด็ ก บ ก พ ร่ อ ง ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญา หรือเชาว์ปัญญาต่่ากว่าเกณฑ์ เฉลี่ยเมื่อเทียบกับเด็กในระดับอายุเดียวกัน
  • 3. เป็นการแบ่งตาม American of Mental Retardation(AAMR) ซึ่งไม่ได้เน้นที่ระดับเชาวน์ปัญญา แต่พิจารณาพฤติกรรมการปรับตน 10 ข้อ
  • 4. เด็ ก บกพร่ อ งทางสติ ปั ญ ญาแบ่ ง เป็ น 2 กลุ่ ม 1.เด็กเรียนช้า หมายถึง เด็กที่มีความสามารถในการ เรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ 2. เด็กปัญญาอ่อน หมายถึง เด็กที่มีภาวะพัฒนาการ ของจิตใจหยุดชะงัก หรือเจริญไม่เต็มที่
  • 5. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ประกอบด้วย ลักษณะสาคัญ 3 ประการ 1. ความสามารถทางสติปัญญาต่่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ย คือมีเชาว์ปัญญาต่่ากว่า 70 2. ความสามารถทางทักษะในการปรับตัว อย่าง น้อย 2ใน 10 ดังต่อไปนี้ 2.1. การสื่อความหมาย (Communication) 2.2. การดูแลตนเอง (Self-care) 2.3. การด่ารงชีวิตในบ้าน (Home Living)
  • 6. 2.4. ทักษะทางสังคม(Social / Interpersonal Skills) 2.5. ทักษะในการเรียน (Functional Academic Skills) 2.6. การรู้จักใช้แหล่งทรัพยากรในชุมชน (Use of Community Resources) 2.7. การควบคุมตนเอง (Self-direction) 2.8. การท่างาน(Work) 2.9. การใช้เวลาว่าง (Leisure) 2.10. การดูแลสุขภาพ และ ความปลอดภัย (Health and Safety) 3. อาการแสดงก่อนอายุ 18 ปี
  • 7. ประเภทของเด็กที่มีความบกพร่องทางด้านสติปัญญา แบ่งตามระดับความรุนแรงเป็น 4 ระดับ 1. เด็ ก ที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางด้ า น สติ ปั ญ ญาระดั บ เล็ ก น้ อ ย IQ 50-70 2. เด็ ก ที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางด้ า น สติ ปั ญ ญาระดั บ กลาง IQ 35-49 3. เด็ ก ที่ มี ค วามบกพร่ อ งทาง สติ ปั ญ ญาระดั บ รุ น แรง IQ 20-34 4. เด็ ก ที่ มี ค วามบกพร่ อ งทาง สติ ปั ญ ญาระดั บ รุ น แรงมาก IQ 20 ลงไป
  • 8. ลั ก ษณะท่ า ทางของบุ ค คลที่ มี ค วาม บกพร่ อ งทางสติ ปั ญ ญา 1.ลั ก ษณะทางร่ า งกาย มั ก มี รู ป ร่ า งหน้ า ตาไม่ ส มประกอบ 2. ลั ก ษณะด้ า นพฤติ ก รรม การพู ด การท่า ความเข้ า ใจ การตั ด สิ น ใจมั ก ช้ า
  • 9. ลักษณะทางจิตวิทยา 1. ลักษณะทางด้านการเรียนรู้ มีช่วงความสนใจสั้น สนใจบทเรียนได้ไม่นาน เสียสมาธิง่าย 2. ลักษณะทางด้านภาษาและการพูด ความสามารถทางภาษาจะต่่ากว่าระดับอายุสมอง 3. ลักษณะด้านร่างกายและสุขภาพ ส่วนสูงและน้่าหนักโดยเฉลี่ยต่่ากว่าเด็กปกติ
  • 10. ความผิดปกติที่พบร่วมด้วย ส่วนใหญ่เป็นปัญหาพฤติกรรม ความผิดปกติที่พบ ได้แก่ ซน สมาธิสั้น พฤติกรรมท่าร้ายตนเอง ก้าวร้าว กระตุ้นตนเอง
  • 11. อาการแทรกซ้อน 1. พิการซ้่าซ้อน ได้แก่ ความพิการร่างกาย แขนขา ตาบอด หูหนวก เป็นใบ้
  • 12. 2. ปั ญ หาพฤติ ก รรมที่ ไ ม่ เ หมาะสม (Challenging behavior)
  • 13. 3.พฤติ ก รรมแบบออทิ ส ติ ก (Autistic-like behavior) เด็ ก แยกตั ว จากกลุ่ ม
  • 15. สาเหตุ มักเกิดจากหลายสาเหตุเป็นปัจจัยร่วมกัน ทั้งปัจจัยทาง ชีวภาพ และปัจจัยทางจิตสังคมปัจจัยทางชีวภาพ -โรคทางพั น ธุ ก รรม - การติ ด เชื้ อ - การได้ รั บ สารพิ ษ - การขาดออกซิ เ จน
  • 16. - การขาดสารอาหาร - การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ปัจจัยทางจิตสังคม
  • 17. แนวทางการดู แ ลรั ก ษา 1) การส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพครอบครั ว ครอบครัวควรมีความรู้ ทักษะและเจตคติที่ดีในการดูแล 2) การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการ (Early Intervention) ควรจัดโปรแกรมการฝึกทักษะที่จ่าเป็นในการเรียนรู้ ส่งเสริมพัฒนาการทุกๆด้าน
  • 18. 3) การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ โดยมีแนวทางช่วยเหลือ4 ด้าน ดังนี้ กายภาพบาบั ด (Physical Therapy) เน้นพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ กิ จ กรรมบาบั ด (Occupational Therapy) เน้นพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก
  • 19. ฝึกทักษะในชีวิตประจาวัน (Activity of Daily Living Training) เน้นพัฒนาการด้านสังคม และการ ดูแลตนเองในชีวิตประจ่าวัน 4.) การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการศึกษา ส่งเสริมการจัดการเรียนร่วมให้มากที่สุด โดยท่า แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
  • 20. 5) การฟื้ น ฟู ส มรรถภาพทางสั ง คม คือการส่งเสริมให้เด็กสามารถใช้ชีวิตในสังคม และ ชุมชนได้ปกติ โดยการเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงออก อย่างเท่าเทียม 6) การฟื้ น ฟู ส มรรถภาพทางอาชี พ การฝึกทักษะพื้นฐานทางอาชีพเฉพาะด้าน 7) การใช้ ย า การใช้ยาไม่ได้มีเป้าหมายเพื่อท่าให้ความบกพร่อง ทางสติปัญญาหายไปแต่ใช้เพื่อบรรเทาความรุนแรงของ ปัญหา
  • 21. เทคนิคการสอนเด็กทีมีความบกพร่องทางสติปัญญา ่ 1. สอนโดยเน้นให้เด็กท่องจ่าค่าหรือข้อความ โดย ให้เด็กพูดออกเสียงให้ชัดเจน 2. สอนโดยเน้นการจ่าแนกส่วนต่างๆพร้อมบอกชื่อ และวาดภาพประกอบ 3. เนื้อหาควรมีความหมายและเกี่ยวข้องกับตัวเด็ก 4. ควรเปิดโอกาสให้เด็กได้จับต้องและสัมผัสในสิ่ง ที่ให้เด็กเรียน
  • 22. 5. หมั่ น ทบทวนสิ่ ง ที่ เ รี ย นไปแล้ ว บ่ อ ยๆ เพื่ อ ให้ เด็ ก จ่า ได้ 6. ควรมี ภ าพประกอบในการอธิ บ าย เนื้ อ หา 7. ควรให้ แ รงเสริ ม แก่ เ ด็ ก อย่ า งสม่่า เสมอ
  • 23. การป้องกัน ก่อนตั้งครรภ์ การให้วัคซีนหัดเยอรมัน หรือ เกลือไอโอดีน ให้ ค่าแนะน่าคู่สมรสเรื่องอายุมารดาที่เหมาะในการ ตั้งครรภ์
  • 24. 2. ระหว่างตั้งครรภ์ ควรฝากครรภ์ที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล เพื่อป้องกันปัจจัยเสี่ยง
  • 25. 3. ระยะคลอด ควรคลอดในสถานบริการสาธารณสุข เพื่อป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น
  • 26. 4. ระยะหลังคลอด ควรให้แม่และลูกได้อยู่ด้วยกันเร็วที่สุด เพื่อให้ลูก ได้ดื่มนมแม่ซึ่งมีภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ
  • 27.
  • 28. ความหมายของเด็กปัญญาเลิศ(อัจฉริยะ) เด็กปัญญาเลิศหมายถึง เด็กที่มีความสามารถทาง สติปัญญา และความถนัดเฉพาะทางอยู่ระดับสูงกว่าเด็กอื่น ในวัยเดียวกัน ค่าที่ใช้ในความหมายที่มีอยู่หลายค่า เช่น เด็ก ปัญญาเลิศ เด็กอัจฉริยะ เด็กฉลาด เด็กมีพรสวรรค์ ฯลฯ เมื่อ พูดถึงเด็กปัญญาเลิศ ก็มักนึกถึงเด็กทีเ่ รียนเก่ง สอบได้ คะแนนดีหรือถือเอาเรื่องของความถนัดเฉพาะทางซึ่งเรียก กันว่า พรสวรรค์ในด้านที่เห็นได้ชัด เช่น ทางศิลปะและ ดนตรีเป็นหลัก
  • 29. ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ(อัจฉริยะ) เด็กปัญญาเลิศเป็นเด็กทีมีสติปัญญาสูงมีความเฉลียวฉลาด ่ กว่าเด็กทั่วไป ความฉลาดได้ส่อแววมาตั้งแต่ในวัยเด็กเล็ก เด็ก อาจจะเดินได้ วิ่งได้ตั้งแต่อายุยังน้อยมีพัฒนาการล้่าหน้ากว่าเด็ก อื่นในวัยเดียวกัน เรียนรู้ได้รวดเร็วหากมีการทดสอบทางด้าน สติปัญญาหรือความถนัด เด็กเหล่านี้จะได้คะแนนสูงกว่าเด็ก ทั่วไป เด็กปัญญาเลิศมักจะเก่งในด้านต่อไปนี้ 1. มีพัฒนาการทางร่างกายและจิตใจที่เจริญเติบโตได้เร็วกว่า เด็กปกติ
  • 30. 2. มีความสามารถในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและ ง่ายดาย 3. มีความอยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจัง ชอบชักถาม 4. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การใช้สามัญส่านึกและ สามารถน่าความรู้ที่มีไปใช้ได้ในชีวิตจริง 5. มีเหตุผล ความคิดดี 6. จดจ่าสิ่งที่เคยเห็นเคยอ่านได้รวดเร็วและแม่นย่า 7. มีความรู้กว้างขวางเกินวัย 8. ใช้ค่าศัพท์กว้างขวาง ถูกต้องแม่นย่าและปริมาณค่าที่รู้จักก็ มีมาก
  • 31. 9. มีความคิดริเริ่ม มีวิธีการคิดและแนวคิดแปลกๆ แต่ใช้การได้ดี และมีอารมณ์ขัน 10. เป็นคนตื่นตัว เฉียบแหลม ว่องไวและช่างสังเกต 11. มีแรงจูงใจและมีความมานะบากบั่นมีความจริงจังในการท่างาน 12. ชอบแสวงหาสิ่งท้าทายความคิดความอ่าน
  • 32. สาเหตุที่ทาให้เด็กเก่ง 1. พันธุกรรม 2. องค์ประกอบทางด้านชีววิทยาอื่นๆ 3. สังคมและวัฒนธรรม
  • 33. พฤติกรรมบางอย่างในห้องเรียน 1. เข้าใจได้ง่าย และรวดเร็ว มักมีค่าถามชวนคิด 2. สมาธิในการเรียนและการท่างานดี 3. สนใจและสนุกกับปัญหาที่ยากซับซ้อน 4. อ่านหนังสือได้เร็วกว่าอายุ 5. ชอบประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ หรือในแนวใหม่ๆ 6. ใช้ภาษาได้ดี รู้จักค่าศัพท์กว้างขวางเกินวัย 7. ชอบเรียนหนังสือ 8. แก้ปัญหาด้วยวิธีการหลากหลาย 9. มีลักษณะเป็นผู้น่าในกลุ่มเด็กวัยเดียวกัน
  • 34. การคัดแยกเด็กปัญญาเลิศ(อัจฉริยะ) การคัดแยกเด็กปัญญาเลิศต้องสอดคล้องกับกระบวนการ ที่จะตามมาซึ่งได้แก่เป้าหมายของการศึกษาวัตถุประสงค์ การ จัดหลักสูตร วิธีสอนและการประเมินผลการศึกษา การคัดแยก เด็กปัญญาเลิศนั้นควรเริ่มในวัยเด็ก ทั้งนี้เพื่อจะได้ส่งเสริมเด็ก ได้ทันท่วงทีผู้ที่ท่าการคัดเลือกควรวิธีการหลายๆวิธีรวมกัน ให้ เลือกใช้วิธการคัดแยกเด็กวิธีใดวิธีหนึ่งดังต่อไปนี้ ี
  • 35. 1. การคัดแยกเด็กตามวิธีของโกแวน (Gowan) มีดังนี้ 1.1 คัดเลือกเด็กที่หลายคนคิดว่าเป็นเด็กฉลาด 1.2 ทดสอบเด็กโดยใช้แบบทดสอบวัดระดับสติปัญญาที่ เป็นการทดสอบพร้อมกันครั้งละหลายคน คัดเลือกเอาเด็กที่ได้ คะแนนสูงสุด 10% เด็กเหล่านี้จัดเป็นเด็กปัญญาเลิศ ส่วนเด็กที่ เหลือให้จัดกลุ่มไว้ต่างหากเด็กกลุ่มนี้เรียกว่า “อ่างเก็บน้่า” 1.3 ให้ครูประจ่าชั้นคัดเลือกเด็กในชั้นจ่านวนหนึ่งเด็กที่ คัดเลือกควรมีลักษณะดังนี้
  • 36. - เรียนเก่ง - รู้ค่าศัพท์มาก - มีความคิดสร้างสรรค์สูง - มีความเป็นผู้น่า - มีความสนใจและเก่งในวิชาวิทยาศาสตร์ - มีความคิดเชิงวิจารณ์สูง - มีลักษณะพิเศษ แต่มักรบกวนความสงบในห้องเรียน - มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง - มีเพื่อนมากที่สุด - มีพ่อแม่ผู้ปกครองที่สนใจ ส่งเสริมการเรียนของเด็ก
  • 37. 1.4 ทดสอบเด็กที่คัดเลือกไว้ในข้อ1.3 โดยใช้แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคัดเอาเด็กที่เก่งที่สุด 10%ไว้ ส่วนเด็ก ที่เหลือจัดไว้ในกลุ่ม“อ่างเก็บน้่า” ตามข้อ 1.2 1.5 ครูใหญ่ ครูประจ่าชั้น ครูแนะแนวและครูอื่นที่เคยสอน หรือรู้จักเด็กเป็นอย่างดี ท่าการคัดเลือกเด็กที่มีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ - เป็นหัวหน้ากลุ่มนักเรียน - มีความช่านาญพิเศษเฉพาะด้าน - มีพ่อแม่ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและการศึกษาดี - เป็นเด็กฉลาด แม้จะมีปัญหาในการอ่าน
  • 38. - เป็นเด็กฉลาด แม้จะมีปัญหาทางอารมณ์ - เป็นเด็กฉลาดที่คณะกรรมการนี้มีความเห็นว่าจะเป็นเด็ก ปัญญาเลิศ 1.6 เรียงล่าดับรายชื่อเด็กและระบุว่าเด็กแต่ละคนถูก กล่าวถึงกี่ครั้ง 1.7 เด็กใน “อ่างเก็บน้่า” เหล่านี้ หากคนใดถูก กล่าวถึง 3 ครั้งขึ้นไป ให้จัดเป็นเด็กปัญญาเลิศได้ 1.8 เด็กใน “อ่างเก็บน้่า” เหล่านี้ หากคนใดถูก กล่าวถึง 2 ครั้งขึ้นไป ให้น่าไปทดสอบโดยใช้ แบบทดสอบ Stanford-Binet
  • 39. 1.9 เด็กใน “อ่างเก็บน้่า” ที่ถูกกล่าวถึงเพียงครั้งเดียวให้ ปล่อยกลับชั้นเรียนไป 1.10 เด็กที่ผ่านการทดสอบโดยแบบทดสอบ Stanford- Binet ให้จัดเป็นเด็กปัญญาเลิศ เด็กที่ไม่ผ่านให้กลับชั้นเรียนไป ในการคัดเลือกครูควรพิจารณาและสังเกตเด็กต่อไปนี้เป็น พิเศษ - เด็กด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม - เด็กที่ปัญหาทางอารมณ์ - เด็กที่มีปัญหาในการอ่าน - เด็กที่มีความเป็นผู้น่า
  • 40. 2. การคัดเลือกอย่างเป็นทางการ วิธีการต่อไปนี้เป็นวิธีคัดเลือกเด็กปัญญาเลิศซึ่งโรงเรียน ที่จัดการศึกษาส่าหรับเด็กปัญญาเลิศควรน่ามาใช้ 2.1 การคัดเลือกเบื้องต้น การคัดเลือกเบื้องต้นควรเป็นหน้าที่ของครูประจ่าชั้น ครู ประจ่าวิชา ผู้ปกครอง เพื่อนร่วมชั้นของนักเรียน โดยบุคคล ดังกล่าวท่าหน้าที่สังเกตพฤติกรรมของเด็กปัญญาเลิศตาม ค่าจ่ากัดความที่ผู้ที่รับผิดชอบทางการศึกษาตกลงกันแบบ สังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏในภาคผนวกสามารถน่ามาใช้ได้ โดยเลือกมาใช้ตามความเหมาะสม
  • 41. 2.2 การทดสอบทางจิตวิทยา 2.3 พิจารณาจากผลการเรียนโดยเฉพาะคะแนนจากวิชา วิทยาศาสตร์และภาษา 2.4 การทดสอบความคิดสร้างสรรค์แบบทดสอบที่ควร ใช้ ได้แก่ Torrance Tests of Creative Thinking ทั้ง Verbal และ(Figural),Guilfords Test of Creativity (ทั้ง Verbal และ Figural)
  • 42. 2.5 การทดสอบด้านบุคลิกภาพแบบทดสอบที่ควรใช้ ได้แก่ California tests of Personality หรือแบบทดสอบ อื่นที่มีลักษณะคล้ายการสัมภาษณ์ 2.2.6 ข้อมูลอื่นๆที่ช่วยคณะกรรมการในการตัดสินใจ ในการคัดเลือกเด็กปัญญาเลิศ
  • 43. การคัดแยกเด็กพิจารณาความสามรถ 3 อย่าง คือ - ทักษะในการคิดวิเคราะห์ (Analytical Skill) - ทักษะในการคิดสร้างสรรค์ (Creative Skill) - ทักษะในเชิงปฏิบัติ (Practical Skill) ซึ่งทั้ง 3 ทักษะนี้จะน่าไปสู่ความส่าเร็จในการเรียน และในชีวิตการงาน
  • 44. การจัดการศึกษาสาหรับเด็กปัญญาเลิศ การจัดโปรแกรมการศึกษาพิเศษหมายถึง การจัดการ ศึกษาเพื่อแสดงถึงการยอมรับและเคารพต่อความแตกต่าง ของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ การจัดการศึกษาจะต้อง ปรับให้เกิดความเหมาะสม โดยพิจารณาจากผลของ กระบวนการประเมินการศึกษาที่ต่อเนื่องรวมไปถึง แผนการศึกษาที่มีจุดประสงค์เป็นพิเศษเฉพาะที่ระบุถึง การให้บริการทางการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการ พิเศษของนักเรียน
  • 45. การเรียนการสอนของเด็กปัญญาเลิศ(อัจฉริยะ) วิธีสอนเด็กปัญญาเลิศมีดังนี้ 1. การเรียนรู้แบบรูแจ้ง เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการ ้ สอนให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอนตามระดับ ความสามารถของเด็กโดยครูแจกแจงเนื้อหาวิชาออกเป็นขั้น ย่อยๆหลายๆขั้น แล้วให้เด็กได้เรียนตามทีละขั้นโดยไม่มีการ เร่งรัดเกี่ยวกับเวลามากนัก 2. การจัดหลักสูตรให้กะทัดรัด เป็นการปรับปรุง หลักสูตรวิธีหนึ่งเพื่อให้เหมาะกับเด็กปัญญาเลิศโดยมุ่งเน้นให้ เด็กได้มุ่งเรียนในเนื้อหาวิชาที่เป็นจุดส่าคัญจริงๆ
  • 46. 3. การคิดเชิงวิจารณ์ เป็นการสอนให้นักเรียนรู้จักคิด รู้จักใช้เหตุผลก่อนตัดสินใจและไม่ได้หลงเชื่อใครง่ายๆ ประกอบด้วยขั้นตอนที่ส่าคัญคือ ประการแรกการตรวจสอบ ข้อมูลว่าข้อมูลที่ได้รับมาถูกต้องหรือไม่ 4. ศูนย์การเรียน เป็นการจัดมุมใดมุมหนึ่งในห้องเรียน หรือในโรงเรียนให้เป็นมุมหรือศูนย์ที่เน้นเนื้อหาวิชาใดวิชา หนึ่งตามเนื้อหาในหลักสูตรแล้วให้เด็กเข้าศึกษาหาความรู้ ด้วยตนเองตามศูนย์ที่ครูจัดไว้
  • 47. 5. การคิดระดับสูง เป็นการสอนให้เด็กเรียนรู้ตาม แนวความคิดของนักการศึกษาชาวอเมริกันชื่อ Benjamine Bloom ซึ่งกล่าวว่า การสอนให้มีความรู้และความเข้าใจใน เนื้อหาวิชาเป็นการสอนให้มีความรู้ในระดับต่่า ครูควรจะสอน ให้เด็กน่าไปใช้วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลสิ่งที่เรียนดี ไม่ดี มีประโยชน์ไม่มีประโยชนอย่างไรจึงจะถือว่าประสบ ผลส่าเร็จ เพราะนั่นคือการสอนให้เด็กรู้จักการคิดในระดับสูง 6. การศึกษาด้วยตัวเอง เป็นการมอบหมายให้เด็กได้ศึกษา เรื่องใดเรื่องหนึ่งในแนวลึกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่เด็กให้ ความสนใจอย่างมากแต่ครูจะต้องคอยให้ค่าแนะน่าด้วย
  • 48. 7. การฝึกงานกับผูชานาญงาน เป็นการส่งเด็กปัญญาเลิศ ้ ไปฝึกงานกับผู้ที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นพิเศษ เพื่อให้ผู้ช่านาญการนั้นถ่ายทอดวิชาความรู้ให้แก่ เด็กปัญญาเลิศ 8. การสอนเร่ง เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนเนื้อหา ที่ยากขึ้น เกินกว่าที่ก่าหนดไว้ในหลักสูตร 9. การสอนเสริม เป็นการสอนตามเนื้อหาที่ก่าหนดไว้ใน หลักสูตรแต่มีกิจกรรมที่กว้างขวางขึ้น ซึ่งอาจจัดเป็นกิจกรรม นอกหลักสูตรหรือเป็นค่ายฤดูร้อนก็ได้
  • 49. 10. การข้ามชั้น เป็นการเลื่อนชั้นเรียนให้สูงขึ้น 11. การเข้าเรียนก่อนเกณฑ์ เป็นการส่งเด็กเข้าเรียนเมื่อ อายุยังน้อย ตามปกติแล้วเด็กจะเข้าเรียนเมื่ออายุครบตามเกณฑ์ ที่กฎหมาก่าหนด 12. การเรียนตามความสามารถของตนเอง เป็นการให้ เด็กปัญญาเลิศเรียนหนังสือด้วยตัวเองตามเนื้อหาที่ก่าหนดโดย ครูจะน่าเนื้อหาวิชามาแบ่งเป็นตอน ๆ หรือเป็นชุด ๆ แล้วให้ เด็กเรียนด้วยตนเองเป็นชุด ๆ ตามความสามารถของเด็ก ไม่มี การก่าหนดเวลา
  • 50. 13. การเข้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัยเมื่ออายุยังน้อย หากระเบียบการต่างๆเปิดกว้างกว่านี้เด็กเก่งอาจมีโอกาสเข้า เรียนในระดับมหาวิทยาลัยเมื่ออายุยังน้อยก็ได้ หากเกณฑ์การ เข้ามหาวิทยาลัยพิจารณาความสามารถทางวิชาการเป็นหลัก ไม่มีข้อจ่ากัดด้านอายุ เป็นต้น 14. การเรียนทางไปรษณีย์ เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้ เรียนด้วยตนเองทางไปรษณีย์ ซึ่งมหาวิทยาลัยบางแห่งจัดสอน อาจฟังค่าบรรยายจากเทปเสียงหรือจากวีดีทัศน์ก็ได้
  • 51. 15. การเรียนล่วงหน้า เป็นการอนุญาตให้นกเรียนในระดับ ั มัธยมศึกษาตอนปลายเข้าไปเลือกเรียนบางรายวิชาในระดับ มหาวิทยาลัยได้และเก็บสะสมหน่วยกิตไว้เมื่อเด็กเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยจริงจะช่วยให้เด็กเรียนจบระดับมหาวิทยาลัยเร็วขึ้น 16. การแก้ปัญหา เป็นการฝึกให้เด็กแก้ปัญหาต่างๆที่ เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นปัญหาในการเรียน หรือปัญหาในสังคมก็ได้ ครูอาจให้เด็กท่างานคนเดียวหรือท่างานเป็นกลุ่มก็ได้ เป็นการ สอนให้เด็กรู้จักการวิเคราะห์ปัญหาต่างๆได้ 17. การจัดหลักสูตรฉบับย่อ เป็นการจัดหลักสูตรที่เข้มข้น เพื่อให้เด็กปัญญาเลิศได้เรียนภายในเวลาที่สั้นลง
  • 52. 18. การนับหน่วยกิตโดยการสอบ เป็นการสอบโดยที่ เด็กไม่ต้องมา เมื่อสิ้นภาคเรียนให้เด็กเข้าสอบ หากเด็กสอบ ได้เด็กก็ได้รับสิทธิในการสอบผ่านการเรียนวิชานั้นและเก็บ สะสมหน่วยกิตไว้เมื่อหน่วยกิตครบตามหลักสูตรก็ถือว่า ส่าเร็จการศึกษา 19. การทาสัญญา เป็นการท่าสัญญาที่มีการลงนาม เป็นลายลักษณ์อักษรด้านการเรียน ภายในจะต้องมี จุดมุ่งหมายชัดเจน มีขอบข่ายเนื้อหาวิชาที่เด็กจะต้องรู้ ภายในเวลาที่ก่าหนดและเด็กต้องน่าเนื้อหาวิชามาเสนอครู เมื่อสัญญาสิ้นสุดลง
  • 53. 20. ความคิดสร้างสรรค์ เป็นการสอนและส่งเสริมให้เด็กใช้ ความคิด จินตนาการในการเรียนรู้ให้มาก ควรตั้งค่าถามให้ เด็กตอบ ควรค่าถามปลายเปิดที่มีค่าตอบมากมาย ให้อิสระแก่ เด็ก
  • 54. ลักษณะของครูผู้สอนเด็กปัญญาเลิศ(อัจฉริยะ) ครูสอนผู้เรียนปัญญาเลิศควรเป็นบุคลากรวิชาชีพซึ่งท่า หน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย วิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อสอน รายวิชาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับผู้เรียนปัญญา เลิศ ศึกษาประวัติและข้อมูลของผู้เรียน ประเมินความสามารถ ของผู้เรียน เพื่อจัดเตรียมแผนการสอน วิธีการสอน กิจกรรมการ เรียนการสอนให้เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถ ของผู้เรียน สอนโดยส่งเสริมให้ผู้เรียนปัญญาเลิศได้มีโอกาส เต็มที่ในการพัฒนาศักยภาพ พร้อมทั้งบันทึกผลการเรียน
  • 55. อย่างต่อเนื่องรวมถึงการผลิตสื่อการเรียนการสอนหรือ การน่าอุปกรณ์การเรียนการสอนที่จ่าเป็นมาใช้ เตรียม ความพร้อมด้านการศึกษาร่างกาย อารมณ์และสังคมของ ผู้เรียนเพื่อส่งเข้าไปเรียนในโรงเรียนเรียนร่วมสอน ผู้เรียนปัญญาเลิศร่วมชั้นเรียนกับผู้เรียนปกติในโรงเรียน สอนคนปกติทั่วไป ให้ค่าปรึกษาแนะน่าแก่ครูประจ่า ชั้นในโรงเรียนเรียนร่วม รวมทั้งปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ที่ ได้รับมอบหมาย
  • 56. ปัญหาของเด็กปัญญาเลิศ ปัญหาของเด็กปัญญาเลิศ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที1 เกี่ยวกับสุขภาพ เช่น นอนหลับลึกปลุกยาก เป็น ่ เด็กอ้วนถูกเพื่อนล้อเลียนไม่ค่อยได้ออกก่าลังกาย กลุ่มที่ 2 เกี่ยวกับทางอารมณ์และสังคมได้แก่ การทะเลาะ กันระหว่างพี่น้องเพราะมีความคิดแตกต่างกันมีความก้าวร้าว หงุดหงิด มีความกังวลสูง ไม่พอใจค่าพูดของผู้ใหญ่ในบ้าน มีนิสัยเฉื่อยชา กลัวคนแปลกหน้า ได้รับการตามใจมาก เกินไป มีความกังวลเกี่ยวกับการเรียน ต้องการความรัก-เอา ใจใส่จากมารดามากกว่าทุกๆคนท่าให้ไม่มีการเสียสละกัน กลัวความล้มเหลว ขาดรู้สึกว่าตัวเองต่่าต้อยด้อยค่า
  • 57. รู้สึกว่ามีปัญหาในการปรับตัว มีความเครียดสูง จากสาเหตุ ต่างๆขาดสมาธิหรือที่เรียกกันทางวิชาการว่าโรคสมาธิ บกพร่องที่เป็นโรคฮิตอันดับแรกกับเด็กทั่วไปทั้งเด็กปกติ และเด็กพิเศษท่างานไม่ค่อยเสร็จ มีความคิดดีๆ พูดอะไร เข้าใจรวดเร็วคิดเก่งคิดไว แต่พอลงมือท่าไม่ค่อยอดทนท่าให้ ส่าเร็จ กลุ่มที่ 3 เกี่ยวกับการท่างาน เช่น ท่างานล่าช้า ดูแต่ทีวีไม่ รู้จักการแก้ปัญหาในการท่างานกลุ่ม ไม่ชอบวางแผน ล่วงหน้า ขาดทักษะในทางกีฬา เพื่อนในกลุ่มไม่ค่อยช่วย ท่างานจึงไม่สบายใจ
  • 58. แหล่งอ้างอิง http://school.obec.go.th/sakeaw/special2/spe3.htm http://www.rajanukul.com/main/index.php?mode=academic& group=1&submode=academic&idgroup=8 http://www.disabled-child-mhs.org/LD3.html http://www.google.co.th/url?sa http://www.slideshare.net/guest694cc9f/gifted-2960847 http://pathaipong.blogspot.com/2010/11/blog-post_23.html http://www.gotoknow.org/blogs/posts/11450 http://rise.swu.ac.th/Portals/184/documents/articles/Mind_Intel ligence_Children.pdf
  • 59. 1.น.ส.กนกวรรณ คนฟู รหัส 53181520101 2.น.ส.กัลปนา อินปันใจ รหัส 53181520102 3.น.ส.เกษศิรินทร์ อ่อนแก้ว รหัส 53181520103 4.น.ส.ขนิษฐา ดวงน่าน รหัส 53181520104 5.น.ส.ขวัญฤทัย ใจจริง รหัส 53181520105 สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา(ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง