SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 53
Baixar para ler offline
ไ ฟ ฟ้ า เ ค มี คื อ อ ะ ไ ร มี
ความสัมพันธ์กับปฏิกิริยา
รีดอกซ์อย่างไร??
‘’ไฟฟ้าเคมี’’ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างปฏิกิริยาเคมี
และพลังงานไฟฟ้า ซึ่งกระบวนการทางไฟฟ้าเคมีจะเกิดจาก
การถ่ายโอนอิเล็กตรอนจากสารหนึ่งไปยังสารหนึ่ง และเมื่อมี
การถ่ายโอนอิเล็กตรอน ปฏิกิริยาเคมีก็จะสามารถทาให้เกิด
พลังงานไฟฟ้าได้ ในทานองกลับกันพลังงานไฟฟ้าก็สามารถ
ทาให้ เกิ ด ปฏิกิ ริยาเคมี ไ ด้เ ช่ นกั น ปฏิกิ ริยาที่มีก ารถ่า ยโอน
อิ เ ล็ ก ต ร อ น นี้ เ รี ย ก ว่ า ป ฏิ กิ ริ ย า รี ด อ ก ซ์ (Redox
Reaction)
ยังจาการหาเลข
ออกซิเดชันกันได้หรือป่าว
เอ่ย???
เลขออกซิเดชัน คือ ตัวเลขที่แสดงค่า
ประจุไฟฟ้า หรือประจุไฟฟ้าสมมติของธาตุ
ซึ่ ง อาจเป็ น เลขจ านวนเต็ ม บวก ลบ หรื อ
ศูนย์ หรือเศษส่วนก็ได้
สิ่งที่ต้องทราบเกี่ยวกับเลขออกซิเดชัน
ธาตุอิสระทุกชนิดมีเลขออกซิเดชันเท่ากับศูนย์ เช่น
K, Cu, Zn, Cl2, P4, S8 และอื่นๆ
ธาตุ H ในสารประกอบ(อโลหะ)ส่วนใหญ่มีค่า
เท่ากับ +1 เช่น HCl, H2O, HNO3 แต่ใน
สารประกอบที่ประกอบด้วยโลหะ เช่น LiH, NaH,
CaH มีค่าเท่ากับ -1
ออกซิเจนในสารประกอบส่วนใหญ่มีค่าเท่ากับ -2
เช่น CO2, CaO, H2SO4, H2O
เลขออกซิเดชันของไอออนจะมีค่าเท่ากับประจุของ
ไอออนนั้นเช่น Na+ = +1, S2- = -2, Al3+ = +3
SO32- = -2 (S = +4, O = (-2×3) )
NH4+ = +1 ( N = -3, H = 4×(+1) )
ในสารประกอบใดๆผลรวมเลขออกซิเดชันเท่ากับ
ศูนย์ เช่น H2SO4 (+1×2)+(+6)+(-2×4)=0
ธาตุหมู่ 1, 2 ,3 ในสารประกอบต่างๆมีเลข
ออกซิเดชันเท่ากับ +1, +2 และ +3 ตามลาดับ
ธาตุอโลหะ (หมู่ 4, 5, 6, 7) ในสารประกอบ
ต่างๆส่วนใหญ่มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่า เช่น Cl
ใน HCl, HClO, HClO2, HClO3, FeCl2 มีเลข
ออกซิเดชันเท่ากับ -1, +1, +3, +5, +2
ธาตุ ท รานซิ ชั น ส่ ว นใหญ่ มี เ ลขออกซิ เ ดชั น ได้
มากกว่าหนึ่งค่า เช่น Fe ใน FeO และ Fe2O3
เท่ากับ +2, +3
ตัวอย่าง
1. หาเลขออกซิเดชันของ Cr ใน K2CrO4 และ Na2Cr2O7
K2CrO4

2(+1) + Cr + 4(-2) = 0
Cr + (-6) = 0
Cr
= +6

Na2Cr2O7

2(+1) + 2a + 7(-2) = 0
2 + 2a + (-14) = 0
a = 14-2/2 = 6
Cr = +6
2. Mn ใน MnO42Mn + 4(-2) = -2
Mn = +6

3. Cu ใน Cu(NH3)2Cl3Cu + 2(0) + 3(-1) = -1
Cu = +2
ทีนี้ให้นักเรียนลองคิดเองซิว่าจะทาได้รึ
ป่าว??????
จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุที่ขีดเส้นใต้
[Co(CN)4]4-

[Ni(CN)5]3-

Na2FeO4

Na2ZnO2

CuSO4

Mg(OH)2

H4IO6-

KIO2

S2O32-

S2O82-

K2MnO4

K2CrO4

K2Cr2O7

KMnO4

HClO3

H3PO4

CrO42-

HClO4

Na2SnO3

H2C2O4

K4[Co(CN)6]

Co(NO3)2
0

-4

+2

-5

+2 +6 -8

[Co(CN)4]4-

[Ni(CN)5]3-

Na2FeO4

+2 +1 -4

+2 -2

+2

Na2ZnO-2

CuSO4

Mg(OH)2

+4 +7 -12

+1 +3-4

H4IO6-

KIO2

+7 -16

S2O82-

-2

+2 -6

S2O32-

+2 +6 -8

+2 +6 -8

K2MnO4

K2CrO4
+2 +6 -14

+1 +7 -8

+1 +5 -6

K2Cr2O7

KMnO4

HClO3

+3 +5 -8

H3PO4

+6 -8

CrO42-

+1 +7 -8

HClO4

+2 +4 -6

+2 +3 -8

+4 +2

Na2SnO3

H2C2O4

K4[Co(CN)6]

+2

-2

Co(NO3)2

-6
• ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox reaction) เป็นปฏิกิริยาที่ประกอบด้วย
2 ปฏิกิริยาย่อย คือ ปฏิกิริยารีดักชันกับออกซิเดชัน

• ปฏิ กิ ริ ย าออกซิ เ ดชั น หมายถึ ง ปฏิ กิ ริ ย าที่ มี ส ารหนึ่ ง ให้ (เสี ย )
อิเล็กตรอนแล้วมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เช่น
0

+2

Mg2+ (aq) + 2e-

Mg(s)
O.N. เพิมขึ้น 2
่
• ปฏิกิริยารีดักชัน หมายถึง ปฏิกิริยาที่สารรับอิเล็กตรอนแล้วมีเลข
ออกซิเดชันลดลง เช่น
+2

+7

MnO4-(aq) + 8H+(aq) + 5eO.N. ลดลง 5

Mn2+ (aq) + 4H2O
การทดลองที่ 9.1 ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับ
สารละลายของโลหะไอออน
จุดประสงค์การทดลอง
1.ทาการทดลองเพื่อศึกษาปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับ
โลหะไอออนได้
2.ระบุ ไ ด้ ว่ า สารใดเสี ย อิ เ ล็ ก ตรอนและสารใดรั บ
อิเล็กตรอน พร้อมทั้งเขีย นสมการแสดงปฏิ กิริย าที่
เกิดขึ้นได้
ขั้นตอนการทดลอง
1. ใส่สารละลาย CuSO4 1 mol/dm3 ลงในบีเกอร์ 2 ใบ ใบละ
25 cm3 สังเกตสีของสารละลาย
2. จุ่มโลหะสังกะสีขนาด 0.5 cm × 7 cm และ โลหะทองแดง
ขนาดเดียวกัน ลงในบีกเกอร์ใบที่ 1 และ 2 ตั้งไว้สักครู่
สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในสารละลายและ
แผ่นโลหะ ถ้ามีสารมาเกาะบนแผ่นโลหะให้ใช้แท่งแก้วเขี่ย
ออก และสังเกตผิวของโลหะอีกครั้ง
3. ทาการทดลองเช่ นเดียวกับข้อ 1 และ 2 แต่ใ ช้
สารละลาย ZnSO4 1 mol/dm3 แทนสารละลาย CuSO4
4. สังเกตและบันทึกผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ระบบที่ทดสอบ

การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้

ชิ้นโลหะ

สารละลาย

Zn ใน CuSO4

มีสีน้าตาลแดงเกาะบนสังกะสีส่วน สลล.สีฟ้าจางลง เมื่อตั้งไว้
ที่ จุ่ ม อยู่ ใ นสารละลาย เมื่ อ เขี่ ย นานขึ้น สลล.จะมีสีจางลง
ออก ผิวสังกะสีจะมีลักษณะขรุขระ มาก จนไม่มีสี

Cu ใน CuSO4

ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง

ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง

Zn ใน ZnSO4

ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง

ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง

Cu ใน ZnSO4

ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง

ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
คาถามชวนคิด
1. ก่อนจุ่มแผ่นโลหะ ในสารละลายมีไอออนของโลหะชนิด
ใดละลายอยู่
2. โลหะกับไอออนของโลหะในสารละลายคู่ใดที่มีปฏิกิริยา
เคมีเกิดขึ้น ทราบได้อย่างไร
3. โลหะกั บ ไอออนของโลหะคู่ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ปฏิ กิ ริ ย า เลข
ออกซิเดชันของสารมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
อภิปรายหลังการทดลอง

สารละลาย CuSO4 มีสีฟ้าและในสารละลายมี Cu2+ ส่วน
สารละลาย ZnSO4 ไม่มีสี ในสารละลายมี Zn2+

CuSO4 แตกตัวได้ Cu กับ SO42ZnSO4 แตกตัวได้ Zn กับ SO42-
• ระบบที่เกิดปฏิกิริยาได้แก่ จุ่มโลหะ Zn ลงในสารละลายสีฟ้าของ
CuSO4 จะเกิดสารสีน้าตาลแดงเกาะรอบ ๆ แผ่น Zn ซึ่งสารสี
น้าตาลแดงก็คือโลหะ Cu นั่นเอง ซึ่งเกิดได้โดย Zn เป็นฝ่ายให้
อิเล็กตรอนเปลี่ยนไปเป็น Zn2+ และ Cu2+ รับอิเล็กตรอน
เปลี่ยนไปเป็นโลหะ Cu เกาะที่แผ่น Zn เมื่อปล่อยให้ปฏิกิริยา
ดาเนินไปเรื่อย ๆ จะมีโลหะ Cu เกาะที่แผ่น Zn มากขึ้นเรื่อย ๆ
และแผ่น Zn จะผุกร่อนลงเนื่องจากเปลี่ยนไปเป็น Zn2+ ซึง
่
ละลายน้าได้ สีฟ้าของสารละลายจะจางลงเรื่อย ๆ ปฏิกิริยารวมที่
เกิดขึ้นเป็นดังนี้
Zn(s) + Cu2+ (aq) 

Zn2+(s) + Cu(s)
• ปฏิ กิ ริ ย า ย่ อ ยที่ เ กิ ด ขึ้ น หรื อ ที่ เ รี ย ก ว่ า ครึ่ ง ปฏิ กิ ริ ย า (halfreaction)
คื อ ปฏิ กิ ริ ย าออกซิ เ ดชั น เป็ น ปฏิ กิ ริ ย าที่ มี ก ารให้
อิเล็กตรอน โดย Zn ให้อิเล็กตรอนแล้วกลายเป็น Zn2+
Zn(s)

Zn2+ (aq) +2e-

ถ้าพิจารณาเลขออกซิเดชันของ Zn เมื่อให้อิเล็กตรอนแล้วมี
เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้นจาก 0 เป็น +2
ปฏิกิริยาออกซิเดชันจึงเป็นปฏิกิริยาที่มีการเพิ่มขึ้นของเลข
ออกซิเดชัน และอาจกล่าวว่า สารที่สูญเสียอิเล็กตรอนและเลข
ออกซิเดชันเพิ่มขึ้น (Zn) นีถูกออกซิไดซ์
้
• ปฏิกิริยารีดักชัน เป็นปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน โดย Cu2+ รับ
อิเล็กตรอนแล้วกลายเป็นอะตอมของ Cu

Cu2+ (aq) + 2e-

Cu(s)

Cu2+ เมื่อรับอิเล็กตรอนแล้วมีเลขออกซิเดชันลดลงจาก +2
เป็น 0 ปฏิกิริยารีดักชันจึง
เป็นปฏิกิริยาที่มีการลดลงของเลขออกซิเดชัน และอาจกล่าว
ว่า สารที่รับอิเล็กตรอนและมีเลขออกซิเดชันลดลง (Cu2+) นีถูก
้
รีดิวซ์
จากการทดลองที่ 9.1
จะพบว่ า ในระบบที่ จุ่ ม
โลหะทองแดงลงในสารละลาย ZnSO4 พบว่าไม่มีการ
เปลี่ ย นแปลงเกิ ด ขึ้ น แสดงว่ า โลหะทองแดงไม่ ใ ห้
อิเล็ก ตรอนแก่ Zn2+ หรื ออาจกล่ าวว่ า Zn2+ ไม่
สามารถรับอิเล็กตรอนจากโลหะทองแดงได้
ทาให้ทราบว่าความสามารถในการให้อิเล็กตรอนของโลหะทั้ง
สองชนิดไม่เท่ากัน โดยโลหะสังกะสีให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่า
โลหะทองแดง และไอออนของโลหะก็มีความสามารถในการ
รับอิเล็กตรอนแตกต่างกัน โดย Cu2+ รับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า
Zn2+ ลาดับความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนของสาร
แสดงได้ดังนี้
• ความสามารถในการรับอิเล็กตรอน Ag+ > Cu2+ > Zn2+
• ความสามารถในการให้อิเล็กตรอน Zn > Cu > Ag

“โลหะใดเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย ไอออนของโลหะ
นั้นจะรับอิเล็กตรอนได้ยาก"
ปฏิกิริยาที่สารให้อิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ส่วน
ปฏิกิริยาที่สารรับอิเล็กตรอนเรียกว่า ปฏิกิริยารีดักชัน
ปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชันจัดเป็นครึ่งปฏิกิริยา รวม
เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์
สารที่ให้อิเล็กตรอน เรียกว่า ตัวรีดิวซ์
สารที่รับอิเล็กตรอน เรียกว่า ตัวออกซิไดซ์
สารที่เสียอิเล็กตรอนไป เรียกว่า ถูกออกซิไดซ์
สารที่ได้อิเล็กตรอนมา เรียกว่า ตัวรีดิวซ์
จงพิจารณาว่าปฏิกิริยาใดเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์?

• 2MnO4-(aq) + 5H2S(aq) +6H+(aq)

2Mn2+ (aq) +8H2O (l)+ 5S(s)

• Cd(s) + NiO2(aq) + 2H2O(l)

• FeS + HCl

FeCl2 + H2S

Cd(OH)2 + Ni(OH)2
• 5BiO3- + 2Mn2+ + 14H+

2MnO4- + 5Bi3+ + 7H2O

• Zn + MnO4- + H2O

Zn2++ MnO2 + OH-

• 6Fe2+ + Cr2O72- + 14H+

6Fe3+ + 2Cr3+ + 7H2O
การดุลสมการรีดอกซ์
การดุลสมการรีดอกซ์
• การเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่
ถูกต้องจะต้องเป็นสมการที่ดุลแล้ว นั่น
คือจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและ
ผลรวมประจุไฟฟ้าของสารตั้งต้นและ
ผลิตภัณฑ์ต้องเท่ากัน
2Ca(s) + O2(g)
2CaO(s)
P4(s) + 5O2(g)

P4O10(s)
การดุลสมการโดยใช้เลข
ออกซิเดชัน
• หลักการสาคัญ คือ ทาให้เลขออกซิเดชัน
ของธาตุหรือไอออนที่เพิ่มขึ้นให้เท่ากับเลข
ออกซิเดชันของธาตุที่ลดลง จากนั้นดุล
อะตอมอื่นที่เลขออกซิเดชันไม่เปลี่ยนแปลง
• ตรวจความถูกต้องโดย นับจานวนอะตอมของ
ธาตุและประจุไฟฟ้าทั้งสารตั้งต้นและ
ผลิตภัณฑ์จะต้องเท่ากัน
ตัวอย่างการดุลสมการโดยใช้
เลขออกซิเดชัน
ตัวอย่างที่ 1
• เมื่อจุ่มโลหะอะลูมิเนียมลงในสารละลายที่มี Zn2+ พบว่าโลหะ
อะลูมิเนียมส่วนที่จุ่มอยู่ในสารละลายกร่อนไป จงเขียนสมการ
แสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นและดุลสมการ
• สารตั้ ง ต้ น ในปฏิ กิ ริ ย านี้ ไ ด้ แ ก่ โลหะอะลู มิ เ นี ย ม (Al) และ
สารละลายZn2+ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่เกิดอะลูมิเนียมกร่อนไปแสดง
ว่ า โลหะอะลู มิ เ นี ย มให้ อิ เ ล็ ก ตรอนเกิ ด เป็ น Al3+ ส่ ว นใน
สารละลายซึ่งมี Zn2+ ละลายอยู่จึงรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นโลหะ
สังกะสี(Zn) เขียนสมการได้ดังนี้
Al(s) + Zn2+ (aq)

Al3+ + Zn(s)
• ขั้นที่ 1 หาเลขออกซิเดชันของธาตุหรือไอออนในปฏิกิริยาเพื่อให้ทราบ
ตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดซ์

Al(s) + Zn2+ (aq)

Al3+ + Zn(s)

0

+3

+2

0

• ขั้นที่ 2 หาเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นของตัวรีดิวซ์และเลขออกซิเดชันที่
ลดลงของตัวออกซิไดซ์ ดังนี้
ตัวรีดิวซ์ O.N. เพิ่มขึน 3
้

Al(s) + Zn2+ (aq)
ตัวออกซิไดซ์ O.N. ลดลง 2

Al3+ + Zn(s)
• ขั้นที่ 3 ทาเลขออกซิเดชันของตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดซ์ให้เท่ากัน โดย
เติม 2 หน้า Al(s) กับ Al3+ (aq) และเติม 3 หน้า Zn2+ (aq) กับ
Zn(s)
ตัวรีดิวซ์ เพิ่มขึ้น (2)×3 = 6

2Al(s) + 3Zn2+ (aq)

2Al3+ + 3Zn(s)

ตัวออกซิไดซ์ ลดลง (3)×2 = 6
• ขั้นที่ 4 ตรวจสอบจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้า
ของสารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ให้เท่ากัน

2Al(s) + 3Zn2+ (aq)
ประจุไฟฟ้า

ผลรวมประจุไฟฟ้า

0

3(+2)

6+

2Al3+ + 3Zn(s)
2(+3)

6+

0
• ในกรณีนี้มีจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้า
ของสารตั้งต้นเท่ากับผลิตภัณฑ์ แสดงว่าสมการรีดอกซ์นี้ดุลแล้ว

ให้นักเรียนดุลสมการรีดอกซ์ต่อไปนี้
Sn(s) + Cr3+ (aq)
Ca(s) + Li+ (aq)
Fe3+ (aq)+ I-(aq)
FeCl3 + SnCl2

Sn2+ (aq) + Cr(s)
Ca2+ (aq) + Li(s)
Fe2+ (aq) + I2(aq)
FeCl2 + SnCl4
เฉลย
3Sn(s) + 2Cr3+ (aq)

3Sn2+ (aq) + 2Cr(s)

Ca(s) + 2Li+ (aq)

Ca2+ (aq) + 2Li(s)

2Fe3+ (aq)+ 2I-(aq)

2Fe2+ (aq) + I2(aq)

2FeCl3 + SnCl2

2FeCl2 + SnCl4
ตัวอย่างที่ 2 จงดุลสมการ
Zn(s)+KMnO4(aq)+H2SO4(aq)

ZnSO4(aq)+MnSO4(aq)+K2SO4(aq)+H2O(l)

ขั้นที่ 1 หาเลขออกซิเดชันของธาตุหรือไอออนในปฏิกิริยาเพื่อให้ทราบตัว
รีดิวซ์และตัวออกซิไดซ์
Zn(s)+KMnO4(aq)+H2SO4(aq)

ZnSO4(aq)+MnSO4(aq)+K2SO4(aq)+H2O(l)

0

+2 +6 -8

+1 +7 -8

+2 +6 -8

+2 +6 -8

+1 +6 -2

+2 -2

ขั้นที่ 2 หาเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นของตัวรีดิวซ์และเลขออกซิเดชันที่ลดลง
ของตัวออกซิไดซ์ และทาเลขออกซิเดชันของตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดซ์
ให้เท่ากัน
ตัวรีดิวซ์ O.N. เพิ่มขึน (5) × 2 = 10
้

5Zn(s)+2KMnO4(aq)+H2SO4(aq)

0

+7

5ZnSO4(aq)+2MnSO4(aq)+K2SO4(aq)+H2O(l)

+2

+2

ตัวออกซิไดซ์ O.N. ลดลง (2) × 5 = 10
• ขั้นที่ 3 ดุลจานวนอะตอมที่เลขออกซิเดชันไม่เปลี่ยน ในที่นี้คือ H O
และ S เพื่อความสะดวกให้ดุลเป็นกลุ่ม ดังนี้
1. ดุลหมู่ SO42- โดยเติม 8 หน้า H2SO4
2. ดุลจานวนอะตอมของ O และ H โดยเติม 8 หน้า H2O
5Zn(s)+2KMnO4(aq)+8H2SO4(aq)

5ZnSO4(aq)+2MnSO4(aq)+K2SO4(aq)+8H2O(l)

• ขั้นที่ 4 ตรวจสอบจานวนอะตอมของแต่ละธาตุและผลรวมประจุไฟฟ้า
ของสารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ให้เท่ากัน
ตัวอย่างที่ 3 จงดุลสมการต่อไปนี้

Sb2O3 + HNO3 + H+

Sb + H2O + NO2
สรุปวิธีดุลสมการโดยใช้เลขออกซิเดชัน
• ขั้นที่ 1 หาเลขออกซิเดชันของธาตุหรือไอออนในปฏิกิริยาเพื่อให้
ทราบตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดซ์
• ขั้นที่ 2 ดุลจานวนอะตอมที่มีเลขออกซิเดชันเปลี่ยนแปลง
• ขั้นที่ 3 ทาผลรวมของเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นและลดลงให้เท่ากัน
• ขั้นที่ 4 ดุลจานวนอะตอมของธาตุที่เลขออกซิเดชันไม่เปลี่ยนแปลง
ทั้งสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ให้เท่ากัน โดยเริ่มจากโมเลกุลใหญ่ก่อน
• ขั้นที่ 5 ตรวจสอบความถูกต้อง
ไม่ยากเลยใช่มั้ยค่ะ งั้นพวกเราลอง
ทาบ้างซิ????
•
-

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน
หัวหน้ากลุ่มจับฉลากเลือกข้อ
เขียนลงในกระดาษบรุ๊พ
นาเสนอหน้าชั้นเรียน
ทุกคนในกลุ่มต้องเข้าใจและทาได้ในหัวข้อที่ได้รับในกลุ่ม
จับฉลากโดยการสุ่มคนในกลุ่มออกมานาเสนอ
ให้แต่ละกลุ่มทาฉลาก เขียนเลขที่ลงในฉลาก
14

12

3
2

4
3

5
5
คาถาม
1. KMnO4 + H2C2O4 + HCl
2. KMnO4+FeSO4+H2SO4

MnCl2 + KCl + CO2 + H2O
K2SO4+MnSO4+Fe2(SO4)3+H2O

3. CrO42- + SO32- + H2O

Cr(OH)4- + SO42- + OH-

4. MnO4- + NO2- + H2O

NO3- + MnO2 + OH-

5. KMnO4+ KNO2 + H2SO4

MnSO4 + H2O + KNO3 +K2SO4

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 

Mais procurados (20)

ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 

Semelhante a ไฟฟ้าเคมี1 ppt

บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้าkanjanachem
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้าkanjanachem
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีTutor Ferry
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
ElectrochemNapajit
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 25629GATPAT1
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-textnantita
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumพัน พัน
 

Semelhante a ไฟฟ้าเคมี1 ppt (20)

บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 

ไฟฟ้าเคมี1 ppt