SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 2
Baixar para ler offline
ก
ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS
ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โดย จุฑามาศ สุขสนาน
ปีการวิจัย 2563
บทคัดย่อ
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS
ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT
ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและ
การคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนว
วัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้าง
กระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ
การเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ
4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียน
การสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย
เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการวิจัย 2563 โรงเรียนเทศบาล 6 (วัดตันตยาภิรม) สังกัด
สานักการศึกษา เทศบาลนครตรัง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีจานวนนักเรียนทั้งสิ้น 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ
วิจัย ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ความต้องการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) แบบสอบถามความคิดเห็นของ
ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ เกี่ยวกับการใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT
ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและ
การคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) รูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับ
วิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิด
วิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 8 เล่ม 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อประเมิน
ความสามารถในการอ่านและการคิดวิเคราะห์ ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอน
ตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้าง
กระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
จานวน 40 ข้อ 40 คะแนน 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ
การเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย
ข
เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 10 ข้อ และสถิติ
ที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่า t-test
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในระหว่างการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนตาม
แนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้าง
กระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1.1 ความต้องการของนักเรียนในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับ
วิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิด
วิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐานเท่ากับ 0.60 แสดงว่า
นักเรียนมีความต้องการอยู่ในระดับมากที่สุด
1.2 ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพกับความคิดเห็นของครูผู้สอนภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ
พบว่า รู้และเข้าใจหลักสูตร การออกแบบการเรียนรู้และจัดโอกาสให้แก่ผู้เรียนมีความเหมาะสมตรงกับเวลาและ
ทักษะความสามารถได้เต็มประสิทธิภาพ นักเรียนสามารถวางแผนได้เหมาะสมกับภารกิจชิ้นงาน นักเรียนปฏิบัติงาน
ด้วยความกระตือรือร้น นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลักสูตรและเนื้อหาที่เรียนได้ตรงตามเป้าหมายของครูผู้สอน
ผู้พัฒนาออกแบบการเรียนรู้ได้ตรงตามกระบวนการที่นามาใช้ ผู้พัฒนาจัดทาแผนการเรียนรู้ได้ถูกต้อง เข้าใจง่าย
และตรงตามจุดประสงค์
2. การเรียนการสอนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ
KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.09/85.07 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กาหนดไว้
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยรูปแบบการเรียน
การสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย
เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01
4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยรูปแบบการเรียน
การสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย
เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf

11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56dockrupornpana55
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์Maewmeow Srichan
 

Semelhante a บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf (20)

11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
 
2.pdf
2.pdf2.pdf
2.pdf
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
 
Ast.c2560.4t
Ast.c2560.4tAst.c2560.4t
Ast.c2560.4t
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 

บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf

  • 1. ก ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย จุฑามาศ สุขสนาน ปีการวิจัย 2563 บทคัดย่อ การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและ การคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนว วัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้าง กระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ การเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียน การสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการวิจัย 2563 โรงเรียนเทศบาล 6 (วัดตันตยาภิรม) สังกัด สานักการศึกษา เทศบาลนครตรัง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีจานวนนักเรียนทั้งสิ้น 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ความต้องการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) แบบสอบถามความคิดเห็นของ ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ เกี่ยวกับการใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและ การคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) รูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับ วิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิด วิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 8 เล่ม 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อประเมิน ความสามารถในการอ่านและการคิดวิเคราะห์ ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอน ตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้าง กระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ 40 คะแนน 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ การเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย
  • 2. ข เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 10 ข้อ และสถิติ ที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในระหว่างการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนตาม แนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้าง กระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1.1 ความต้องการของนักเรียนในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับ วิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิด วิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐานเท่ากับ 0.60 แสดงว่า นักเรียนมีความต้องการอยู่ในระดับมากที่สุด 1.2 ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพกับความคิดเห็นของครูผู้สอนภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ พบว่า รู้และเข้าใจหลักสูตร การออกแบบการเรียนรู้และจัดโอกาสให้แก่ผู้เรียนมีความเหมาะสมตรงกับเวลาและ ทักษะความสามารถได้เต็มประสิทธิภาพ นักเรียนสามารถวางแผนได้เหมาะสมกับภารกิจชิ้นงาน นักเรียนปฏิบัติงาน ด้วยความกระตือรือร้น นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลักสูตรและเนื้อหาที่เรียนได้ตรงตามเป้าหมายของครูผู้สอน ผู้พัฒนาออกแบบการเรียนรู้ได้ตรงตามกระบวนการที่นามาใช้ ผู้พัฒนาจัดทาแผนการเรียนรู้ได้ถูกต้อง เข้าใจง่าย และตรงตามจุดประสงค์ 2. การเรียนการสอนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.09/85.07 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กาหนดไว้ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยรูปแบบการเรียน การสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยรูปแบบการเรียน การสอนตามแนววัฏจักร 4 MAT ร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบ KWL PLUS ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเสริมสร้างกระบวนการอ่านและการคิดวิเคราะห์ มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด